ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสมร บราวน์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้า สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป. สธ
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้า สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556 เสนอในการประชุมชี้แจงและจัดทำ Workshop การบริหารจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวล่วงหน้าสำหรับหน่วยบริการในสังกัด สปสธ. ปีงบประมาณ 2556 17 ตุลาคม 2555 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
2
กรอบแนวคิดในการจัดสรรล่วงหน้าปี 2556
ใช้แนวทางการจัดสรรเดียวกันกับการจัดสรรล่วงหน้าปี 2555 เป็นกรอบในการจัดสรรล่วงหน้าปี 2556 การจัดสรรในระดับจังหวัดทุกจังหวัดได้รับจัดสรรไม่น้อยกว่าปี 2555 และให้ อปสจ.ทำหน้าที่ในการปรับเกลี่ยภายในจังหวัด ได้ผ่านการเห็นชอบของอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ก่อนเสนอคณะทำงานร่วมฯ
3
กรอบวงเงินการบริหารกองทุนปี 2556 “งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว”
ประเภทบริการ ปี 2555 [ได้รับมติกก.หลักฯ] ปี 2556 [เสนอขาลง] +/- ขาลง56 กับ 55 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 971.51 983.49 11.98 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 972.17 975.85 3.68 3. เพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99 - 4. บริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการกลุ่มโรคที่มีปัญหาการเข้าถึง 269.04 262.10 (6.94) 5. บริการสร้างเสริมป้องกัน (P&P) 313.70 6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 12.88 7. บริการแพทย์แผนไทย 7.20 8. งบค่าเสื่อม 141.50 128.69 (12.81) 9. งบส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 10. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 1.10 5.19 4.09 11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ 0.75 รวม 2,755.60 หมายเหตุ: งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว ไม่รวมค่าแรงส่วนเพิ่มจากนโยบายรัฐบาล และค่าตอบแทนส่วนเพิ่มตามประกาศของ สป.สธ.
4
กรอบวงเงินงบอัตราเหมาจ่ายรายหัวปี 2556
ประเภทบริการ บาทต่อประชากรสิทธิ ร้อยละ วิธี 1. บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป 974.36 35.36% Diff capitation 2. บริการผู้ป่วยในทั่วไป 972.17 35.28% DRG 3. เพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 60.99 2.21% Cost function 4. บริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการกลุ่มโรคที่มีปัญหาการเข้าถึง 262.1 9.51% Fee schedule 5. บริการสร้างเสริมป้องกัน (P&P) 313.7 11.38% capitation 6. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 12.88 0.47% 7. บริการแพทย์แผนไทย 7.2 0.26% 8. งบค่าเสื่อม 141.5 5.13% Item +capitation 9. งบส่งเสริมคุณภาพผลงานบริการ 4.76 0.17% P4P 10. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 5.19 0.19% Case 11. เงินช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการ 0.75 0.03% รวม 2,755.60 100.0%
5
ข้อจำกัดการบริหารเงินกองทุนปี 56
