ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยสมจิต พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560
2
เนื้อหานำเสนอ - เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนฯ 3 เรื่อง - ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนฯ 6 ตัว - การประเมินทุนหมุนเวียนตามเกณฑ์กระทรวงการคลัง - การบริหารงบประมาณ งบบริหาร สนง.เลขาฯ - การใช้จ่ายเงินทุนหมุนเวียน - การใช้จ่ายเงินอุดหนุน 9 สิงหาคม 2560
3
เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
1.การรับสมัครสมาชิกประเภทบุคคลธรรมดา - จังหวัดบุรีรัมย์ เป้าหมาย จำนวน 60,155 คน - ผลงาน 34,080 คน ร้อยละ อำเภอที่ครบตามเป้าหมาย 9 อำเภอ - อำเภอที่ยังไม่ครบตามเป้าหมาย 14 อำเภอ - ผลการดำเนินงานระดับประเทศ อันดับที่ 42 9 สิงหาคม 2560
4
เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
2.การรับสมัครสมาชิกประเภทองค์กร - จังหวัดบุรีรัมย์ เป้าหมาย จำนวน 46 องค์กร - ผลงาน 133 องค์กร ร้อยละ อำเภอที่ครบตามเป้าหมาย 23 อำเภอ - ผลการดำเนินงานระดับประเทศ อันดับที่ 13 9 สิงหาคม 2560
6
เป้าหมายการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
3.การบริหารหนี้ค้างชำระตามสัญญาลดลงร้อยละ 60 - หนี้ค้างชำระระหว่างปี จำนวน 10,540,127 บาท - ผลงานการเก็บหนี้ จำนวน 6,324, ร้อยละ 60 - ผลการดำเนินงานระดับประเทศ อันดับที่ 38 9 สิงหาคม 2560
7
ตัวชี้วัดผลผลิตของแผนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. 2560 - 2564
หน่วยนับ ฐานข้อมูล 2559 ค่าเป้าหมาย หน่วย งาน 2560 2561 2562 2563 2564 1. จำนวนโครงการที่กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีอนุมัติได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ โครงการ 1,500 (46) 3,000 4,500 6,000 7,000 สกส./จังหวัด/กทม. 2. จำนวนกลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา กลุ่ม 1,520 3. จำนวนผู้นำสตรีได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต ราย 54,000 (1,450) 4. จำนวนผลิตภัณฑ์ของสตรีได้รับการพัฒนา เป็น OTOP ผลิตภัณฑ์ 295 (5) 5. จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มี ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน 878 (23) 6. ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักการบริหารกองทุนผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด คะแนน 4 Page 22
8
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 1จำนวนโครงการที่กองทุนฯอนุมัติได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ - เป้าหมาย จว. 46 กลุ่ม อำเภอละ 2 กลุ่ม - อำเภอที่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย 8 อำเภอ สามารถจัดตั้งกลุ่มอาชีพและเครือข่ายอาชีพได้ ได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ หมายถึง การได้รับการส่งเสริมอาชีพและเครือข่ายอาชีพ จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี หรือจากหน่วยงานหรือบุคคลอื่น 9 สิงหาคม 2560
9
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 2 จำนวนกลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา คำจำกัดความ กลุ่มอาชีพสตรี หมายถึง กลุ่มอาชีพที่ได้กู้เงินจากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปดำเนินกิจกรรม และได้ขึ้นทะเบียนกลุ่มอาชีพสตรีในระบบคลังข้อมูลอาชีพของกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี การได้รับการพัฒนา หมายถึง กลุ่มอาชีพสตรี ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ด้านการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ ฯลฯ เป้าหมายระดับจังหวัด จำนวน 35 กลุ่ม กระจายเป้าหมาย อำเภอละ 2 กลุ่ม จำนวน 12 อำเภอ สามารถดำเนินการได้ Page 24
10
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 2 กลุ่มอาชีพสตรีได้รับการพัฒนา (ต่อ) - เป้าหมาย จว. 35 กลุ่ม อำเภอละ 2 กลุ่ม - ผลการดำเนินงาน อำเภอกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนที่โอนเงินแล้ว จำนวน 12 อำเภอ จำนวน 68 โครงการ ทุกโครงการต้องจัดตั้งกลุ่มอาชีพ (มีกลุ่มใหม่+กลุ่ม OTOPเดิม) - ภารกิจสำนักงานเลขาฯ รายงานผลการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ - อำเภอที่ยังไม่มี : สนับสนุนสมาชิกกู้ยืมทุนหมุนเวียน 9 สิงหาคม 2560
11
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผู้นำสตรีได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพชีวิต คำจำกัดความ ผู้นำสตรี หมายถึง อาสาสมัครผู้ประสานงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีหมู่บ้าน/ชุมชน คณะทำงาน ขับเคลื่อนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีทุกระดับ คณะกรรมการกลุ่มอาชีพสตรีที่ขึ้น ทะเบียนกับกองทุนฯ คณะกรรมการสมาชิกประเภทองค์กรสตรี การพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการ หมายถึง การบริหารจัดการของกลุ่ม องค์กร ของสตรี ให้มีประสิทธิภาพ การพัฒนาศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การพัฒนาตนเองด้านทักษะชีวิต ด้านสุขภาวะ อนามัย ด้านสวัสดิการชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ Page 25
12
