ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสุนีย์ ตั้งตระกูล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การตัดสินผล และ การเขียนรายงาน การประเมินโครงการ
การตัดสินผล และ การเขียนรายงาน การประเมินโครงการ ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
การตัดสินผล หัวใจสำคัญของการประเมินอยู่ที่
การตัดสินผล หรือการตัดสินคุณค่า ได้อย่างเหมาะสม การตัดสินคุณค่า ประกอบด้วย 1. ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดสำคัญ (คุณภาพของโครงการ การบริหารโครงการ และ ผลของโครงการ) 2. เกณฑ์
3
ความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวชี้วัด เกณฑ์ และคุณค่า
(INDICATOR) เกณฑ์ (CRITERIA) คุณค่า (VALUE) ข้อมูลเชิงประจักษ์ (EMPIRICAL DATA) การตัดสิน
4
คุณค่าที่ต้องการตัดสิน
ตัวอย่าง คุณค่าที่ต้องการตัดสิน ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลสำเร็จของโครงการจัดหาอาหารเสริม (นม) ให้แก่ เด็กเล็กในจังหวัด ก -จำนวนเด็กที่ ได้รับอาหารเสริม - สุขภาพของเด็ก -100% ได้ อาหารเสริม -อัตราความ เจ็บป่วยของ เด็กลดลง 10%
5
การสรุปผลการประเมิน ยึดประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการประเมินเป็นสำคัญ และนำเสนอเรียงลำดับตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน ประกอบด้วย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่วัดได้จากตัวชี้วัด แต่ละตัว และ ผลการตัดสินคุณค่าหลังจากที่ได้ข้อมูลจาก ตัวชี้วัดแต่ละตัวเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้
6
การสรุปผลการประเมิน ถ้าเป็นไปได้ ควรพิจารณาทั้งที่เป็นส่วนของผลผลิต (output) และผลลัพธ์ (outcome) ต้องเข้าใจว่าผลการประเมินมีโอกาสเป็นไปได้ทั้งทางบวกและทางลบ ดังนั้นต้องเสนอภาพลบได้อย่างนุ่มนวล แต่ต้องมีผลให้นำภาพลบดังกล่าวมาปรับปรุงและพัฒนาด้วย
7
การอภิปรายผลการประเมิน
เป็นการนำสารสนเทศจากสรุปผลการประเมินมาพิจารณาเน้นให้เห็นความชัดเจนยิ่งขึ้น ผู้ประเมินสามารถแสดงความคิดเห็นเสริม สนับสนุน หรือโต้แย้งได้
8
การอภิปรายผลการประเมิน
วิธีการในการอภิปรายผล คือ 1. ผู้ประเมินต้องยึดสรุปผลการประเมินเป็นหลักในการอภิปรายผล 2. ควรยกประเด็นมาอภิปรายแต่ละประเด็นให้ชัดเจนเป็นลำดับต่อเนื่องไป
9
ความคิดเห็นประกอบการอภิปราย
ความมั่นใจต่อผลการประเมิน พิจารณาในประเด็น - เกิดขึ้นจริงหรือไม่ - มีข้อจำกัดอะไรบ้าง - เป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่
10
ความคิดเห็นประกอบการอภิปราย
ผลจากการประเมินมีคุณภาพระดับใด พิจารณาในประเด็น - เปรียบเทียบระหว่างการมีและไม่มีโครงการ - เปรียบเทียบกับโครงการอื่น - ความพอใจของผู้บริหาร - ควรปรับปรุงหรือดัดแปลงโครงการในส่วนใด - ควรหยุดโครงการหรือทำต่อหรือขยาย โครงการ
11
ความคิดเห็นประกอบการอภิปราย
งบประมาณที่ใช้ พิจารณาในประเด็น - เหมาะสมและคุ้มค่ากับผลที่ได้รับหรือไม่ - ควรปรับปรุงในส่วนใด ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง เป็นความคิดเห็นที่เกี่ยวกับผลการประเมินในแง่มุมต่าง ๆ ดังเช่นที่ผู้ประเมินได้อภิปรายไว้แล้ว
12
ข้อเสนอแนะ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
เป็นการนำข้อสรุปจากสรุปผลการประเมินและอภิปรายผลการประเมินมาประมวลความคิดให้เป็นแนวทางที่เหมาะสม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เป็นข้อเสนอแนะสำหรับผู้บริหารเพื่อให้เกิดแนวทางการพัฒนาโครงการหรือเปลี่ยนแปลงโครงการในระดับนโยบาย
13
ข้อเสนอแนะ 2. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ
เป็นข้อเสนอแนะที่เน้นสำหรับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นแนวทางต่อการพัฒนาการปฏิบัติกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
14
การเขียนรายงานการประเมิน
15
ความสำคัญของรายงานการประเมินโครงการ
