งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2 จุดเน้นที่ 3 ยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา “การทดสอบ การประเมิน การประกันคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา”
สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

3 การปฏิรูประบบการประเมิน
และการประกันคุณภาพการศึกษา ความสอดคล้องของ Quality code/มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพภายในที่ง่ายและชัดเจน การพัฒนา Self Assessment Report ของสถานศึกษา การซักซ้อมและทำความเข้าใจกับระบบการประเมินแนวใหม่ (Peer review/Expert judgement) แก่สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง การกำหนดวิธีการได้มาของผู้ประเมิน การอบรมและพัฒนาผู้ประเมิน

4 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ
กลุ่มพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อ.เพ็ญนภา แก้วเขียว อ.ผ่องศรี พรรณราย

5 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สพฐ
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายใน (จัดพิมพ์คู่มือประเมินคุณภาพภายใน และคู่มือ SAR ตามกรอบมาตรฐานฯ ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ให้แก่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30,000 เล่ม) พัฒนามาตรฐานของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน จำนวน ๓,๐๐๐ คน ตามมาตรฐานและการประเมินแนวใหม่ จัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานและการประเมินคุณภาพแนวใหม่ เพื่อเตรียมความพร้อมสถานศึกษาที่จะเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (รุ่นแรก) จำนวน ๗,๐๘๙ แห่ง จัดสรรงบประมาณให้เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อวิจัยและพัฒนาระบบการประเมินและประกันคุณภาพฯ ระดับเขตพื้นที่ (จำนวน 40 เขต) จัดสรรงบประมาณติดตามตรวจสถานศึกษา จำนวน 30,893 แห่ง (สังกัด สพป. สพม.และ สศศ.) พัฒนาเครื่องมือและกระบวนการติดตามตรวจสอบฯ ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อกำกับติดตามการบริการจัดการคุณภาพและมาตรฐาน 125 เขตพื้นที่ พัฒนาความสามารถและทักษะด้านคุณภาพและมาตรฐานแก่บุคลากรระดับเขตพื้นที่ จำนวน 220 คน พัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาด้วยระบบ ONLINE พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา พัฒนาระบบการประเมินเพื่อคัดเลือกนักเรียนและสถานศึกษาเพื่อรับรางวัลพระราชทาน พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการจบการศึกษา

6 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559)

7 สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

8 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา (ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

9 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบระดับชาติ ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทำงานตามช่วงชั้น 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม

10 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.1 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านทุก กลุ่มเป้าหมายและดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม 2.2 การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.3 การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ 2.4 การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณภาพ ๓. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มี คุณภาพและได้มาตรฐาน ๔. การกำกับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา

11 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
รายละเอียดมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม 2. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น 3. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น

12 แนวทางการดำเนินงานหลังจากมีประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 อ้างถึง หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04004/ว62 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2559 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แจ้งให้สถานศึกษาดำเนินการ ดังนี้ 1. สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใช้มาตรฐานฯ ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 เป็นกรอบในการวางแผน และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา - การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา - การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการฯ (วิเคราะห์ความเชื่อมโยงของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ได้ดำเนินการตามกรอบมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ฉบับใหม่ ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาภายใต้กรอบ 4 มาตรฐาน) - การจัดทำ SAR

13 แนวทางการดำเนินงานหลังจากมีประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 (ต่อ) 2. สถานศึกษาควรดำเนินการสื่อสารและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสาระสำคัญของมาตรฐานการศึกษาฯ 3. สถานศึกษาควรวิเคราะห์และทบทวนความสอดคล้องและความเชื่อมโยงของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่ใช้อยู่เดิมกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ฉบับใหม่ฯ *** อาจกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้ โดยสะท้อนถึงอัตลักษณ์ จุดเน้นของสถานศึกษา และนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ***

14 แนวทางการดำเนินงานหลังจากมีประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 (ต่อ) 5. ให้ประกาศมาตรฐานและค่าเป้าหมายให้กลุ่มผู้เกี่ยวข้องรับทราบ และจัดทำเป็นประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการลงนามในประกาศโดยผู้บริหารสถานศึกษาและให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รับรู้ร่วมกัน 6. ให้มีการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กำหนด

