งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.สามโก้ ( รอบที่ 2) วันที่ 14 มิถุนายน 2560

2 กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ

3 ชื่นชม ผลงานการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ <12 สัปดาห์ ผลงานร้อยละ 74.6 (เป้าหมาย ร้อยละ 60) 2. การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ (เป้าหมาย ร้อยละ 90) ผลงานภาพรวมได้ตามเป้าหมาย เมื่อพิจารณารายสถานบริการ ต่ำกว่าเป้าหมายเป็นบางแห่ง เนื่องจาก ปกปิดการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น ความเข้าใจผิดเรื่องสิทธิการเบิกทำให้ไม่มาฝากครรภ์ กลุ่มเป้าหมายย้ายมาอยู่หลักการตั้งครรภ์ - ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะหน่วยบริการที่ยังต่ำกว่าเกณฑ์ ชื่นชม ผลงานการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ สูงเป็นที่ 1 ของจังหวัด โดยใช้กลวิธีให้ อสม.ติดตามและ ถ่ายเอกสารสมุดบันทึกแม่และเด็กเพื่อให้เจ้าหน้าที่ลงข้อมูล

4 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ จ.อ่างทอง

5 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ อ.สามโก้

6 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ อ.สามโก้

7 ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2. เด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ - หลักการกระตุ้นพัฒนาการสมวัย ร้อยละ -สถานบริการบางแห่ง เช่น รพ.สต. อบทม เด็กพัฒนากรปกติร้อยละ 100 -พัฒนาการทักษะการตรวจ ค้นหาสงสัยพัฒนาการล่าช้าเพิ่มขึ้นเพื่อเข้าสู่กระบาวนการกระตุ้นพัฒนาการ

8 เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย อ.สามโก้
ร้อยละ 89.39

9 เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย อ.สามโก้

10 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. กลุ่มเด็กวัยเรียน 5. เด็กนักเรียน สูงดีสมส่วน ร้อยละ (เป้าหมายร้อยละ 66) -การบันทึกข้อมูลใน HOSxP เทอม 2 ปีการศึกษา ของโรงพยาบาลไม่ครอบคลุม เนื่องจากข้อจำกัดด้านระยะเวลา อาจทำให้ข้อมูลไม่แสดงถึงผลงานที่แท้จริง เร่งรัดบันทึกข้อมูลให้ทันในรอบระยะเวลาบันทึกข้อมูล คัดเลือกโรงเรียนที่เด็กสูงดีสมส่วนต่ำกว่าเกณฑ์และอ้วนสุงกว่าเกณฑ์จัดกิจกรรมกับนักเรียนรายบุคคลโดยเน้นเรื่องโภชนาการและการออกำลังกาย

11 เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน อ.สามโก้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559

12 เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน อ.สามโก้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559

13 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - ส่ง Care Plan ให้ อปท.เรียบร้อยแล้ว - อปท.อยู่ระหว่างการจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ -ประสาน อปท. เร่งรัดให้มีการจัดประชุมเพื่ออนุมัติ Care Plan และดำเนินการตาม Care Plan 4. งานสุขภาพจิต อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ต่อปชก.แสนคน อัตราฆ่าตัวตายสูงกว่าเป้าหมาย โดยผู้ฆ่าตัวตายเป็นกลุ่มที่ต้องเฝ้าระวัง คือ มีประวัติพยายามฆ่าตัวตายและติดยาเสพติด คัดกรองผู้พยายามฆ่าตัวตาย -ดูแลกลุ่มเป้าหมายเน้นหนักในกลุ่มโรคทางจิตเวช โรคเรื้อรังสารเสพติด เป็นต้น 5. งานยาเสพติด โรงพยาบาลยังไม่ผ่านมาตรฐาน HAยาเสพติด -เจ้าหน้าที่มีภาระงานหลายด้าน -เร่งรัดจัดทำผลงานตามมาตรฐาน HA ยาเสพติดและขอรับการประเมินภายในปีงบประมาณ 2560

14 กลุ่มงานควบคุมโรค

15 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1.อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 : แสนประชากร (ปชก 19,498 คน) ต.ค. 59 – พ.ค. 60 เสียชีวิต 3 ราย คิดเป็น : แสนประชากร -เสียชีวิต ในจุดเสี่ยง 1 ราย -ทางแยก ราย - ถนนแยก ราย สภาพถนนและสิ่งแวดล้อม ไม่สวมหมวกนิรภัย -นำเสนอข้อมูลในที่ประชุม คปถ. อำเภอ วางแผน แก้ไขแบบมีส่วนร่วม ติดตามต่อเนื่อง

