ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
กองตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
2
เนื้อหา ความหมายและความสำคัญ บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ การปฏิบัติงาน
3
การตรวจสอบภายใน ความหมาย
การตรวจสอบภายใน หมายถึง กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่น และการให้คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมและเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้น เพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐให้ดีขึ้น การตรวจสอบภายในจะช่วยให้หน่วยงานของรัฐบรรลุถึงเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ด้วยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผล ของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกำกับดูแล อย่างเป็นระบบ ร่าง หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
4
ความสำคัญ เครื่องมือของผู้บริหารในการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนงานต่าง ภายในหน่วยงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด ช่วยผู้บริหารให้สามารถรับมือกับความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม สร้างความมั่นใจว่าการดำเนินงานจะบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ โดยการสอบทานประเมินกิจกรรมและให้คำปรึกษา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางปรับปรุงพัฒนางาน เป็นกลไกสำคัญต่อการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
5
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ตรวจสอบภายใน การให้ความเชื่อมั่น การให้คำปรึกษา ประเมินและปรับปรุง - ตรวจสอบ วิเคราะห์ ประเมินผล - ข้อเสนอแนะ/ ความคิดเห็น คำปรึกษา & คำแนะนำ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
6
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน ตรวจสอบ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ผู้ตรวจสอบภายใน Process Input Output / Outcome ทรัพยากร ระบบงาน การจัดการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มค่า ความเสี่ยง ควบคุม กำกับดูแล ข้อมูลสารสนเทศ ตรวจสอบ พิเศษ ตรวจสอบ ด้าน การเงินบัญชี การปฏิบัติงาน ตรวจสอบด้าน (ผล)การดำเนินงาน ตรวจสอบด้านข้อกำหนด - ตรวจสอบ - ให้คำปรึกษา สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
7
การให้ความเชื่อมั่น และ การให้คำปรึกษา
ขอบเขตงาน การให้ความเชื่อมั่น และ การให้คำปรึกษา Process Input Output / Outcome ความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดำเนินงาน การปฏิบัติถูกต้องตามข้อกำหนด ความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล การดูแลรักษาทรัพย์สิน ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพย์สิน
8
หน้าที่ความรับผิดชอบ
กำหนดเป้าหมาย ทิศทาง ติดตามผล กำหนดกฎบัตร หน้าที่ ความรับผิดชอบ ของผู้ตรวจสอบภายใน การรายงานผลการตรวจสอบ การประกันคุณภาพ การปฏิบัติงานตรวจสอบ จัดทำแผนการตรวจสอบ ให้คำปรึกษา / ประสานงาน / ปฏิบัติงานอื่น
9
รัฐมนตรีว่าการกระทรวง/
โครงสร้าง โครงสร้างและสายการบังคับบัญชาของผู้ตรวจสอบภายใน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง/ รัฐมนตรีช่วยฯ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดกระทรวง ผู้ตรวจสอบภายใน จังหวัด ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวง ราชการ ส่วนกลาง ที่ตั้ง ในภูมิภาค ราชการ บริหาร ส่วนภูมิภาค ราชการ บริหาร ส่วนท้องถิ่น อธิบดี อธิบดี ผู้ตรวจสอบภายใน กรม ผู้ตรวจสอบภายใน กรม สำนัก/กอง สำนัก/กอง สำนัก/กอง สำนัก/กอง ราชการส่วนกลาง ที่ตั้งในต่างประเทศ
