ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
ระบบศาลยุติธรรมไทย โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
2
ศาลยุติธรรมไทยกับพระธรรมนูญศาลฯ
การจัดตั้งศาล เขตอำนาจศาล อำนาจหน้าที่ของศาลและผู้พิพากษา การใช้บังคับพระธรรมนูญ – รธน. และ พรบ.จัดตั้งศาล พระธรรมนูญในฐานะกรอบการการทำงานของศาล พระธรรมนูญในฐานะเครื่องแบ่งแยกคดีสู่ศาล
3
ระบบศาลยุติธรรมไทย เอกราชทางการศาล อันเนื่องมาจากสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง
การปรับปรุงระบบกฎหมายเพื่อยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต การปรับปรุงระบบศาลให้เป็นสากลมากขึ้น การสร้างผู้พิพากษาอาชีพ การเรียนกฎหมายในเนติบัณฑิตยสภา กับ มหาวิทยาลัย การแยกศาลยุติธรรมออกจากกระทรวงยุติธรรม
4
การแบ่งประเภทศาลยุติธรรม
ศาลธรรมดา - ศาลอาญา - ศาลแพ่งฯ ศาลพิเศษ – ใช้วิธีพิจารณาพิเศษ คือ ศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลชำนัญพิเศษ – ผู้พิพากษามีความรู้เชี่ยวชาญพิเศษ - ศาลแรงงาน -ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ - ฯลฯ
5
ชั้นของศาลกับระบบตรวจสอบ
พระธรรมนูญศาลยุติธรรมได้แบ่ง ศาลออกเป็น 3 ระดับ คือ ศาลชั้นต้น – ศาลแขวง ศาลจังหวัด ศาลแพ่ง ศาลอาญา ฯลฯ ศาลอุทธรณ์ – ศาลอุทธรณ์(ส่วนกลาง) ศาลอุทธรณ์ภาค ศาลฎีกา – มีแห่งเดียว แต่แบ่งออกเป็นหลายแผนก ศาลชำนัญพิเศษ พระธรรมนูญให้สถานะเทียบเท่าศาลอุทธรณ์ หากจะอุทธรณ์คดีให้อุทธรณ์ไปยังศาลฎีกาทันที คดีผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองให้ฟ้องต่อศาลฎีกาทันที การถวายฎีกานั้นทำได้เฉพาะกรณีโทษประหารชีวิต และยอมรับผิดแล้ว
6
อำนาจทั่วไปของศาล อำนาจทั่วไปของศาลในการรับคดี
การพิจารณาเนื้อหาสาระของคดีเบื้องต้นว่าเป็นคดีประเภทใด แยกคดี แพ่ง อาญา แรงงาน ล้มละลาย ภาษี ฯลฯ การกำหนดเกณฑ์ทั่วไปในการขึ้นสู่ศาลบางประเภท เช่น โทษอาญา ศาลแขวงไม่รับคดีที่มีมูลค่าเกินกว่า300,000 เกินกว่านั้นไปจังหวัด การพิจารณาเขตพื้นที่ของคดี เช่น จังหวัด กรุงเทพฯ เหนือ-ใต้ ศาลใดที่ไม่มีการบอกให้ขึ้นศาลพิเศษให้ขึ้นศาลชั้นต้นก่อนเสมอ
7
เขตอำนาจศาลในคดีแพ่งธรรมดา
เขตอำนาจในการรับคดีทั้งปวง เว้นคดีที่มีอาญาหลวง ปัจจุบันต้องดูว่า เว้น คดีทางปกครอง สัญญาทางปกครองด้วย คู่กรณี เอกชน-เอกชน หาข้อยุติเป็นการชดเชย การบังคับทรัพย์ การบังคับหนี้ เน้นการหาข้อยุติให้ได้ มีการอุดช่องว่างกฎหมาย มีกระบวนการอื่นเข้ามาเสริม – การไกล่เกลี่ย การประนีประนอมฯ
8
เขตอำนาจศาลในคดีอาญาธรรมดา
อำนาจทั่วไปในการรับคดีทั้งปวงที่มีโทษอาญา ปรับ ริบทรัพย์ กักขัง จำคุก ประหารชีวิต รวมถึงมาตรการเพื่อความปลอดภัย - ห้ามเข้าเขต ห้ามประกอบอาชีพ คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องอาญาก็ร้องขอต่อศาลได้ทันที คู่กรณี เอกชนเป็นผู้กระทำผิดหรือเสียหาย จากการกระทำของบุคคล มิใช่การกระทำในฐานะตัวแทนของรัฐ – คดีปกครอง รัฐเข้ามาแทรกระหว่างคู่กรณี เพื่อระงับข้อพิพาทอย่างสันติ ปัจจุบันมีการใช้กระบวนการยุติธรรมสมานฉันท์ ชุมชน มากขึ้น
9
เขตอำนาจศาลคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
รัฐธรรมนูญกำหนดเป็นพิเศษ คู่กรณีฝ่ายกระทำผิด คือ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ปัจจุบันขยายมาถึงนักการเมืองท้องถิ่นด้วย ป้องกันการยื้อ วิ่งเต้นคดี คดีเริ่มต้นและสิ้นสุดมีผลบังคับทันที ถ้าเป็นการดำเนินคดีเกี่ยวข้องกับพรบ.ป้องกันการฟอกเงิน การดำเนินคดีต่อทรัพย์สินให้ร้องไปยังศาลแพ่งฯ เท่านั้น