15 16 หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐาน เป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญของผู้ประเมิน (expert judgment) มีเป้าหมายการประเมินเพื่อการพัฒนา เป็นการประเมินคุณภาพที่เน้นการประเมินตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา (Evidence based) ลดภาระการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารที่ไม่จำเป็นในการประเมิน มีความน่าเชื่อถือ และสามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษานั้นๆ เลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม และสะท้อนคุณภาพการดำเนินงานตามมาตรฐานของสถานศึกษาได้อย่างชัดเจน ตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (peer review) โดยเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่กำหนดไว้ ผู้ประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้าน และวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในคณะกรรมการผู้ประเมิน เพื่อการตัดสินให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด

16 16 หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้องตรวจสอบและประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาที่แท้จริง ผู้ทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาดำเนินการประเมินคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาและประเด็นที่กำหนด ให้ความสำคัญกับการประเมินเชิงคุณภาพ แต่ก็ยังอาศัยการประเมินเชิงปริมาณ การตัดสินคุณภาพของสถานศึกษาให้ใช้เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือกระบวนการที่ไม่แยกส่วนหรือแยกองค์ประกอบในการกำหนดคะแนนประเมิน แต่เป็นการประเมินในภาพรวมของผลการดำเนินงานหรือกระบวนการดำเนินงานในภาพรวม (Holistic Rubrics) แจ้งผลการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการศึกษา และสรุปและเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment)

17 นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและต้นสังกัด
16. หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาสรุปและจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลสำเร็จของการบริหารจัดการศึกษา นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและต้นสังกัด เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกตามแนวทางการประกันคุณภาพภายใน

18 ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษากับ
ระบบบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาด้วยระบบ ONLINE กระบวนการพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐาน การพัฒนาระบบเครือข่ายและการบริหารจัดการคุณภาพ การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพฯ การพัฒนาระบบการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ระบบการพัฒนาครู การพัฒนาระบบนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล ฯลฯ สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด 1.การประเมิน คุณภาพภายใน 2.การ ติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพ การศึกษา 3.การ พัฒนา คุณภาพ การศึกษา การ ประกัน คุณภา พ การศึก ษา ระบบบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาด้วยระบบ ONLINE ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง องค์กรภายนอก

19 ระบบบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาด้วยระบบ ONLINE
2.ครอบคลุมคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา 4.มีอิสระในการนำเสนอข้อมูลผลการดำเนินงานของตนเอง 6.สะดวกและง่ายในการบันทึกและนำเสนอข้อมูล 7.มีคู่มือหรือแนวปฏิบัติเพื่อการใช้งานอย่างชัดเจน 3.สะท้อนผลการดำเนินงานทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ 1.สอดคล้องกับหลักการและแนวทางการประเมินและการประกันคุณภาพภายในแนวใหม่ 5.เชื่อมต่อข้อมูลสารสนเทศในทุกระดับที่ใช้

20 ระบบบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาด้วยระบบ ONLINE
คู่มือการใช้งานระบบฯ หรือ คู่มือการนำข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นเข้าสู่ระบบฯ โครงสร้างของคู่มือฯ ระดับผู้ใช้งานของระบบฯ (สพฐ. + เขตพื้นที่การศึกษา + สถานศึกษา)

21 ความก้าวหน้าเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา
 การประกันคุณภาพใน สถานศึกษา  การประเมินภายนอก

22 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย   เตรียมจัดประชุมปฏิบัติการปรับมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (4 มาตรฐาน) เพื่อนำเสนอ - สภาปฏิรูปการศึกษา - คณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา ของ สพฐ. - คณะที่ปรึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ - คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ. (กพฐ.) - รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ลงนาม  คาดว่าจะดำเนินการให้แล้วเสร็จทันปีการศึกษา 2560