10
กระดาษ ทำการ กระบวนการปฏิบัติงาน ( Internal Audit Process ) การวางแผน
การสำรวจข้อมูลเบื้องต้น กระดาษ ทำการ การสอบทานการประเมินผลระบบการควบคุมภายใน การประเมินความเสี่ยง การวางแผนการตรวจสอบ การวางแผนการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงาน ก่อนเริ่มการปฏิบัติงานตรวจสอบ ระหว่างการปฏิบัติงานตรวจสอบ เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานตรวจสอบ การจัดทำรายงานและการติดตามผล รายงานผลการปฏิบัติงาน การติดตามผล
11
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
การวางแผน ข้อมูลองค์กร ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการปฏิบัติ ตามข้อกำหนด ด้านการเงิน ด้านการบริหารความรู้ ประเมินความเสี่ยง วางแผนการตรวจสอบ วางแผนการปฏิบัติงาน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
12
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
การปฏิบัติงานตรวจสอบ แจ้งการตรวจสอบ วัตถุประสงค์ วันเวลา วิธีการตรวจสอบ รวบรวม วิเคราะห์และประเมิน บันทึก สรุปข้อมูล สรุปข้อเท็จจริง ข้อตรวจพบ สรุปผล ยืนยันผลการตรวจสอบ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
13
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
การรายงานและการติดตามผลการตรวจสอบ รายงานผลการตรวจสอบ สรุปผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ รายงานผลการติดตาม การปฏิบัติตาม ข้อเสนอแนะ/การสั่งการ การติดตามผลการตรวจสอบ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
14
คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายในที่ดี
ความรู้ในวิชาชีพตรวจสอบภายใน หลักการและเทคนิคการตรวจสอบ ระบบการบริหาร ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ติดตามวิวัฒนาการใหม่ ๆ อยู่เสมอ
15
คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายในที่ดี
คุณสมบัติส่วนตัว มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความตื่นตัว มีความอดทน มีมนุษยสัมพันธ์ มีไหวพริบ มีความสามารถในการสื่อสาร
16
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยการตรวจสอบภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ
การปฏิบัติงาน ตรวจสอบ ภายใน ภาครัฐ มาตรฐานการตรวจสอบภายใน สำหรับหน่วยงานของรัฐ คู่มือและแนวปฏิบัติ
17
หลักเกณฑ์การตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานตรวจสอบภายใน
โครงสร้างหลักเกณฑ์ หลักเกณฑ์การตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ คำนิยาม * การตรวจสอบภายใน * หน่วยงานของรัฐ * บุคลากรที่เกี่ยวข้อง * หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ความทั่วไป * สายการบังคับบัญชา * คุณสมบัติ * ความเป็นอิสระ * ความเที่ยงธรรม คณะกรรมการตรวจสอบ * หน้าที่และความรับผิดชอบ หน่วยงานตรวจสอบภายใน * ความรับผิดชอบตรวจสอบ หน่วยรับตรวจ * ขอบเขตงาน * การปฏิบัติตามมาตรฐาน * การปฏิบัติตามจรรยาบรรณ หน่วยรับตรวจ เบ็ดเตล็ด * การกำหนดมาตรฐาน/หลักเกณฑ์ ที่นอกจากที่กระทรวงการคลังกำหนด * การจัดทำคู่มือ/แนวปฏิบัติ * ปัญหาการปฏิบัติตามมาตรฐาน/หลักเกณฑ์ * การไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน/หลักเกณฑ์
18
บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