การที่รัฐบาลไม่เพิ่มวงเงินรวมของงบเหมาจ่าย รายหัว ในปี 56 ยังให้เงินเท่าเดิม ในปี55 ได้แก่ 2, บาท/หัว และส่งสัญญาณควบคุมค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของเทศโดยตรึงงบเหมาจ่ายรายหัว ในปี 56-57
6
ข้อจำกัดการบริหารเงินกองทุนปี 56(2)
ประเภทบริการส่วนใหญ่งบเหมาจ่ายรายหัว ในปี 56 ยังได้รับงบเหมาจ่ายเท่าเดิมของปี55 ยกเว้นงบค่าเสื่อมที่ได้รับลดลง บาทและบริการที่มีค่าใช้จ่ายสูง/อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน/บริการกลุ่มโรคที่มีปัญหาการเข้าถึงที่ลดลง 6.94 บาท ส่วนที่เพิ่มได้บริการผู้ป่วยนอกทั่วไป = บาทบริการผู้ป่วยในทั่วไป = บาท และเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 = 4.09 บาท
7
ข้อจำกัดการบริหารเงินกองทุนปี 56(3)
จังหวัด/หน่วยบริการต้องการได้รับจัดสรรให้ Cash เพิ่มหรือ อย่างน้อยเท่าเดิม เงินเดือนที่กรมบัญชีกลางยอมให้หักเงินเดือนเท่าเดิม ปี55 การจัดสรรเงิน prepaid ในสัดส่วน 5:2
8
ผลกระทบต่อหน่วยบริการของการคงที่ งบประมาณงบเหมาจ่ายรายหัว
นโยบายการเพิ่มค่าแรง 15,000 ,300 บาท สภาพคล่องของหน่วยบริการ รัฐบาลอาจมองว่าหน่วยบริการยังมีช่องในการพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริการ
9
ประมาณการจัดสรรล่วงหน้า สป.สธ. 2556
1. เงินค่าบริการ OP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร 2. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 3. เงินค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค PP Expressed demand แบบเหมาจ่าย PP ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน PP ตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ PP ระดับพื้นที่ สำหรับค่าบริการ TSH ,Pap smear 4. เงินค่าบริการ IP ทั้งบริการในเขตและ นอกเขต
10
การคำนวณประมาณการจัดสรรล่วงหน้าสำหรับหน่วยบริการในสังกัดสป.สธ. 2556
เงิน OP รวม เงิน PP รวม เงิน IP รวม
11
การจัดสรรค่าบริการ OP Capitation
จัดสรรเบื้องต้นโดยใช้ฐานประชากร UC ณ กรกฎาคม ด้วยอัตรา Diff Capitation ระดับจังหวัด + อัตรา เท่ากัน ที่ บาท ต่อหัวประชากร UC สำหรับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการใหม่ ใน ปีงบประมาณ หรือรับโอนประชากรจากหน่วย บริการอื่นจะมีการปรับฐานประชากรตามข้อมูลที่ได้ ประสานเพิ่มเติมกับ สปสช.เขต
12
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบผู้ป่วยนอกแบบจ่ายรายหัว
ปี2555 ปี2556 จำนวนเงิน บาท:ประชากร แบ่งเป็น 2 ส่วน 1. จำนวน บาท:ประชากร Diff Cap ตามโครงสร้างอายุประชากร โดย 1.1 สป.สธ. Diff Cap ระดับจังหวัด และปรับให้แต่ละจังหวัดต่างกันไม่เกินค่าเฉลี่ย ±10% 1.2 หน่วยบริการอื่นๆ Diff Cap ระดับ CUP และปรับให้แต่ละ CUP ต่างกันไม่เกินค่าเฉลี่ย ±10% 2. จำนวน บาท:ประชากรจ่ายในอัตราที่เท่ากัน จำนวนเงิน บาท:ประชากร แบ่งเป็น 2 ส่วน 2. จำนวน บาท:ประชากรจ่ายในอัตราที่เท่ากัน (เพิ่มขึ้น บาท)
13
การจัดสรรเงินค่าบริการผู้ป่วยนอก (OP รวม)
การจัดสรรค่าบริการผู้ป่วยนอก คำนวณจาก 2 วิธี คือ การคำนวณแบบเหมาจ่ายตามประชากร (OP Capitation) การคำนวณด้วย cost function เปรียบเทียบการคำนวณจาก 2 วิธี วิธีใดมากให้ใช้วิธีนั้น กรณีที่คำนวณจาก cost function ได้มากกว่า ให้จ่ายส่วนเพิ่มด้วย “งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง”
14
หลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง
บริหารจัดการเป็นภาพรวมระดับประเทศ ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุน (cost function) ของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ (CUP) ที่มีโรงพยาบาลขนาด เตียง และข้อมูลงบการเงินของหน่วยบริการและ เครือข่ายหน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายดังนี้ 1. เปรียบเทียบผลการคำนวณตาม cost function กับการคำนวณ OP Cap หากมากกว่าให้ จ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงเท่ากับผลต่างระหว่างผลการคำนวณcost function กับ OP Cap 2. สำหรับจังหวัดที่มีประชากร UC น้อยกว่า 300,000คน ปรับให้ภาพรวมของงบประมาณ ระดับจังหวัด (เฉพาะค่าบริการOPรวม IPและ PP) หลังหักเงินเดือน ให้ได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของทุก จังหวัดหักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย-1SD) 3. ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณาจ่ายเพิ่มสำหรับหน่วย บริการเป้าหมายมีภาระในการสงเคราะห์การให้บริการประชากรอื่นๆ เช่น หน่วยบริการในพื้นที่ติด ชายแดนของจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน สระแก้ว หรือกรณีอื่นๆ
15
งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 56
จำนวน บาทต่อประชากร เป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่จ่ายเพิ่มเติมโดยคำนึงถึงต้นทุนคงที่สำหรับหน่วยบริการประจำสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (สป.สธ.) เฉพาะโรงพยาบาลชุมชนและเครือข่ายหน่วยบริการ หรือโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กและเครือข่ายหน่วยบริการ เพื่อให้จัดบริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
16
งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 56
Diff Cap จำนวนเงิน Diff Cap Cost function ปี56 Cost function ปี55 Fix cost Fix cost cap จำนวนประชากร
17
หลักเกณฑ์การจัดสรรงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง
มี 3 เงื่อนไข ให้ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุนของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ (CUP) ที่มีโรงพยาบาลขนาด เตียง และข้อมูลงบการเงินของหน่วยบริการและ เครือข่ายหน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายตามตัวแปรของสมการต้นทุน จัดสรรเงินเพิ่มให้หน่วยบริการ โดยจากการคำนวณเปรียบเทียบ ระหว่างการคำนวณด้วย cost function กับการคำนวณด้วยอัตราต่อ หัวที่ปรับตามโครงสร้างอายุปี2556 คูณจำนวนประชากร ณ ก.ค.2555 ผลการคำนวณจัดสรร มีหน่วยบริการได้รับจัดสรรทั้งหมด 362 เครือข่าย เป็นจำนวนเงินที่จัดสรรทั้งหมด 2,465,197, บาท
18
ผลการคำนวณ Cost Function ปี 2555
อัตราเงินเฟ้อ 1.73% = + เงิน OP cap เพิ่มขึ้น(%) = ( ) x 100 ( )
19
หลักเกณฑ์การจัดสรรงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง
สำหรับจังหวัดที่มีผู้มีสิทธิลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติน้อยกว่า 300,000 คน ปรับให้ภาพรวมของงบระดับจังหวัด (เฉพาะค่าใช้จ่ายผู้ป่วยในทั่วไป ผู้ป่วยนอกที่จ่ายแบบเหมา จ่ายต่อผู้มีสิทธิ เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง และค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค) หลังปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐได้ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของทุกจังหวัด หักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย-1SD) การคำนวณจัดสรร -> ใช้อัตราเดียวกับที่ใช้ในปี2555 = 1, บาทต่อประชากร ลำ ดับ จังหวัด ปชก. UC ก.ค. 55 อัตรา บาท:หัว ก่อนเพิ่ม อัตรา บาท:หัว ส่วนที่เพิ่มให้เท่ากับ 1,121.27 จำนวนเงินจัดสรร 1 ระนอง 138,676 738.10 383.17 53,137,096.42 2 ตราด 178,962 975.17 146.10 26,146,805.45 3 แม่ฮ่องสอน 204,208 1,094.30 26.97 5,507,770.28 4 สตูล 252,327 905.79 215.48 54,371,991.27 5 ชัยนาท 253,150 976.59 144.68 36,624,979.57 6 มุกดาหาร 274,052 964.75 156.52 42,894,385.04 ผลรวม 1,301,375 218,683,028.03
20
จังหวัดที่มีประชากรน้อยกว่า 300,000 คน
ลำดับ จังหวัด ปชก UC อัตราต่อหัว 1 ลำพูน 284,018 1,335.62 2 แม่ฮ่องสอน 204,208 1,194.74 3 ชัยนาท 253,150 1,121.27 4 อุทัยธานี 256,864 1,261.42 5 อ่างทอง 198,772 1,408.58 6 สิงห์บุรี 152,090 1,278.30 7 นครนายก 151,510 1,183.60 8 สมุทรสาคร 269,751 1,254.11 9 สมุทรสงคราม 139,262 1,205.71 10 ตราด 178,962 11 มุกดาหาร 274,052 12 พังงา 206,955 1,177.90 13 ภูเก็ต 240,279 1,238.79 14 ระนอง 138,676 15 สตูล 252,327
21
หลักเกณฑ์การจัดสรรงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง
ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณาสำหรับการจ่ายเงิน เพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงให้หน่วยบริการเป้าหมายกรณีที่หน่วย บริการเป้าหมายมีภาระในการสงเคราะห์การให้บริการแก่บุคคลอื่นๆ เช่น หน่วย บริการในพื้นที่ติดชายแดนของจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน สระแก้ว หรือกรณีอื่นๆ กรณีมีภาระสงเคราะห์ -> จัดสรรเท่าปี2555 ลำดับ จังหวัด POP UC ก.ค. 55 จำนวนเงินที่จัดสรร 1 ลำพูน 284,018 6,472,573.00 2 แม่ฮ่องสอน 204,208 15,002,573.87 3 ตาก 430,392 104,507,640.00 4 สระแก้ว 404,090 10,446,152.00 5 นครพนม 557,648 6,570,417.00 ผลรวมทั้งหมด 1,880,356 142,999,355.87
22
หลักเกณฑ์การจัดสรรงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง
จากหลักเกณฑ์ข้อ 3 สำหรับ กรณีอื่นๆ เสนอคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ การเงินการคลัง พิจารณาเพิ่มกรณีสำหรับกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยใช้ หลักเกณฑ์ ปรับให้ภาพรวมของงบประมาณระดับจังหวัดหลังหักเงินเดือนให้ได้ไม่น้อย กว่าค่าเฉลี่ยของทุกจังหวัดหักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในอัตราเดียวกับ จังหวัด ที่มีผู้มีสิทธิลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติน้อยกว่า 300,000 คน (1, บาทต่อประชากร) ลำดับ จังหวัด ปชก. UC ก.ค. 55 อัตรา บาท:หัว ก่อนเพิ่ม อัตรา บาท:หัว ส่วนที่เพิ่มให้เท่ากับ 1,121.27 จำนวนเงินจัดสรร 1 พัทลุง 398,007 1,032.16 89.11 35,465,770.74 2 ปัตตานี 598,953 1,065.00 56.27 33,701,913.81 ผลรวม 996,960 69,167,684.55
23
สรุปผลการคำนวณจัดสรร งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 2556