เป็นการโน้มน้าวให้ผู้เกี่ยวข้องนำผลการประเมินไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และทันการณ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. การรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary Report) 2. การรายงานเชิงเทคนิคสำหรับผู้ปฏิบัติ (Technical Report) 2.1 การรายงานประเมินความก้าวหน้า 2.2 การรายงานประเมินสรุปรวม 4/4/2019 Free template from
16
การรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร
เป็นรายงานเชิงสรุป สำหรับผู้บริหาร มีความยาวประมาณ 1-3 หน้า สั้น กระชับ ชัดเจน และโน้มน้าวให้ผู้บริหารตัดสินใจ มีผลในทางปฏิบัติให้มากที่สุด 4/4/2019 Free template from
17
Free template from www.brainybetty.com
รายงานเชิงเทคนิค การรายงานประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation Report) - เป็นรายงานระหว่างดำเนินโครงการ - ควรเน้นการรายงานสารสนเทศที่จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงโครงการ - เป็นระยะ ๆ ตามความเหมาะสม - อาจรายงานอย่างเป็นทางการ/ด้วยวาจา 4/4/2019 Free template from
18
Free template from www.brainybetty.com
รายงานเชิงเทคนิค 2. การรายงานประเมินสรุปรวม (Summative Evaluation Report) - เป็นรายงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ เพื่อตัดสินคุณค่าของโครงการในภาพรวม - ควรเน้นการรายงานสารสนเทศที่มีผลต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตของโครงการ - นอกจากผลประเมินแล้ว ควรแสดงถึงวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ว่าเที่ยงตรง น่าเชื่อถือและเหมาะสมอย่างไร 4/4/2019 Free template from
19
การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม
ความแตกต่างระหว่างการรายงานประเมินความก้าวหน้ากับรายงานประเมินสรุปรวม การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม จุดประสงค์ เพื่อแสดงผลของโครงการระหว่างดำเนินโครงการสำหรับนำผลไปใช้ในการปรับปรุงโครงการ เพื่อแสดงผลโดยสรุปรวมของโครงการทั้งหมดสำหรับตัดสินใจในการดำเนินโครงการ ระดับความเป็นทางการ (Tone) ไม่เป็นทางการ เกือบทั้งหมดเป็นทางการ แบบฟอร์ม (Form) เป็นลายลักษณ์อักษรวาจาอย่างไม่เป็นทางการ เป็นลายลักษณ์อักษรและอาจนำเสนอด้วยวาจา 4/4/2019 Free template from
20
การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม
ความแตกต่างระหว่างการรายงานประเมินความก้าวหน้ากับรายงานประเมินสรุปรวม การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม ความยาว (Length) ยืดหยุ่นได้ ยืดหยุ่นได้ โดยต้องมีรายละเอียดที่พอจะสรุปหรือช่วยในการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร ระดับความเฉพาะเจาะจง มีความเฉพาะเจาะจงสูงในประเด็นต่าง ๆ ของโครงการ มีความเฉพาะเจาะจงน้อยจะเน้นทุกประเด็นที่จะช่วยให้ตัดสินใจสรุปในภาพรวมได้ 4/4/2019 Free template from
21
โครงสร้างของรายงานการประเมิน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทนำ โครงการที่จะประเมิน วิธีการประเมิน สรุปผลการประเมิน สรุปและอภิปรายผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ 4/4/2019 Free template from
22
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ประกอบด้วย ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการที่จะประเมิน เหตุผลที่ประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมิน ผลประเมินที่สำคัญ ข้อเสนอเชิงนโยบาย อื่น ๆ เช่น มีการตัดสินใจใดบ้าง รายงานนี้สำหรับใคร ใครบ้างที่ควรสนใจรายงานนี้เพิ่มเติม ข้อจำกัดของการประเมิน 4/4/2019 Free template from
23
Free template from www.brainybetty.com
2. บทนำ ความเป็นมาของโครงการประเมิน ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล ความสำคัญของการประเมิน ผู้ใช้สารสนเทศการประเมิน จุดมุ่งหมายของการประเมิน ถ้าเป็นโครงการใหญ่อาจแบ่งเป็นวัตถุประสงค์ทั่วไป และวัตถุประสงค์เฉพาะ ขอบเขตของการประเมิน ประกอบด้วย จุดเน้นการประเมิน ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ช่วงเวลา 4/4/2019 Free template from
24
Free template from www.brainybetty.com
