ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ชุณหจิต สังข์ใหม่ ผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
2
ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน
งบประมาณ พัสดุ บัญชี การเงิน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
3
หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
4
กระบวนการบริหารงานพัสดุ
กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
5
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ แบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 การกำหนดความต้องการและการของบประมาณ การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
6
ระยะที่ 1 การกำหนดความต้องการและการของบประมาณ
การกำหนดความต้องการ มี 2 ประเภท คือ ความต้องการในลักษณะนโยบาย เช่น การสร้างเขื่อน การสร้าง ถนน การสร้างอาคารสำนักงาน ฯลฯ ความต้องการในลักษณะเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานปกติ เช่น การ จัดซื้ออุปกรณ์สำนักงาน การจ้างเหมาทำความสะอาด การจัดซื้อ เพื่อทดแทนของเดิม ฯลฯ การของบประมาณ เมื่อหน่วยงานรวบรวมความต้องการได้ ทั้งในส่วนของนโยบายและเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานปกติแล้ว ก็จะต้องของบประมาณประจำปี สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
7
ระยะที่ 2 การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง
เมื่อ พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลบังคับใช้ ส่วนราชการทราบงบประมาณของตนเองแล้ว ส่วนราชการต้องดำเนินการ ดังนี้ จัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างของทุกโครงการ/งานที่ได้รับงบประมาณ จัดเตรียมประกาศจัดซื้อจัดจ้าง กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specification) กำหนดช่วงเวลาการส่งมอบพัสดุ สำหรับงานจ้างก่อสร้าง ต้องกำหนดราคากลางงานก่อสร้างด้วย สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
8
ระยะที่ 3 การจัดซื้อจัดจ้าง
การประกาศจัดซื้อจัดจ้าง การยื่นเสนอราคา การพิจารณาผลการเสนอราคา การทำสัญญา *** ต้องปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการพัสดุในทุกขั้นตอน หากละเว้น ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งก็อาจถือได้ว่าปฏิบัติไม่ถูกต้องตามระเบียบ*** สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
9
ระยะที่ 4 การบริหารสัญญา
การบริหารสัญญา หมายถึง ผู้มีหน้าที่บริหารสัญญาซึ่งเป็นฝ่ายผู้ว่าจ้างต้องบริหารให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามสัญญา เช่น กรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญา จะต้องดำเนินการดังนี้ การคำนวณค่าปรับ การแก้ไขสัญญา การยกเลิกสัญญา เป็นต้น สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
10
ระยะที่ 5 การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ
การควบคุมวัสดุ การทำรายการรับ การทำรายการเบิกจ่าย การควบคุมครุภัณฑ์ การทำทะเบียนครุภัณฑ์ของแต่ละรายการ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
11
ระยะที่ 5 การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ (ต่อ)
การบำรุงรักษา เพื่อให้พัสดุมีความคงทนและมีคุณภาพที่ดีตลอดอายุการใช้งาน การจำหน่าย เพื่อลดภาระงบประมาณในด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และทำให้ดูแล บำรุงรักษาเฉพาะพัสดุที่สำคัญและจำเป็นต่อการปฏิบัติงานเท่านั้น สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
12
กระบวนการจัดหาพัสดุ การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา
ประเภทของการจัดหา การจัดทำเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การแลกเปลี่ยน
13
ระยะที่ 2 การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง
14
ใครเป็นผู้ออกแบบคุณลักษณะเฉพาะ
เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการที่ส่วนราชการแต่งตั้ง ผู้ใช้พัสดุ งานก่อสร้างแบบรูปรายการ (อาจจ้างเอกชนเป็นผู้ออกแบบ)
15
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** กรณีผลงาน เพื่อให้ได้ทราบถึงศักยภาพของผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ** งานก่อสร้าง ** กำหนดได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณ หรือวงเงินประมาณการ ( นร (กวพ) 1305/ว 7914 ลว. 22 ก.ย. 43 ประกอบ มติ ครม. 28 ธ.ค. 36 – ด่วนมาก นร 0202/ว 1 ลว. 3 ม.ค. 37) ต้องเป็นผลงานในสัญญาเดียวเท่านั้น (นร (กวพ) 1204/ว ลว. 28 พ.ย. 39)
16
คุณสมบัติของผู้เสนอราคา
*** ตัวอย่างเอกสารประกวดราคา *** กรณีผลงาน งานก่อสร้าง (ต่อ) ผลงานประเภทเดียวกันกับงานที่ประกวดราคาจ้าง คือ ผลงานที่ใช้เทคนิคในการดำเนินการเหมือนกัน เป็นผลงานที่ผู้รับจ้างได้ทำงานแล้วเสร็จตามสัญญา ที่ได้มีการส่งมอบงานและตรวจรับเรียบร้อยแล้ว ต้องเป็นผลงานที่กระทำสัญญากับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ซึ่งเป็นผู้ว่าจ้างโดยตรง ไม่ใช่ผลงานอันเกิดจาก การรับจ้างช่วง (แนววินิจฉัยของ กวพ.)