ลำดับ รายการ จำนวนเงิน [1] งบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการต้นทุนสูง บาทต่อประชากร 2,954,660,550.00 [2] จัดสรรเพิ่มให้ รพ. จากการคำนวณเปรียบเทียบระหว่างการคำนวณด้วย cost function กับการคำนวณด้วยอัตราต่อหัวปี2556 คูณประชากร ณ ก.ค.55 2,465,197,925.74 [3] ประมาณการจัดสรรสำหรับจังหวัดที่มีประชากรUC < 300,000 คน 218,683,028.03 [4] จัดสรรสำหรับจังหวัดพื้นที่ชายแดน/มีภาระในการสงเคราะห์ ปชก. อื่นๆ 142,999,355.87 [5] ประมาณการจัดสรรสำหรับกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้ 69,167,684.55 [6] =[2]+[3]+[4]+ [5] รวมประมาณการ ที่จัดสรร 2,896,047,994.19 [7]=[1]-[6] คงเหลืองบประมาณ 58,612,555.81
24
แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556
(1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (2) PPE ( บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) CUP/สถานพยาบาล P&P Capitation ( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) คำนวณจาก บาท/ปชก.UC ล้านคน หักเงินเดือน กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) Quality Performance (25.00 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
25
การจัดสรรล่วงหน้าค่าบริการ PP รวม
มีการคำนวณจัดสรรลง CUP มีวงเงินภาพรวมแต่ละจังหวัด โดยมีการคำนวณจัดสรร ดังนี้ 1. PP Exp. demand Capitation จำนวน บาท:ปชก.ไทย คำนวณจัดสรรให้แต่ละ CUP ตามจำนวนหัวปชก.UCตามอัตราต่อหัวปชก.ที่คำนวณได้แต่ละจังหวัด สำหรับส่วนที่เหลือจัดสรรเป็นวงเงินภาพรวมระดับจังหวัด ให้มีการปรับเกลี่ยภายในจังหวัด 2. PP ทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน จำนวน บาท:ปชก.ไทย คำนวณจัดสรรให้แต่ละ CUP ตามจำนวนหัวปชก.UC ตามอัตราต่อหัวปชก.ที่อัตรา บาทต่อปชก. ให้มีการปรับเกลี่ยภายในจังหวัด เกลี่ยได้ทั้งก้อน หักเงินเดือน
26
การจัดสรรค่าบริการ PP รวม
นำมาคำนวณจัดสรรร้อยละ 70 (17.50 บาท:ปชก.UC) โดยจัดสรรให้แต่ละ CUP ตามจำนวนหัวปชก.UC สำหรับส่วนที่เหลือจัดสรรเป็นวงเงินภาพรวมระดับจังหวัด ให้มีการปรับเกลี่ยภายในจังหวัด 4. PP ระดับพื้นที่ค่าบริการ TSH ,Pap smear จำนวน บาท:ปชก.ไทย จัดสรรประมาณ 8.03 บาท:ปชก.UC โดยจัดสรรให้แต่ละ CUP ตามจำนวนหัวปชก.UC ตามอัตราต่อหัวปชก.ที่คำนวณได้แต่ละจังหวัด ให้มีการปรับเกลี่ยภายในจังหวัด เกลี่ยได้ทั้งก้อน หักเงินเดือน
27
การจัดสรรเงิน P&P Expressed demand
ร้อยละ 50 ตามจำนวนประชากรไทย ณ 1 กรกฎาคม 55 ร้อยละ 25 ตามจำนวนเป้าผลงานแต่ละกลุ่ม ร้อยละ 25 จากผลงานบริการปีที่ผ่านมา 2. คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตราเฉลี่ยต่อหัวประชากรที่คำนวณได้ตาม ข้อ1 3. สำหรับเงินที่เหลือจากการจัดสรรให้กับหน่วยบริการประจำตามข้อ 2 ให้ อปสจ.จัดสรรเพิ่มให้กับหน่วยบริการในจังหวัด Specific group ▪ หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ▪ เด็ก 0-5 ปี ▪ เด็ก 6-13 ปี ▪ ผู้ใหญ่ ปี ▪ ผู้สูงอายุ
28
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบ P&P Expressed demand
กองทุน ปี2555 ปี2556 PP Exp. Capitation คำนวณตามหัวประชากร UC ณ 1 ก.ค. 54 ในอัตรา บาท : ประชากร จำนวน บาทต่อหัวประชากรไทย ณ 1 ก.ค. 55 คำนวณอัตราจ่ายเป็นภาพรวมของแต่ละหน่วยบริการประจำและจังหวัด จากข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ ประชากร เป้าหมายผลงาน และผลงานปีที่ผ่านมา การจัดสรร 1.จัดสรรให้หน่วยบริการประจำ ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค. 55 ในอัตราค่าเฉลี่ยต่อประชากรทั้งหมดในจังหวัดที่คำนวณได้ 2. ส่วนที่เหลือให้ อปสจ.จัดสรรเพิ่มเติมให้กับหน่วยบริการประจำ/หน่วยบริการ/สถานพยาบาล/หน่วยงานที่ร่วมให้บริการ PP Specific Group จำนวน บาท : ประชากรทุกสิทธิ ตามกลุ่มเป้าหมายผลงานในแต่ละจังหวัด 1.จัดสรรให้หน่วยบริการประจำ ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค. 54 ในอัตราไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยต่อประชากรทั้งหมดในจังหวัด