16 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 870ราย - ป่วย DM รายใหม่ 31ราย คิดเป็นร้อยละ 3.56 กิจกรรม 1. การให้คำแนะนำรายบุคคล 2.จัดอบรมความรู้ในกลุ่มกลุ่มเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ ของ รพ.สต. / รพช. ข้อสังเกตุ -มีผู้ป่วย DM รายใหม่ขึ้นทะเบียนใหม่ ทั้งหมด ราย 1 กลุ่มเป้าหมายที่มาอบรมความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่วนใหญ่ไม่ใช่กลุ่มเสี่ยงเป็นตัวแทนมาเนื่องจากกลุ่มเสี่ยงวัยทำงานไปทำงาน 2. ยังขาดการจัดกิจกรรมกระตุ้นในระดับชุมชนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง 1.ปรับเวลาการจัดกิจกรรมกลุ่มให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 2. ควรมีการคืนข้อมูลสถานการณ์โรค NCD ในที่ประชุมคณะกรรมการตำบลจัดการสุขภาพเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมวางแผน แก้ไขติดตามต่อเนื่อง

17 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM 1,339 ราย ตรวจ Hba1c 996 ราย คิดเป็น ร้อยละ 74.4 -ควบคุมน้ำตาลได้ 326ราย คิดเป็นร้อยละ24.4 ผู้ป่วย HT จำนวน 2,555 ราย ตรวจ BP 1,592 ราย คิดเป็นร้อยละ 62.3 ควบคุม BP ได้ 1,153 ราย ร้อยละ 45.1 กิจกรรม จัดกิจกรรมให้คำแนะนำปรึกษา รายบุคคล ใน NCD คลินิก การเยี่ยมบ้านโดยทีม รพ. และ รพ.สต. ประเมินผลต่อเนื่อง ปัญหาความไม่ครอบคลุมการตรวจเนื่องจาก 1.ผู้ป่วยไปรับการรักษาที่ รพ.เอกชน /คลินิก 2. ญาติมารับยาต่อ ไม่มีผล BP มาลงข้อมูล 3. ฐานข้อมูลยังไม่เป็นปัจจุบันได้แก่ ผู้ป่วยเสียชีวิต รพช. / รพ.สต ตรวจสอบข้อมูลจำนวน /รายชื่อ ผู้ที่ไม่มีผล BP เพื่อเป็นข้อมูลเชิงประจักเพื่อใช้วางแผนควบคุมกำกับ สสจ. ทบทวนเรื่องการจัดการข้อมูลที่เป็นปัญหาร่วมของทุกอำเภอ

18 กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ

19 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) -HA ขั้นที่ 2 สรพ. เข้าเยี่ยมเมื่อ วันที่ 5 มิ.ย. 60พร้อมทั้งได้ทำ Time Line ในการ Accredit ในปี ให้ด้วย - สรพ.ได้ให้ข้อเสนอแนะในบางประเด็น เช่นการทำงานในบางประเด็น ยังขาดการสรุปและประเมินผล -ดำเนินการ แก้ไขตามข้อเสนอแนะ -ทีมจังหวัดและเขตร่วมพัฒนาโรงพยาบาล

20 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2 P Safety มีการแต่งตั้งคณะกรรมการความเสี่ยง / คณะกรรมการเจรจาไกล่เกลี่ย มีการจัดทำบัญชี ความเสี่ยง ของ รพ. มีการจัดทำแนวทางและมาตรการป้องกันความเสี่ยงเป็นลายลักษณ์อักษร มีการรายงานความเสี่ยงตามแนวทางที่กระทรวงกำหนด -ยังไม่เป็นปัจจุบัน - มีความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ -ทบทวนคณะกรรมการความเสี่ยงและคณะกรรมากรเจรจาไกล่เกลี่ยให้เป็นปัจจุบัน ให้นำมาทบทวนและจัดทำแนวทางมาตรการป้องกัน ให้ครบทุกปัญหา ให้นำกรณีตัวอย่าง ที่สำคัญจาก รพช. อื่น มาจัดทำแนวทางและมาตรการป้องกันของ รพ.

