ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสริตา ชินวัตร ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
เส้นทางความก้าวหน้าในวิชาชีพ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
ของการเป็นอาจารย์ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
2
หน้าที่ของอาจารย์มหาวิทยาลัย
สอน วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
3
1. การสอน กระบวนการต่างๆ 1. การเตรียมการสอน 2. การสอนในห้องเรียน
3. การออกข้อสอบและตรวจข้อสอบ 4. การให้คำปรึกษาและชี้แนะแก่นักศึกษา เป็นหน้าที่ที่สาคัญที่สุด ซึ่งประกอบไปด้วยกระบวนการต่างๆ เช่น การเตรียมการสอน การทบทวนในสาขาวิชาที่สอน การบรรยายในชั้นเรียน การออกข้อสอบ และตรวจข้อสอบ ต้องเข้าอบรมการวัดผลประเมินผล ที่ม.ของท่านจัดให้ การให้คำปรึกษาและชี้แนะแก่นักศึกษา ร่วมเป็น อ. ที่ปรึกษา ศึกษากฎระเบียบต่างๆ ในการศึกษาของนิสิตนักศึกษา ใส่ใจ
4
มคอ. และ TQF ย่อมาจากอะไร?
มคอ.: กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ TQF: HEd Thai Qualifications Framework for Higher Education
5
ส่วนประกอบ ของ มคอ. มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา มคอ.2 มาตรฐานคุณวุฒิกับรายละเอียดของหลักสูตร มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.5 รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา มคอ.6 รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม มคอ.7 รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร
6
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)
สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้งจาก การเรียนในห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง สาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย ต้องมีการเพิ่มความละเอียดและความสำคัญในแต่ละระดับคุณวุฒิ
7
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)
สกอ.กำหนดให้ครอบคลุมอย่างน้อย 5 ด้าน (domains) 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ความด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย (สำหรับสาขา/สาขาวิชาที่เน้นทักษะทางปฏิบัติ)
8
https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info
9
https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info
21st Century Skills Learning outcomes Evaluation
10
Learning and Innovative Skills
11
Information, Media and Technology Skills
12
Life and Career Skills
13
Core Subjects and 21st Century Themes
14
https://21centuryedtech.wikispaces.com/21+Century+Info
CHANGES
15
แนวทางในการเปลี่ยนแปลงของการเรียนการสอน
ปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว Information ที่มากมาย Technology ที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว สังคม ที่ปรับไปตามความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจที่ปรับตัวเข้าสู่ลักษณะของ Global & Knowledge-Based Economy สภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม
17
2. การวิจัย อาจารย์ทุกคนต้องทำงานวิจัย ขอทุนทำวิจัย: ทุนภายใน/ภายนอก
เป็นนักวิจัยที่ดี ส่งรายงานทุนตามกำหนดเวลา นำเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการทั้งระดับชาติ/นานาชาติ ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสาร ไม่ทำการโจรกรรมผลงาน (plagiarism) เป็นหน้าที่อีกอย่างหนึ่งที่ละเลยไม่ได้ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและตนเอง ขอทุน เช่น ทุนคณะ ทุนมหาวิท. ทุนสกว (ทุนหลังปริญญาเอก) การตีพิมพ์ ระวัง หลีกเลี่ยง plagiarism หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบ เหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง สำหรับผู้เขียนที่ประสงค์ที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหาการลอกเลียนงานของตัวเองเมื่อจะเขียนงาน ใหม่ ควรอย่างยิ่งที่จะพยายามปฏิบัติตามแนวทางที่ดีที่สุดต่อไปนี้ 1. แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด - อ้างไว้ในบทนำว่างานใหม่หรือส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร 2. ต้องให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด (เช่น งานเดิมของตนอาจเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ ฯลฯ) 3. อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่
18
2. การวิจัย Basic research - องค์ความรู้ใหม่ (impact factor, citation)
Applied research - new inventions (patent : หิ้งสู่ห้าง; bench to bedside) สู่ชุมชน – พัฒนาคุณภาพชีวิต (หิ้งสู่ชุมชน) เป็นหน้าที่อีกอย่างหนึ่งที่ละเลยไม่ได้ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานและตนเอง ขอทุน เช่น ทุนคณะ ทุนมหาวิท. ทุนสกว (ทุนหลังปริญญาเอก) การตีพิมพ์ ระวัง หลีกเลี่ยง plagiarism หมายถึง การลอกงานเขียน ความคิดหรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบ เหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง สำหรับผู้เขียนที่ประสงค์ที่จะหลีกเลี่ยงประเด็นปัญหาการลอกเลียนงานของตัวเองเมื่อจะเขียนงาน ใหม่ ควรอย่างยิ่งที่จะพยายามปฏิบัติตามแนวทางที่ดีที่สุดต่อไปนี้ 1. แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด - อ้างไว้ในบทนำว่างานใหม่หรือส่วนของงานใหม่ได้รวมงานเดิมไว้ด้วยอย่างไร 2. ต้องให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด (เช่น งานเดิมของตนอาจเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ ฯลฯ) 3. อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่