29
การจัดสรรเงินบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน
ค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันในกลุ่มเป้าหมายหลักจำนวน บาทต่อประชากรไทย คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตรา ต่อหัวประชากร ให้ อปสจ. พิจารณาปรับเกลี่ยวงเงินและตกลงเป้าหมาย/ผลงานกับหน่วยบริการประจำได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละจังหวัด
30
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน
กองทุน ปี2555 ปี2556 PP Dent จำนวน บาท : ประชากรทุกสิทธิ ในแต่ละจังหวัด การจัดสรร 1.จัดสรรเบื้องต้นให้หน่วยบริการประจำ (เฉพาะ สป.สธ.)ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค บาท : ประชากร 2. ส่งวงเงินทั้งจังหวัด (13.73 บาท : ประชากรทุกสิทธิ) ให้คณะกรรมการกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัดจัดสรร ตามกลุ่มเป้าหมายของหน่วยบริการ/สถานพยาบาลแต่ละแห่งในจังหวัด 3. สสจ.สงผลการจัดสรรให้ สปสช.จัดสรรตามแนวทางที่กองทุนทันตกรรมกำหนด จำนวน บาท : ประชากรทุกสิทธิ ในแต่ละจังหวัด 1.จัดสรรเบื้องต้นให้หน่วยบริการประจำ (ทุกสังกัด)ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค บาท : ประชากร 2. ส่งวงเงินทั้งจังหวัด (14.08 บาท : ประชากรทุกสิทธิ) ให้คณะกรรมการกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัดปรับเกลี่ย ตามกลุ่มเป้าหมายของหน่วยบริการ/สถานพยาบาลแต่ละแห่งในจังหวัด 3. สสจ.ส่งผลการจัดสรรให้ สปสช.จัดสรรตามแนวทางที่กองทุนทันตกรรมกำหนด
31
การจัดสรรค่าบริการ IP
ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ประมาณการจ่ายล่วงหน้าให้ด้วยจำนวนเงินอย่างต่ำของ ปี2555 และเพิ่มเติมให้บาง CUP ที่ผลงานในปี2555 สูงขึ้นอย่างเด่นชัด เมื่อมีข้อมูลการเรียกเก็บ IP ปี2555 เต็มปี จะมีการคำนวณจัดสรรใหม่โดย กรณีการให้บริการรักษาภายในเขตเดียวกัน จัดสรรด้วยอัตราจ่ายเบื้องต้นที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต กรณีการให้บริการรักษานอกเขต จัดสรรด้วยอัตราส่งต่อข้ามเขต
32
2. กรอบแนวทางบริหารงบ IP-ทั่วไปปี 2556
จำนวนเงิน บาทต่อประชากร และกรอบแนวทางบริหารเหมือนปี 2555 โดย ครอบคลุมบริการผู้ป่วยในทุกรายการ ยกเว้นที่กำหนดให้จ่ายจากประเภทบริการอื่น บริหารเป็น global budget (GB) ที่ระดับเขต โดย 2.2 การคำนวณ GB เป็นไปตามมติ 12 ก.ค.2553 (45% ตามโครงสร้างอายุ 55% ตาม workload) 2.2 การคำนวณ GB ให้ประมาณการเป็นทั้งปี โดยใช้ข้อมูลผลการให้บริการที่เกิดขึ้นที่เป็นปัจจุบัน มติเมื่อ 12 กรกฎาคม 2553 ปีงบประมาณ (1) ปชก. ตามโครงสร้างอายุ (2) Work load (Sum AdjRw) 2554 25 % 75% 2555 35 % 65 % 2556 45 % 55 % โดยให้มีการประเมินผลการใช้ปัจจัยในการ Diff. Cap หลังปี 2556
33
การจัดสรรค่าบริการ IP
ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ประมาณการ adjRW ที่คาดว่าหน่วยบริการจะทำได้ทั้งปีจาก ผลงานของหน่วยบริการที่ผ่านมา จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยภายในเขต เดียวกัน ด้วยอัตราจ่ายเบื้องต้นที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยนอกเขต โดยคำนวณจ่ายอัตรา 9,600 บาทต่อ adjRW
34
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบบริการ IP
กองทุน ปี2555 ปี2556 IP GB ระดับเขต - workload 65% - RWต่อปชก.รายกลุ่มอายุ 35% ประมาณการจัดสรรเบื้องต้น 1.IP ที่ให้บริการผู้ป่วยภายในเขตคำนวณจ่ายด้วยอัตราจ่ายต่อน้ำหนักสัมพัทธ์เบื้องต้นในอัตราที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต 2.IP ที่ให้บริการผู้ป่วยนอกเขตคำนวณจ่ายอัตรา 9,000 บาทต่อน้ำหนักสัมพัทธ์ - workload 55% - RWต่อปชก.รายกลุ่มอายุ 45% 2.IP ที่ให้บริการผู้ป่วยนอกเขตคำนวณจ่ายอัตรา 9,600 บาทต่อน้ำหนักสัมพัทธ์
35
แนวทางการปรับลดค่าแรง ปี 56
1. สำนักงบประมาณ แยกเพดานการปรับลดค่าแรงจากหน่วยบริการภาครัฐต่างๆ เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ. และกลุ่มหน่วยบริการภาครัฐอื่นๆ จำนวนที่ถูกปรับลดค่าแรงเป็นจำนวนเดียวกับปี2555 (ไม่ปรับขึ้นตามการขึ้นเงินเดือนประจำปี และไม่รวมเงินเดือนพยาบาลในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3,000 อัตรา) 2. ให้ปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐจากงบประมาณที่หน่วยบริการได้รับจากค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยใน เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง และค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยให้ได้จำนวนเงินเท่าที่ สปสช.กำหนด และให้มีการเกลี่ยระหว่างหน่วยบริการภายในกลุ่มเดียวกันได้
36
แนวทางการปรับลดค่าแรง ปี2556 สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ.
แนวทางการปรับลดค่าแรง ปี2556 สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 3. วิธีการปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ. ให้บริหารการปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐเป็นภาพรวมในระดับจังหวัด โดย 3.1 ให้ อปสจ. เป็นผู้พิจารณาเกลี่ยการปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐระหว่างหน่วยบริการประจำภายในจังหวัด รวมทั้งพิจารณาการกันเงินระดับจังหวัดตามขอบเขตและหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนดจากการระดมความเห็น โดยหลักเกณฑ์อาจกำหนดเป็นเพดานจำนวนเงินที่จะกัน หรือกำหนดกรอบการใช้เงินระดับจังหวัด หรือกำหนดให้มีกระบวนการในการรองรับกรอบการใช้เงินก็ได้ 3.2 กรณีที่อาจมีการเกลี่ยระหว่างจังหวัด ให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช. และ สป.สธ. เป็นผู้พิจารณา โดยให้คำนึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการตามความเหมาะสม ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลังมีข้อเสนอแนะว่าควรจะปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐแต่ละจังหวัดไม่เกินค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อผู้มีสิทธิ+1SD หมายเหตุ ยอดหักเงินเดือนรวมของปี2556 เท่ากับปี2555 จำนวน 31, ล้านบาท
37
(รายละเอียดตามเอกสาร ตาราง 1 – ตาราง 5) จ่ายล่วงหน้าปี56 [cash56]