21 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค

22 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1. ผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้มาตรฐาน ผ่าน ร้อยละ (เฉพาะอาหาร) 1. ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอไม่เข้าใจตัวชี้วัดอย่างชัดเจน 2. ผลการดำเนินงานเป็นผลจากการตรวจด้วย Test kit ไม่รวมผลของ ผลตรวจของ Mobile 3.ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอไม่ติดตามการดำเนินงานและประสานงานกับ รพ. ทำให้ไม่มีชุดทดสอบ 4. รพ.ยังไม่ได้ซื้อชุดทดสอบยาและเครื่องสำอางค์ 1.ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอควรทำความเข้าใจตัวชี้วัดให้ชัดเจน 2.ผลการดำเนินงานต้องรวมรายงานผลการตรวจของ Mobile Unit เขต 4 เพื่อวิเคราะห์ภาพรวมสถานการณ์ในอำเภอ จากผลรวมของMobile Unit พบอาหารได้มาตรฐาน ร้อยละ95.98 (พบสารเร่งเนื้อแดง น้ำมันทอดซ้ำและสารฟอกขาว

23 กลุ่มงานประกันสุขภาพ

24 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
1. เพิ่มรายได้ -ได้ตามเป้าหมาย ทั้ง 3 กิจกรรม( กายภาพบำบัด ทันตกรรม ห้องพิเศษ -ไม่ได้ตามเป้าหมาย 2กิจกรรม (ฟิตเนส ,แผนไทย) ฟิตเนส 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผน 2.ห้องคับแคบ แผนไทย 1.บุคลากรไม่เพียงพอ 2. การบริการในชุมชนน้อย ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น มีแผนจัดทำห้องฟิตเนส และจัดอุปกรณ์เพิ่ม -มีการจ้างลูกจ้างแบบแบ่งรายได้ -ให้บริการเชิงรุกในชุมชน

25 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท -ได้ตามแผน 5ประเภท -

26 ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ
3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ -อยู่ระหว่างดำเนินการจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ -กำหนดผู้รับผิดชอบ คือ นายคำนูณ พงษ์ชุบ -

27 งานการเงินและบัญชี

28 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
1.การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนเกินดุล 500,000) มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง ทำแผนเสมดุล EBITDA = 0 ทำแผนลงทุนด้วยเงินบำรุง 420,000 เปรียบเทียบ EBITDA>20% NI = 6,542,481.21 มีงบลงทุน = 11,892, (งบค่าเสื่อม = 1,235, งบประมาณ โรงครัว = 8,744,300.- เพิ่มรายได้ (2,251,053) Fitness= 700,000บาท กายภาพบำบัด=11,600บาท แพทย์แผนไทย =569,903บาท ทันตกรรม =569,903บาท ห้องพิเศษ =356,900บาท -กำกับให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน

29 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (พย.59 รายได้ % ค่าใช้จ่าย %) ไตรมาส 2/60 รายได้ 6.30% ค่าใช้จ่าย -3.13% (ไม่ผ่าน) เมย 60 รายได้ % ค่าใช้จ่าย -6.23%) รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผน รวม 62,950 บาท คิดเป็นร้อยละ % ดังนี้ อปท ,รายได้ค่ารักษาและบริการอื่น รายได้อื่น (396,020.53) พตส.รับโอน ถึงเดือน ก.พ.60 งบลงทุน – % อาคารโรงครัว ล้าน ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าแผน เกินร้อยละ 5 รวม 2,438,643 บาท ต้นทุนยา (170,268) (ลดปริมาณการจ่ายยาบรรเทาอาการ เช่น ยาแก้ปวด ยาแก้วิงเวียน ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ (110,221) (ลดปริมาณการซื้ออุปกรณ์ออกซิเจนตามท่อ เนืองจากได้รับบริจาคจาก ผวจ. ต้นทุนวัสดุทันตกรรม (105,608)ทำแผนราคาที่เคยซื้อ แต่จัดซื้อร่วมได้ถูกกว่าแผน ต้นทุนวัสดุวิทย์ (40,870) ค่าตอบแทน (376,555) พตส.ยังไม่ได้บันทึก 171, OT นอกเวลาต่ำกว่าแผน ค่าใช้สอย (398,435) ทำโรงจอดรถจักรยานยนนต์ หนี้สงสัยจะสูญ (5,023) ค่าสาธารณูปโภค -5.71(63,283) มีมาตรการประหยัด วัสดุใช้ไป (306,307) มีแผนวัสดุงานบ้านงานครัวและวัสดุบริโภค ประมาณ 200,000 โรงครัวยังไม่เสร็จ ค่าเสื่อมราคา (271109) (โรงครัว) ค่าใช้จ่ายอี่น ( 590,964) โครงการ 4 แสน, สนับสนุน สสจ. 2 แสน ให้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุและวางแนวทางกำกับให้เป็นไปตามแผน