19
3. บริการวิชาการ เป็นอาจารย์/วิทยากร พิเศษ
เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม นอก ม. จัดโครงการอบรมต่างๆ (ช่วยภาควิชา, คณะ) การทำงานเพื่อรับใช้สังคม
20
4. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
เข้าร่วมงานต่างๆ ที่ทำนุบำรุงประเพณีที่ดีงาม งานไหว้ครู งานตักบาตร งานสงกรานต์ อื่นๆ
21
การขอตำแหน่งวิชาการ
22
หลักเกณฑ์การพิจารณาแต่งตั้งในดำรงตำแหน่งวิชาการ
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ผลการสอน ผลงานทางวิชาการ จริยธรรมและจรรยาบรรณ
23
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง
ผ.ศ. ป ตรี ป โท 5 ปี ป.เอก, วุฒิบัตร 2 ปี หลักสูตร 4 ปี -- 9 ปี 5 ปี--- 7 ปี 6 ปี--- 5 ปี ร.ศ ผ.ศ ปี ศ ร.ศ ปี
24
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง
ผ.ศ. ป ตรี ป โท 3 ปี ป.เอก, วุฒิบัตร ทันทีที่ผ่านการประเมิน หลักสูตร 4 ปี -- 7 ปี 5 ปี--- 5 ปี 6 ปี--- 3 ปี ร.ศ ผ.ศ ปี ศ ร.ศ ปี
25
งานที่ใช้ขอตำแหน่งวิชาการ
งานสอน งานทางวิชาการ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ
26
งานสอน มีชั่วโมงสอนประจำรายวิชา ต้องเป็นวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน ที่ ใช้ประกอบการสอนมาแล้วตามภาระงานสอน กรณีร่วมกันสอนเสนอทุกหัวข้อที่สอน
27
เอกสารสำหรับงานสอน เอกสารประกอบการสอน -- ผ.ศ. เอกสารคำสอน -- ร.ศ./ ศ.
28
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน
แผนการสอน วัตถุประสงค์ วิธีการสอน กิจกรรม การประเมินผล หนังสืออ้างอิง เนื้อหา
29
งานทางวิชาการ งานวิจัย (ที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งในของการศึกษาเพื่อรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรใด) งานวิชาการรับใช้สังคม(ผลงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติหน้าที่ตาม ภาระงานซึ่งสถาบันอุดมศึกษาหรือคณะวิชาให้ความเห็นชอบ และได้รับการเผยแพร่ตาม เกณฑ์ที่ ก.พ.อ. กำหนด รวมทั้งได้รับการรับรองการใช้ประโยชน์ต่อสังคม โดยปรากฏผล ที่สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรมโดยประจักษ์ต่อสาธารณะ) งานทางวิชาการในลักษณะอื่นๆ ตำรา/หนังสือ/บทความทางวิชาการ
30
ผลงานทางวิชาการ ตำแหน่งวิชาการ ผลงานวิจัย ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตำรา หนังสือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คุณภาพ ดี หรือ + บทความทางวิชาการ คุณภาพดี รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์ แบบที่ ๑ ดีมาก แบบที่ ๒ คุณภาพดีเด่น ดีเด่น
31
งานวิจัย คำนิยาม รูปแบบ
32
คุณภาพ
36
ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น
คำนิยาม
37
รูปแบบ
38
การเผยแพร่
39
คุณภาพ
40
บทความทางวิชาการ คำนิยาม รูปแบบ
41
การเผยแพร่
42
หนังสือ คำนิยาม รูปแบบ
43
การเผยแพร่
44
ตำรา คำนิยาม
45
รูปแบบ
46
การเผยแพร่
47
คุณภาพ
48
การมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการ
49
การมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการ
50
การมีส่วนร่วมในผลงานวิชาการ
51
แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมในผลงานทางวิชาการ
□ บทความทางวิชาการ □ ตำรา □ หนังสือ ■ งานวิจัย □ ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ชื่อเรื่อง ……………………………………………………………………………………. ตีพิมพ์ในวารสารชื่อ ………………………………. เล่มที่ หน้า ……….. ปีค.ศ. ………… ผู้ร่วมงาน จำนวน ……… คน แต่ละคนมีส่วนร่วมดังนี้ ลงชื่อ………………………………………………… ลงชื่อ ชื่อผู้ร่วมงาน ปริมาณงานร้อยละ หน้าที่ความรับผิดชอบ ………………. ……… ผู้ร่วมวิจัย ทำงานวิจัยในส่วน ………. และรวบรวม data แปลผล อภิปรายผล …….. ………………….. หัวหน้าโครงการ รับผิดชอบงานวิจัย วางแผน อภิปรายผล และเตรียมต้นฉบับเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่
52
จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ
53
จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ
54
เอกสารผลงาน แบบ กพอ 03 เอกสารประกอบการสอน/คำสอน
ข้อมูลของผู้ขอรับประเมินผลการสอน เอกสารรับรองภาระงานสอน แบบรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการ
55
ผู้ขอมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ปกติ วิธีพิเศษ ผู้ขอมีคุณสมบัติต่างไป เช่น
วิธีปกติ/วิธีพิเศษ วิธีปกติ ผู้ขอมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ปกติ วิธีพิเศษ ผู้ขอมีคุณสมบัติต่างไป เช่น ระยะเวลาไม่ครบ เสนอขอข้ามขั้น หรือเปลี่ยนสาขา
61
ขอให้โชคดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.