23 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 เอกสารเพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ การศึกษา   เอกสารแนวทางการประเมินคุณภาพภายในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน  เอกสารแนวทางการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) เอกสารทั้ง 2 ฉบับข้างต้น กำลังอยู่ในช่วงของจัดจ้าง พิมพ์คาดว่าจะส่งถึงเขตพื้นที่การศึกษา ประมาณปลายเดือน ธันวาคม 59 ถึงต้นมกราคม 60 เพื่อจัดส่งไปยังสถานศึกษา  เอกสารชุดการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา  เอกสารติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดย หน่วยงานต้นสังกัด

24 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 การเขียนรายงานประจำปี (SAR)   เขียนรายงานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ประกาศใหม่ (4 มาตรฐาน)  เขียนรายงานในรูปแบบใหม่ (สั้น กระชับ) ตาม แนวทางที่ สพฐ. กำหนด (จะมีเอกสารส่งให้ทุกสถานศึกษาช่วงต้นเดือน มกราคม 2560)  การชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับ มาตรฐานใหม่   โอนงบประมาณให้ศึกษาธิการจังหวัดจัดประชุมชี้แจง เกี่ยวกับมาตรฐานและ การประเมินภายนอกแนวใหม่ ให้แก่สถานศึกษาที่เข้ารับการประเมินภายนอก รอบ 4 รุ่นแรก

25 การประกันคุณภาพในสถานศึกษา
 การพัฒนาบุคลากร ปีงบประมาณ   การอบรมเพื่อพัฒนาผู้ประเมินคุณภาพภายใน ตาม แนวทางการประเมินแนวใหม่ - Formative assessment - Expert Judgment based assessment - Evidence based assessment - Peer Review - Holistic Rubric for Judgment

26 การประเมินภายนอก  แนวทางการประเมินภายนอก (ปีการศึกษา )  คณะอนุกรรมการยุทธศาสตร์ ของคณะกรรมการ พัฒนาระบบประกันคุณภาพระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพพ.) ได้ประชุมเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนางานประกัน คุณภาพภายนอกของ สมศ. ในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน มีข้อสรุปสำคัญดังต่อไปนี้ (เป็นข้อสรุปเบื้องต้นที่ยังไม่ผ่านการรับรองอย่างเป็น ทางการ) CR: FB Jiraprawat Sriwattanasub

27 การประเมินภายนอก  มาตรฐานและตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินภายนอก ที่ เป็นมาตรฐานขั้นต่ำ ใช้มาตรฐานและประเด็นตัว บ่งชี้ เหมือนกับมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพ ภายในของกระทรวงศึกษาธิการ ที่ประกาศใช้เมื่อ 11 ตุลาคม 2559 โดย (1) สมศ.จะมีการกำหนด Red Zone Indicators หรือ Critical Indicators ที่ถือเป็นตัวบ่งชี้สำคัญที่ สถานศึกษาจะบกพร่องไม่ได้ ถ้าบกพร่องในตัวบ่งชี้ สำคัญ จะได้รับการจัดอันดับคุณภาพไม่เกินระดับ พอใช้/ปานกลาง(เกรด C)

28 การประเมินภายนอก Red Zone Indicators หรือ Critical Indicators
 สถานศึกษาระดับปฐมวัย/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวอย่างเช่น (1) สิ่งแวดล้อมปลอดภัย ความปลอดภัยด้าน อาคาร สถานที่ เครื่องเล่น ระบบรถรับส่ง ฯลฯ (2) ความปลอดภัยด้านอาหาร (3) ความปลอดภัยด้านโรคภัยตามฤดูกาล และ (4) ความปลอดภัยด้านสุขภาพจิต ความอบอุ่นใน ชีวิต การไม่ตี ข่มขู่ ฯลฯ

29 การประเมินภายนอก Red Zone Indicators หรือ Critical Indicators
 สถานศึกษาระดับประถมศึกษา ตัวอย่างเช่น (1) ทักษะการอ่านเก่ง/จับใจความได้ของนักเรียน ชั้น ป.3 และ การเป็นนักอ่านของนักเรียนชั้น ป.4 เป็นต้นไป (2) ความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาเด็กบกพร่องหรือ กลุ่มเรียนช้า(ถ้ามี) (3) ความมีวินัยและความสามารถในการดูแล ตนเองของนักเรียนชั้น ป.5-6