17
ระยะที่ 3 การจัดซื้อจัดจ้าง
18
คณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง
คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง คณะกรรมการกำหนดราคากลาง (มติคณะรัฐมนตรี)
19
โครงสร้างของอำนาจตามระเบียบ
อำนาจดำเนินการ - อำนาจในการให้ความเห็นชอบในการซื้อจ้าง - อำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการ อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง อำนาจลงนามในสัญญา
20
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ
การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป
21
วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง
วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข วิธีประกวดราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49
22
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง
การตรวจรับ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ ผู้ควบคุมงาน การทำสัญญา หัวหน้าส่วนราชการ ขออนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ดำเนินการ วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 6 วิธี ขอความเห็นชอบ
23
รายงานขอซื้อ – จ้าง (ข้อ ๒๗) ข้อยกเว้น ข้อ ๓๙ วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน
หลักการ ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ข้อยกเว้น ข้อ ๓๙ วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗
24
การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา
3 เจ้าหน้าที่ พัสดุ 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน (๒๗) 5 ใบสั่ง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง 6 ส่งของ/งาน เห็นชอบ (๒๙) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ
25
การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา
ข้อยกเว้น วิธีการ เจ้าหน้าที่พัสดุ หรือผู้รับผิดชอบ ดำเนินการไปก่อน รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้า ส่วนราชการ ใช้รายงานเป็นหลักฐานการตรวจรับ วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท ทำรายงานเฉพาะรายการที่จำเป็นได้ กรณีจำเป็นเร่งด่วน ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน ดำเนินการตามปกติไม่ทัน
26
การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง 1. บุคคล /นิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง/อ้อม) รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่ - มีความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร - มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน - มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน 2. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน
27
ตัวอย่าง: ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
บริษัท A นาย ก. กรรมการผู้จัดการ นาย ก. ถือหุ้น 26% บริษัท B นาย ข. กรรมการผู้จัดการ นาย ก. ถือหุ้น 20% หจก. C นาย ก. หุ้นส่วนผู้จัดการ นาย ก. เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดชอบ นาย ก. เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ เชิงบริหาร เชิงทุน เชิงไขว้
28
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา
ข้อ ๒๗ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ ๒๙ จัดทำประกาศ (ข้อ ๔๐) - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน / นานาชาติไม่น้อยกว่า 45 วัน - ส่งประกาศให้ผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้าง โดยตรง หรือทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ให้มากที่สุด - ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดย เปิดเผย เผยแพร่เอกสาร
29
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ ๔๒)
ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน
30
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ ๔๒)
ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา คัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขและเสนอ ราคาต่ำสุด ราคาเท่ากันหลายรายยื่นซองใหม่ ถูกต้องรายเดียวดำเนินการต่อได้
31
ขั้นตอนการประกวดราคา
จัดทำเอกสาร ประกวดราคา (ข้อ ๔๔) จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง และแต่งตั้ง คณะกรรมการ (ข้อ ๒๗) การรับและเปิดซอง (ข้อ ๔๙) การประกาศเผยแพร่การประกวดราคา (ข้อ ๔๔, ๔๖) การขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง (ข้อ ๖๕) การพิจารณาผล การประกวดราคา (ข้อ ๕๐) การทำสัญญา (ข้อ ๑๓๒-๑๓๓) ตรวจรับ
32
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา
ข้อ ๒๗ เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ ๒๙ - ทำตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด - แตกต่างหรือไม่รัดกุมส่ง สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจ จัดทำเอกสาร (ข้อ ๔๔)
33
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา
ประกาศ ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ให้ขาย ห้ามมีเงื่อนไขในการให้/ขาย คำนวณราคา ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ห้ามร่นหรือเลื่อนวันรับซอง และเปิดซองประกวดราคา วันรับซองประกวดราคา
34
การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ
เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ ๒๙ รายงาน ข้อ ๒๗ เงื่อนไข (ข้อ ๒๓) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ ๕๗) เจรจาตกลงราคา - จะขายทอดตลาด เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - เร่งด่วนช้าเสียหาย - ราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิม หรือดีกว่า
35
การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ
เงื่อนไข (ข้อ ๒๓) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ ๕๗) - ซื้อจากต่างประเทศ สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศ สืบราคาให้ - จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคา และต่อรอง - ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ เชิญเจ้าของมาตกลงราคา - ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอ ราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา
36
การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ
เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ ๒๙ รายงาน ข้อ ๒๗ เงื่อนไข (ข้อ ๒๔) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ ๕๘) - กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่ไม่ทราบ ความเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - เร่งด่วนช้าเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา
37
การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ ดำเนินการโดยวิธีอื่น ไม่ได้ผลดี
เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา ราชการลับ เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม จ้างเพิ่ม (Repeat Order) สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและ ผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา ดำเนินการโดยวิธีอื่น ไม่ได้ผลดี
38
การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ
(ข้อ ๒๗) เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ ๒๙) - วงเงินเกิน 100,000 บาท หัวหน้าส่วนราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข : ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมาย ท้องถิ่น 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.