“คณะกรรมการบริหาร” หมายความว่า คณะกรรมการที่กำกับดูแลหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานของรัฐนั้น กรณีหน่วยงาน ของรัฐไม่มีคณะกรรมการบริหารให้หมายถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ “หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายจัดตั้งหน่วยงานของรัฐนั้น “ฝ่ายบริหาร” หมายความว่า ผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงานของรัฐ “คณะกรรมการตรวจสอบ” หมายความว่า คณะบุคคลซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ และประสบการณ์ด้านต่างๆ ทั้งจากภาครัฐและเอกชน โดยจะทำหน้าที่กำกับดูแลให้หน่วยงานของรัฐมีระบบการตรวจสอบภายใน ที่มีประสิทธิภาพ มีมาตรการการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่รัดกุม เพื่อให้การบริหารราชการโดยรวมเป็นไปอย่างโปร่งใส มีการบริหารจัดการที่ดี เป็นที่เชื่อถือแก่สาธารณชน
19
บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
“หน่วยงานตรวจสอบภายใน” หมายความว่า หน่วยงาน ที่รับผิดชอบงานตรวจสอบภายในของหน่วยงานของรัฐ “หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน” หมายความว่า ผู้ดำรงตำแหน่งสูงสุดในหน่วยงานตรวจสอบภายใน “ผู้ตรวจสอบภายใน” หมายความว่า ผู้ดำรงตำแหน่งผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานของรัฐ หรือดำรงตำแหน่งอื่นที่ทำหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานของรัฐ “หน่วยรับตรวจ” หมายความว่า หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ
20
จรรณยาบรรณการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ
แนบท้ายหลักเกณฑ์ จรรณยาบรรณการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการยกฐานะและศักดิ์ศรีของวิชาชีพตรวจสอบภายใน ให้ได้รับการยกย่อง และยอมรับจากบุคคลทั่วไป รวมทั้งให้การปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายในเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ตรวจสอบภายในจึงต้องพึงประพฤติปฏิบัติตนภายใต้กรอบ ความประพฤติที่ดีงาม ในอันที่จะนำมาซึ่งความเชื่อมั่นและให้คำปรึกษา อย่างเที่ยงธรรมเป็นอิสระ และเปี่ยมด้วยคุณภาพ
21
จรรณยาบรรณการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ
แนวปฏิบัติ ๑. หลักปฏิบัติที่กำหนดในจรรณยาบรรณการตรวจสอบภายใน เป็นหลักการพื้นฐานในการปฏิบัติหน้าที่ที่ผู้ตรวจสอบภายในพึงปฏิบัติ โดยใช้สามัญสำนึก และวิจารณญาณอันเหมาะสม ๒. ผู้ตรวจสอบภายในควรประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบจรรยาบรรณนี้ นอกเหนือจากการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ และกฎหมายหรือหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้อง
22
จรรณยาบรรณการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ
หลักปฏิบัติ ๓.๑ ความซื่อสัตย์ (Integrity) ความซื่อสัตย์ของผู้ตรวจสอบภายใน จะสร้างให้เกิดความไว้วางใจและทำให้ดุลยพินิจของผู้ตรวจสอบภายใน มีความน่าเชื่อถือและยอมรับจากบุคคลทั่วไป ๓.๒ ความเที่ยงธรรม (Objectivity) ผู้ตรวจสอบภายในจะแสดงความเที่ยงธรรมเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพในการรวบรวมข้อมูล ประเมินผล และรายงานด้วยความไม่ลำเอียง ผู้ตรวจสอบภายในต้องทำหน้าที่อย่างเป็นธรรมในทุกๆ สถานการณ์ และไม่ปล่อยให้ความรู้สึกส่วนตัวหรือความรู้สึกนึกคิดของบุคคลอื่นเข้ามามีอิทธิพลเหนือการปฏิบัติงาน ๓.๓ การปกปิดความลับ (Confidentiality) ผู้ตรวจสอบภายในจะเคารพ ในคุณค่าและสิทธิของผู้เป็นเจ้าของข้อมูลที่ได้รับทราบจากการปฏิบัติงาน และไม่เปิดเผยข้อมูลดังกล่าว โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ที่มีอำนาจหน้าที่โดยตรงเสียก่อน ยกเว้น ในกรณีที่มีพันธะในแง่ของงานอาชีพและเกี่ยวข้องกับกฎหมายเท่านั้น ๓.๔ ความสามารถในหน้าที่ (Competency) ผู้ตรวจสอบภายในจะนำความรู้ทักษะและประสบการณ์ มาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่