30 การประเมินภายนอก Red Zone Indicators หรือ Critical Indicators
 สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตัวอย่างเช่น (1) นิสัยรักการอ่าน-การอ่านแบบสะสมไมล์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (2) ความพยายามในการแก้ปัญหาเด็กอ่านไม่ออก หรือไม่คล่องหรือเรียนช้า (3) ความรับผิดชอบต่อครอบครัวของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

31 การประเมินภายนอก (2) จะมีการกำหนดตัวชี้วัดที่เปิดโอกาสให้สถานศึกษา พัฒนาตนเองให้มี ความเป็นเลิศเฉพาะทาง เช่น ความเป็นเลิศด้านการ พัฒนาเยาวชนตามเกณฑ์มาตรฐาน ได้แก่ ด้านกีฬา ด้านจิตสาธารณะและรับผิดชอบต่อสังคม ด้านทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านทักษะการ คิดวิเคราะห์-คิดสังเคราะห์ ด้านทักษะชีวิต ฯลฯ... สถานศึกษามีโอกาสได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นเลิศ ทางใดทางหนึ่งหรือหลายทาง เป็นความโดดเด่นที่ พร้อมสำหรับการพิสูจน์ ตรวจสอบและเผยแพร่สู่ สาธารณชน

32 การประเมินภายนอก  การกำหนดน้ำหนักคะแนนในการประเมินภายนอก ให้ความสำคัญกับมาตรฐานด้านผลการจัดการศึกษา หรือผลที่ปรากฏต่อนักเรียน (กำหนดน้ำหนักคะแนน ด้านคุณภาพหรือพัฒนาการของผู้เรียนมากกว่าร้อยละ ของคะแนนเต็ม) ทั้งนี้ การให้น้ำหนักคะแนนจะ ปรากฏเป็น 2 ส่วน คือ 1) การแจงนับร้อยละของเด็กที่ประสบความสำเร็จระดับ ดี-ดีมาก (Absolute Model) 2) การแจงนับร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการสูง เมื่อ เทียบกับฐานเดิมตอนแรกรับ (Growth Model)

33 การประเมินภายนอก  การใช้ Advocacy Model หรือการเสริมแรงเชิง บวก ด้วยการชื่นชม ยินดี ประกาศเกียรติคุณ สถานศึกษาที่โดดเด่นเฉพาะทาง หรือหลายทาง หรือโดดเด่นในภาพรวม จำแนกตามแผนที่ภูมิศาสตร์ หรือตามภูมิภาค เพื่อประชาชนได้ร่วมชื่นชมและใช้ บริการ รวมทั้งการประกาศเกียรติคุณ เขตพื้นที่ การศึกษา หรือ อปท. เทศบาล หรือต้นสังกัดที่มี คุณภาพสูงระดับพรีเมียม(สีเขียว) ทุกระยะ 1 ปี (โดยในชั้นต้นจะใช้ข้อมูลจากผลการประเมินรอบที่ เป็นข้อมูลในการจำแนกระดับคุณภาพและประกาศ เกียรติคุณ)

34 การประเมินภายนอก  คณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพพ.) และ สมศ.จะใช้ กลไกการสรุปและจัดทำรายงานการประเมิน ภายนอก เป็นระยะ ๆ ในลักษณะของบทสรุป สำหรับผู้บริหาร(Executive Report) เสนอต่อ สาธารณะชน เครือข่ายผู้ปกครองแห่งประเทศไทย และต่อกรรมการ นโยบายการศึกษา(Supper Board) เป็นระยะ ๆ เพื่อร่วมให้ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนางานต่อเนื่อง

35 การประเมินภายนอก  การพัฒนาผู้ประเมินภายนอกให้มีความเชี่ยวชาญ มีศักยภาพสูง ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ผู้ประเมินภายนอกถือเป็นกลุ่มบุคลากรที่สำคัญที่มี บทบาทในการทำงานร่วมกับ สมศ. ที่จะต้องได้รับ การเสริมสร้างสมรรถนะให้มีศักยภาพสูง และเติม เต็มความรู้ ทักษะร่วมสมัยอย่างต่อเนื่อง

36 สวัสดีครับ


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google