ผลการประมาณการจัดสรรล่วงหน้าและการปรับลดค่าแรง (รายละเอียดตามเอกสาร ตาราง 1 – ตาราง 5) ประมาณการจัดสรรเบื้องต้นเงินเหมาจ่ายรายหัว หน่วยบริการ สป.สธ. ปีงบประมาณ 2556 ตาราง1 Cash : Province ประมาณการจ่ายเบื้องต้นในปี ไม่รวมเงินเดือน (บาท) ประมาณการโดยใช้เงินเดือนเดิมที่หักในปี 2555 UC pop-July55 จ่ายล่วงหน้าปี55 [cash55] จ่ายล่วงหน้าปี56 [cash56] ผลต่าง56กับ55 Per Head ปี56 ลำดับ เขต จังหวัด [1] [2] [3] [4]=[3]-[2] [5]=[3]/[1] 14 03 นครสวรรค์ ชัยนาท 253,150 283,145,120 283,849,501 704,380 1,121.27 15 นครสวรรค์ 819,568 1,028,233,805 1,043,038,241 14,804,437 1,272.67 16 อุทัยธานี 256,864 319,204,804 324,014,468 4,809,663 1,261.42 17 กำแพงเพชร 562,930 827,203,499 842,164,642 14,961,143 1,496.04 18 พิจิตร 422,256 519,488,269 529,115,766 9,627,497 1,253.07 03 นครสวรรค์ Total 2,314,768 2,977,275,497 3,022,182,618 44,907,121 1,305.61
38
ประมาณการจัดสรรเบื้องต้นเงินเหมาจ่ายรายหัว ปีงบประมาณ 2556
ตาราง 2 ประมาณการจ่ายเบื้องต้นในปี2556 ประมาณการโดยใช้เงินเดือนเดิมที่หักในปี 2555 [1] [2] [3] [4]=[1]+[2]+[3] [5] [6]=[4]-[5] จังหวัด OP รวม PP รวม IP รวม รวม Prepaid ก่อนหักเงินเดือน ประมาณการหักเงินเดือน รวม Prepaid หลังหักเงินเดือน ชัยนาท 298,710,836 35,732,342 199,915,175 534,358,353 250,508,852 283,849,501 นครสวรรค์ 829,123,784 132,659,124 679,137,845 1,640,920,754 597,882,513 1,043,038,241 อุทัยธานี 279,687,781 42,259,006 261,984,910 583,931,697 259,917,229 324,014,468 กำแพงเพชร 553,600,096 90,944,401 521,410,473 1,165,954,971 323,790,329 842,164,642 พิจิตร 432,952,339 68,395,783 373,813,768 875,161,890 346,046,124 529,115,766 รวม 2,394,074,837 369,990,656 2,036,262,171 4,800,327,664 1,778,145,047 3,022,182,618
39
ผลการประมาณการจัดสรรล่วงหน้าและการปรับลดค่าแรง
ตาราง 3 Cash/Head Province<300,000
40
ผลการประมาณการจัดสรรล่วงหน้าและการปรับลดค่าแรง
ตาราง 4 เกลี่ยเงินเดือนแบบ Reverse เงินเดือนที่ช่วยกัน 912 MB จากเงินเดือนทั้งหมด 31,408 MB : คิดเป็นเงินเดือนที่ช่วยกัน 2.9%
41
เปรียบเทียบจัดสรร prepaid 55, prepaid 56
42
การกันเงินระดับจังหวัดปี 56
จำนวนเงินกันระดับจังหวัด ปี 56 ขึ้นกับ เงินกันค่าวัคซีนพิษสุนัขบ้าปี 56 OP refer 56 + ค่าบริหารจัดการปี 56 ภาระการตามจ่าย OP refer ปี 55, ในส่วนที่ <1,600 บาท/visit เงินกัน OP refer 55 คงเหลือ สรุปเงินกันระดับจังหวัดปี56 = – 4. * หมายเหตุ : สบจ.จะหักเงิน OP refer55 ส่วนที่ <1,600 บาท/visit จากเงินกันระดับจังหวัดปี 56
43
การจัดการเงินกันระดับจังหวัดปี 55
กรณีที่มีเงินกันระดับจังหวัดเหลือเพื่อการตามจ่าย OP refer ยกยอดที่เหลือไปใช้เสมือนเงินกันปี 56 หรือ Prepaid : OP refer ภายในจังหวัดปี 56 ให้กับ รพศ., รพท. ภายในจังหวัดที่มีการรับส่งต่อมากๆ ด้วยเงินกันจังหวัดปี 55
44
สรุป Prepaid56 ที่เพิ่มขึ้นจาก Prepaid55 สปสช.เขต3 นครสวรรค์
หน่วย = ล้านบาท รายการ ปี 55 ปี 56 ปี56เพิ่มขึ้น Prepaid ก่อนหักเงินเดือน 4,734,421,370 4,800,327,664 65, Prepaid หลังหักเงินเดือน 2,977,275,497 3,022,182,618 44,907,121 เงินสดที่จัดสรรเพิ่มขึ้นจากปี55 = 44,907,121 ล้านบาท
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.