23
ความซื่อสัตย์ ความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร ความรับผิดชอบ
ความซื่อสัตย์ ขยันหมั่นเพียร ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ เปิดเผยข้อมูล ไม่เข้าไปเกี่ยวข้อง/มีส่วนร่วม การกระทำใดๆที่ขัดต่อกฎหมาย อาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียต่อวิชาชีพ ให้ความเคารพและสนับสนุน การปฏิบัติตามกฎหมาย จรรยาบรรณของทางราชการ
24
ความเที่ยงธรรม ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง/สร้างความสัมพันธ์ใดๆ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของทางราชการ ไม่มีอคติ ลำเอียง ไม่พึงรับสิ่งของใดๆ เปิดเผย/รายงานข้อเท็จจริง
25
การปกปิดความลับ ความรอบคอบในการใช้/รักษาข้อมูลที่ได้จาก การตรวจสอบ ไม่นำข้อมูลไปแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเอง
26
ความสามารถในหน้าที่ ปฏิบัติงานด้วยความรู้ ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์ ยึดหลักมาตรฐานการตรวจสอบภายในของ ส่วนราชการ พัฒนาศักยภาพของตนเอง พัฒนาประสิทธิผล และคุณภาพของงาน
27
มาตรฐานการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ
โครงสร้างมาตรฐาน มาตรฐานการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ มาตรฐานด้านคุณสมบัติ 1000 วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ 1100 ความเป็นอิสระและความเที่ยงธรรม 1200 ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวังรอบคอบ 1300 การประกันและการปรับปรุงคุณภาพงาน มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน 2000 การบริหารงานตรวจสอบภายใน 2100 ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน 2200 การวางแผนการปฏิบัติงาน 2300 การปฏิบัติงาน 2400 การรายงานผลการตรวจสอบ 2500 การติดตามผล 2600 การยอมรับสภาพความเสี่ยงของฝ่ายบริหาร
28
มาตรฐานด้านคุณสมบัติ
๑๐๐๐ วัตถุประสงค์ อำนาจหน้าที่ และ ความรับผิดชอบ ๑๐๑๐ การแสดง การยอมรับภารกิจงานตรวจสอบภายใน ตามที่ปรากฏ ในกฎบัตร การตรวจสอบภายใน ๑๑๐๐ ความเป็นอิสระและ ความเที่ยงธรรม ๑๑๑๐ ความเป็นอิสระภายในหน่วยงาน ๑๑๒๐ ความเที่ยงธรรมของผู้ตรวจสอบภายใน ๑๑๓๐ ข้อจำกัด ของความเป็นอิสระหรือความเที่ยงธรรม ๑๒๐๐ ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ๑๒๑๐ ความเชี่ยวชาญ ๑๒๒๐ ความระมัดระวังรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ ๑๒๓๐ การพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ๑๓๐๐ การประกันและการปรับปรุงคุณภาพงาน ๑๓๑๐ การประเมินการประกันและปรับปรุงคุณภาพงาน ๑๓๒๐ การรายงานผลการประเมินการประกันและปรับปรุงคุณภาพงาน
29
มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน
๒๐๐๐ การบริหารงานตรวจสอบภายใน ๒๐๑๐ การวางแผน การตรวจสอบ ๒๐๒๐ การเสนอและอนุมัติแผนการตรวจสอบ ๒๐๓๐ การบริหารทรัพยากร ๒๐๔๐ นโยบายและวิธีการปฏิบัติงาน ๒๐๕๐ การประสานงานและการใช้ผลการปฏิบัติงานของผู้อื่น ๒๐๖๐ การรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐและคณะกรรมการตรวจสอบ (ถ้ามี) ๒๐๗๐ ผู้ให้บริการตรวจสอบจากภายนอกและความรับผิดชอบของหน่วยงานของรัฐ ๒๑๐๐ ลักษณะของงานตรวจสอบภายใน ๒๑๑๐ การกำกับดูแล ๒๑๒๐ การบริหารความเสี่ยง ๒๑๓๐ การควบคุม ๒๒๐๐ การวางแผนการปฏิบัติงาน ๒๒๑๐ การกำหนดวัตถุประสงค์ ๒๒๒๐ การกำหนดขอบเขตการปฏิบัติงาน ๒๒๓๐ การจัดสรรทรัพยากร ๒๒๔๐ แนวทางการปฏิบัติงาน ๒๓๐๐ การปฏิบัติงาน ๒๓๑๐ การระบุข้อมูล ๒๓๒๐ การวิเคราะห์และประเมินผล ๒๓๓๐ การจัดเก็บข้อมูล ๒๓๔๐ การกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ๒๔๐๐ การรายงานผลการตรวจสอบ ๒๔๑๐ หลักเกณฑ์ในการรายงานผลการตรวจสอบ ๒๔๒๐ คุณภาพของรายงานผลการตรวจสอบ ๒๔๓๐ การระบุข้อความการปฏิบัติงานเป็นไปตามหลักเกณฑ์มาตรฐานและจรรยาบรรณการตรวจสอบภายใน ๒๔๔๐ การเผยแพร่ผลการตรวจสอบ ๒๔๕๐ การให้ความเห็นในภาพรวม ๒๕๐๐ การติดตามผล ๒๖๐๐ กายอมรับสภาพความเสี่ยงของฝ่ายบริหาร
30
ปัจจัยความสำเร็จ ตัวผู้ตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระ และความเที่ยงธรรม
ความเป็นอิสระ และความเที่ยงธรรม ความเชี่ยวชาญ และความระมัดระวังรอบคอบ การประกันคุณภาพ และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 1. คุณสมบัติ 2. การปฏิบัติงาน การบริหารงานตรวจสอบภายใน กระบวนการปฏิบัติงาน ความมีจุดยืนที่มั่นคง ความเที่ยงธรรม การปกปิดความลับ ความสามารถในหน้าที่ 3. จริยธรรม 4. อื่นๆ ความมีมนุษยสัมพันธ์ การทำงานเป็นทีม
31
ปัจจัยความสำเร็จ สถานภาพของผู้ตรวจสอบภายใน
1. ผู้ตรวจสอบภายในมีหน้าที่เสนอแนะเป็นที่ปรึกษา ( Staff Function ) 2. ขึ้นตรงกับผู้บริหารสูงสุด คือ รับคำสั่งและรายงานต่อผู้บริหารโดยไม่ต้อง ผ่านผู้หนึ่งผู้ใดที่จะทำให้เกิดผลกับผู้ตรวจสอบภายใน ดังนี้ - สิทธิที่จะเข้าถึง - เสรีภาพในการตรวจสอบ (อิสระ) - การไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย
32
ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหาร หน่วยรับตรวจ บุคลากร/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้บริหาร หน่วยรับตรวจ 1. ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดี 2. สร้างบรรยากาศที่ดี ให้โอกาสเข้าร่วมประชุม ให้ความร่วมมือ 3. ให้การสนับสนุน - ปรับปรุงระบบการติดต่อสื่อสารภายในให้เข้าถึงผู้ตรวจสอบภายใน - กำหนดกรอบอัตรากำลังให้เหมาะสมกับภารงาน - ระดับตำแหน่งให้เหมาะสม ไม่ต่ำกว่าหัวหน้าหน่วยงานที่เป็นหน่วยรับตรวจ
33
ปัจจัยความสำเร็จ หน่วยรับตรวจ อำนวยความสะดวกและให้ความร่วมมือ
จัดให้มีระบบการจัดเก็บเอกสาร จัดเตรียมรายละเอียดแผนงาน งาน โครงการ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง จัดเตรียมรายงานทางการเงิน และจัดเก็บ เอกสารประกอบรายการบัญชีให้เรียบร้อย เป็นปัจจุบัน ชี้แจงตอบข้อซักถาม ปฏิบัติตามข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะ
34
การดำเนินการต่อเนื่อง
ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหารระดับสูง กำหนดนโยบาย สนับสนุนงานตรวจสอบ เช่น โครงสร้าง ทรัพยากร บุคคล งบประมาณ เป็นต้น พัฒนาความรู้ให้ทันสมัย มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ให้ความเชื่อมั่นและให้ คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรม ปัจจัยความสำเร็จ ให้ความร่วมมือ ยอมรับงานตรวจสอบ ภายใน การดำเนินการต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่ในองค์กร
35
การตรวจสอบภายในภาคราชการ
ผู้ประเมินที่มีความรู้ฯ & อิสระ ประเมินอย่างน้อยทุกๆ 5 ปี องค์กรภายนอก/ผู้สอบทานอิสระ การตรวจสอบภายในภาคราชการ การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน ความรู้ & มาตรฐานการตรวจสอบภายใน CAE สายตรวจ กำกับดูแล ประเมินตนเอง องค์กร หน่วยงานตรวจสอบภายใน ภายนอก ภายนอก มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
36
Q & A ขอบคุณและสวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.