3. โครงการที่จะประเมิน ความเป็นมาของโครงการ ผู้รับผิดชอบและผู้ร่วมรับผิดชอบหรือผู้ให้ทุน (ถ้ามี) วัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมายของโครงการ การดำเนินงาน งบประมาณ ตัวชี้วัดและเกณฑ์ตัดสินความสำเร็จของโครงการ 4/4/2019 Free template from
25
Free template from www.brainybetty.com
4. วิธีการประเมิน ประเภทการประเมิน (Formative หรือ Summative) รูปแบบการประเมิน (ถ้ามี) ประเด็นการประเมิน ประกอบด้วย คำถามหลัก ตัวแปร ตัวชี้วัด และข้อมูลรายละเอียดที่ผู้ใช้ผลการประเมินควรทราบ และ/หรือ ต้องการทราบ เครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ขั้นตอนการกำหนด/เลือก/พัฒนา/สร้างเครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ประเภทข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล 4/4/2019 Free template from
26
Free template from www.brainybetty.com
4. วิธีการประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ เกณฑ์การตัดสินผลการประเมิน การรายงานผลการประเมิน อาจเป็นระยะ ๆ และสรุปรวม หรือสรุปรวมครั้งเดียว งบประมาณในการประเมิน แยกตามหมวด 4/4/2019 Free template from
27
Free template from www.brainybetty.com
5. สรุปผลการประเมิน ผลการประเมินตัวโครงการที่จะประเมิน ประกอบด้วย ความสอดคล้องของโครงการ ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของรายละเอียดโครงการ ความเป็นไปได้ ผลการประเมินการบริหารโครงการ เช่นเจ้าหน้าที่หรือผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนหรือไม่ กิจกรรมสำคัญ ๆ เกิดขึ้นจริงตามกำหนดเวลาหรือไม่ มีการปรับเปลี่ยนอย่างไรบ้าง 4/4/2019 Free template from
28
Free template from www.brainybetty.com
5. สรุปผลการประเมิน ผลการประเมินผลลัพธ์ของโครงการ ซี่งเป็นส่วนสำคัญที่สุด พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการประเมินผลที่ไม่ได้คาดหวังจากโครงการ ซึ่งนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งอาจได้จากการบอกเล่า วิจารณ์ เสนอข่าวจากแหล่งต่าง ๆ 4/4/2019 Free template from
29
6. สรุปและอภิปรายผลการประเมิน
สรุปผลการประเมิน อภิปรายผลการประเมิน - ควรเน้นอภิปรายความแน่ใจของผลที่เกิดจากโครงการว่ามีความจริงเพียงใด - ข้อจำกัดของการประเมินมีอิทธิพลต่อผลการประเมินหรือไม่อย่างไร 4/4/2019 Free template from
30
6. สรุปและอภิปรายผลการประเมิน
- เปรียบเทียบให้เห็นว่าการมีโครงการกับไม่มีโครงการได้ผลต่างกันอย่างไร - ควรปรับโครงการในด้านใดบ้าง/อย่างไร - ควรดำเนินการต่อไปหรือยกเลิกโครงการ - ความคุ้มค่าของโครงการโดยอาจเปรียบเทียบกับโครงการอื่น 4/4/2019 Free template from
31
Free template from www.brainybetty.com
7. ข้อเสนอแนะ ควรเสนอแนะในสิ่งที่เป็นไปได้ ประกอบด้วย 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทั้งจากผลโครงการโดยตรงและจากผลอื่น ๆ 2. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ ทั้งจากผลโครงการโดยตรงและจากผลอื่น ๆ 4/4/2019 Free template from
32
Free template from www.brainybetty.com
8. ส่วนประกอบอื่น ๆ ปกนอก ควรประกอบด้วย ชื่อโครงการที่จะประเมิน ผู้ประเมิน ผู้รับผลการประเมิน ระยะเวลารายงานการประเมิน บรรณานุกรม ภาคผนวก ได้แก่ รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือ หน้งสือติดต่อ สถิติ สูตรคำนวณ 4/4/2019 Free template from
33
เทคนิคการเขียนรายงาน
ควรเสนอรายงานเป็นระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ อาจใช้วิธีรายงานอย่างไม่เป็นทางการ ช่วยกระตุ้นความสนใจและทราบความเป็นไปของโครงการ เสนอรายงานอย่างถูกต้อง และพยายามนำเสนอจุดเด่นในการประเมินเพื่อแสดงให้เห็นว่าผลที่ได้ถูกต้องน่าเชื่อถืออย่างไร 4/4/2019 Free template from
34
เทคนิคการเขียนรายงาน
ควรเสนอรายงานให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เสนอให้ตรงเวลา เสนอผลการประเมินทางลบได้อย่างนุ่มนวล ควรใช้ตาราง แผนภาพ กราฟ 4/4/2019 Free template from
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.