10
เขตอำนาจศาลคดีเยาวชนและครอบครัว
ทางอาญาจะเป็นคดีของเยาวชนเท่านั้น ส่วนแพ่งจะเป็นเรื่องครอบครัว ใช้กระบวนการวิธีที่เป็นพิเศษ มีผู้พิพากษาสมทบ วิธีการกำหนดโทษมีทางเลือก วิธีการดำเนินคดีจะมีลักษณะคุ้มครองสิทธิเด็กมาก การใช้กระบวนการทางสังคมอื่นๆเข้ามาช่วยเหลือ เป้าหมายคือ การฟื้นฟูเด็กกลับคืนสู่สังคม ลดข้อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นในชุมชน
11
เขตอำนาจศาลคดีแรงงาน
เกี่ยวกับคดีทางตาม พรบ.จัดตั้งศาลแรงงานฯ ใช้กระบวนการวิธีที่เป็นพิเศษ ใช้ระบบไตรภาคี มีผู้พิพากษาสมทบ มีตัวแทนนายจ้าง-ลูกจ้าง วิธีการกำหนดการเยียวยามีทางเลือก วิธีการดำเนินคดีจะมีลักษณะคุ้มครองสิทธิแรงงานมาก? การใช้กระบวนการทางสหภาพแรงงานเข้ามาช่วยเหลือ? เป้าหมายคือ การฟื้นฟูข้อพิพาทเพื่อให้กลับมาทำงานร่วมกันได้ ลดข้อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นในที่ทำงาน
12
เขตอำนาจศาลภาษีอากร เกี่ยวกับคดีทางตาม พรบ.จัดตั้งศาลภาษีฯ
ใช้กระบวนการวิธีที่เป็นพิเศษ มีผู้พิพากษาผู้ชำนัญพิเศษ วิธีการกำหนดการโทษมีเฉพาะ วิธีการดำเนินคดีจะมีลักษณะคุ้มครองสิทธิของรัฐในการจัดเก็บภาษี การใช้กระบวนการของสรรพากร เป้าหมายคือ การฟื้นฟูข้อพิพาทเพื่อให้กลับมาทำงานประกอบกิจการได้ ลดข้อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
13
เขตอำนาจศาลคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าฯ
เกี่ยวกับคดีทางตาม พรบ.จัดตั้งศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าฯ ทั้งทางแพ่งและอาญา ใช้กระบวนการวิธีที่เป็นพิเศษ มีระบบภาษาต่างประเทศ ใช้วิ.แพ่งฯด้วย มีผู้พิพากษาชำนัญพิเศษ วิธีการกำหนดการเยียวยามีทางเลือก การใช้กระบวนการทางเลือกเข้ามาช่วยเหลือ – อนุญาโตตุลาการ ฯลฯ เป้าหมายคือ การฟื้นฟูข้อพิพาทเพื่อให้กลับมาทำธุรกิจร่วมกันได้ ลดข้อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
14
เขตอำนาจศาลคดีล้มละลาย
เกี่ยวกับคดีทางตาม พรบ.จัดตั้งศาลแรงงาน ใช้กระบวนการวิธีที่เป็นพิเศษ ใช้ระบบฟื้นฟูลูกหนี้ มีผู้พิพากษาผู้ชำนัญพิเศษ วิธีการกำหนดการเยียวยามีทางเลือก วิธีการดำเนินคดีจะมีลักษณะคุ้มครองสิทธิผู้ประกอบการ? การใช้กระบวนการทางธุรกิจ(ปรับโครงสร้างหนี้) เข้ามาช่วยเหลือ? เป้าหมายคือ การฟื้นฟูข้อพิพาทเพื่อให้กลับมาทำงานธุรกิจ/ชำระหนี้ได้ ลดข้อพิพาทที่อาจเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
15
ระบบผู้พิพากษาในศาลยุติธรรม
ผู้พิพากษา – ทั่วไป ปกติ ผู้พิพากษาอาวุโส ผู้พิพากษาประจำศาล ดะโต๊ะยุติธรรม – คดีครอบครัวและมรดกทรัพย์สินในจังหวัดมุสลิม ผู้พิพากษาสมทบ – บุคคลภายนอก ระบบไตรภาคี
16
การวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
หลังจากรัฐธรรมนูญปี 2540 การตั้งศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ ต้องมีการชี้คดีที่มีเขตอำนาจเหลื่อมล้ำ จัดคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลขึ้น ประกอบด้วยตัวแทนจากศาลต่างๆ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร ชี้ขาดคดีก่อน นำไปสู่การนำคดีขึ้นศาล
17
มาตรการเสริม ยุติธรรมชุมชน ยุติธรรมสมานฉันท์ ไตรภาคี
ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การไกล่เกลี่ยโดยตำรวจ การสั่งระงับฟ้องของอัยการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.