30 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา
2.1ระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลรักษา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) 4.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกิน ค่าmean+1SD ของกลุ่มบริการระดับเดียวกัน (20กลุ่ม) (รพช. F 3 15,000-25,000 มีการสอบทานรายงานการเงิน(งบทดลอง/ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา/งานประกัน) ไตรมาส 2/60 ผ่าน 4 ตัว (B-) ไตรมาส2/60 (ผ่าน) =0.21 (mean+1SD=3.41) -การส่งข้อมูลเรียกเก็บ OPD กรมบัญชีกลาง ไม่เป็นปัจจุบัน (เดือน เม.ย. ข้อมูลการรักษา มีรายได้จำนวน 379, ส่งเรียกเก็บเดือน พ.ค. แต่ติด C เนื่องจาก สปสช.มีการปรับปรุงโปรแกรม e-claim หลัง 20 พ.ค. ทำให้ต้องบันทึกข้อมูลใหม่ -เดือน เม.ย.ส่งข้อมูลเรียกเก็บเดือน พ.ค. (บางเดือน ส่ง 2รอบ บางเดือนส่งรอบเดียว) -ระยะเวลาชำระหนี้ 372 วัน cash 0.95(เกณฑ์ cash >0.8 จ่ายภายใน 90 วัน การประมวลผลโดยส่วนกลางทางรพ.ไม่ทราบข้อมูล -ให้มีการสอบทานข้อมูลการรักษา(hosxp},การเรียกเก็บ,ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา -มีFlow งานประกันระยะเวลาในแต่ละขั้นตอน -ให้ผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บรายได้กำกับติดตามการส่งข้อมูลการเรียกเก็บ ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง มีระบบการบริหารสั่งซื้อ รับรู้หนี้สิน จังหวัดประสานส่วนกลางเรื่องการส่งข้อมูลผลการประเมิน รายการ ต.ค.-59 พ.ย.-59 ธ.ค.-59 ม.ค.-60 ก.พ.-60 มี.ค.-60 เม.ย.-60 พ.ค.-60 กรมบัญชีกลาง OPD 544,069.05 - 453,422.29 268,205.37 606,703.34 661,906.93

31 ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 5.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส 2/60 ได้ 92 % (ผ่าน) ไม่มี กิจกรรมการควบคุมภายใน ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี ให้ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดและกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังให้ดำเนินให้ครบทุกขั้นตอนตามเกณฑ์ที่กำหนด

32 พยากรณ์แนวโน้มไตรมาส 4 ปี 60
งปม. CR (<1.5) QR(<1) Cash (<.80) NWC(<0) NI+Depreciation Risk scoring เมย.60 1.18 1.11 0.88 3,447,132.41 5,971,205.89 1 Planfin รายได้ Planfin ค่าใช้จ่าย NI (รายได้หักค่าใช้จ่ายรวมงบลงทุนและค่าเสื่อมราคา) Risk scoring 72,786,481.21 66,244,000 6,542,481.21 4 ผลการดำเนินงานตามแผน เดือนเมษายน 2560 รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผน 62,590 บาท ค่าใช้ต่ำกว่าแผน 2,475,032.67บาท สรุป รพ.สามโก้ มีรายได้งบลงทุน จำนวน 11,892, บาท (โรงครัว 8,744,300,งบค่าเสื่อม1,235, บาทงบประมาณ 2,467, ล้าน ทำให้การพยากรณ์ผลการดำเนินงานในเดือนกันยายน 2560 ไม่มีปัญหาวิกฤติรุนแรงระดับ 7

33 สรุปรับจ่ายโรงพยาบาลสามโก้

34 ถาม - ตอบ


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google