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนผู้นำสตรี(อาสาสมัคร/คณะทำงานขับเคลื่อนตำบล/กลุ่มอาชีพ) ได้รับการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการและคุณภาพชีวิต (ต่อ) - เป้าหมายระดับจังหวัด จำนวน 1,450 คน - เป้าหมาย อำเภอละ คน - ผลการดำเนินงาน สามารถพัฒนาอาสาสมัคร/คณะทำงานขับเคลื่อนตำบล จากงบบริหารการฝึกอบรมต่างๆ จำนวน 4,479 คน ร้อยละ ผลการดำเนินงานผ่านตัวชี้วัดทุกอำเภอ 9 สิงหาคม 2560
13
ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 4 จำนวนผลิตภัณฑ์สตรีของได้รับการพัฒนาเป็น OTOP คำจำกัดความ ผลิตภัณฑ์ของสตรี หมายถึง ผลิตภัณฑ์ของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ที่ได้รับเงินกู้จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีไปประกอบอาชีพ การพัฒนาเป็น OTOP หมายถึง ผลิตภัณฑ์สตรี ที่ได้รับการพัฒนาและสามารถ นำไปขึ้นทะเบียนเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP กับกรมการพัฒนาชุมชน (กรณี ปีที่ไม่มีการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์ OTOP ให้ยกเว้นการประเมินตัวชี้วัดในปีนั้น) หมายเหตุ จังหวัดขนาดเล็ก จังหวัด จำนวน 3 ผลิตภัณฑ์ จำนวน ผลิตภัณฑ์ จังหวัดขนาดกลาง 22 จังหวัด จำนวน 4 ผลิตภัณฑ์ จำนวน ผลิตภัณฑ์ จังหวัดขนาดใหญ่ 21 จังหวัด จำนวน 5 ผลิตภัณฑ์ จำนวน ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งสิ้น ผลิตภัณฑ์ Page 26
14
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 4 จำนวนผลิตภัณฑ์ของสตรีได้รับการพัฒนาเป็น OTOP - เป้าหมายทั้งหมด 5 ผลิตภัณฑ์ - เป้าหมาย อำเภอละ 1 ผลิตภัณฑ์ - ผลการดำเนินงาน อำเภอกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนที่โอนเงินแล้ว จำนวน 12 อำเภอ ต้องสนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพทุกโครงการ และเกิดผลิตภัณฑ์ OTOP ใหม่ อย่างน้อยอำเภอละ 1 ผลิตภัณฑ์ - ภารกิจสำนักงานเลขา : สนับสนุนสมาชิกกู้ยืมทุนหมุนเวียน จัดตั้งกลุ่มอาชีพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์กลุ่มอาชีพเป็น OTOP 9 สิงหาคม 2560
15
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 5 จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน คำจำกัดความ ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ หมายถึง กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุนต่าง ๆในชุมชน บริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัด และภาคีการพัฒนาภาครัฐ เอกชน ประชาชน จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุน หมายถึง กลุ่มอาชีพที่สมาชิกกองทุนกู้เงินประเภททุนหมุนเวียนของกองทุนไปประกอบอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ กลุ่มองค์กรสตรีที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนประเภทอุดหนุน สำหรับการพัฒนาศักยภาพสตรี เครือข่ายสตรี องค์กรสตรี ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และเฝ้าระวังปัญหาของสตรี การสนับสนุน หมายถึง การสนับสนุนกิจกรรมของสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี เช่น ด้านงบประมาณ ด้านวิชาการ ด้านการตลาด ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้านการจัดการความรู้ ฯลฯ Page 27
16
ตัวชี้วัดผลผลิตยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ตัวชี้วัดที่ 5 จำนวนกลุ่มของสมาชิกกองทุนที่มีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้การสนับสนุน จำนวน 23 กลุ่ม - เป้าหมาย อำเภอละ 1 กลุ่ม - ผลการดำเนินงาน อำเภอกู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนที่โอนเงินแล้ว จำนวน 12 อำเภอ สนับสนุนให้มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ และประสานงานขอรับการสนับสนุนจากภาคีเพื่อพัฒนากลุ่ม - ภารกิจสำนักงานเลขา : สนับสนุนสมาชิกกู้ยืมทุนหมุนเวียน การจัดตั้งกลุ่ม และประสานภาคีสนับสนุน 9 สิงหาคม 2560
17
การประเมินผลทุนหมุนเวียนตามเกณฑ์กระทรวงการคลัง
( 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด) เป้าหมายต้องผ่านเกณฑ์ ระดับค่าคะแนนเฉลี่ย 4.6 ตัวชี้วัดที่ 6 ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักการบริหารกองทุนผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามที่ กรมบัญชีกลางกำหนด คำจำกัดความ เกณฑ์มาตรฐานตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด หมายถึง เกณฑ์การประเมินผลทุนหมุนเวียนที่กรมบัญชีกลางกำหนดในแต่ละปีงบประมาณ ซึ่งจะประกอบด้วย เกณฑ์การประเมินผล 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านการปฏิบัติการ ด้านการบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักเต็ม 5 คะแนน Page 28
18
การประเมินผลทุนหมุนเวียนตามเกณฑ์กระทรวงการคลัง
( 4 ด้าน 11 ตัวชี้วัด) เป้าหมายต้องผ่านเกณฑ์ ระดับค่าคะแนนเฉลี่ย 4.6 1.1 ร้อยละการชำระคืนเงินกู้ยืมที่ค้างชำระ ได้เกินกว่าร้อยละ 60 ระดับค่าคะแนน 5 (บุรีรัมย์ผ่านเกณฑ์) 1.2 ร้อยละการให้กู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนเทียบกับแผนที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ต้องได้จำนวน 58 ล้านบาท จึงได้ระดับค่าคะแนน ความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสีย คือสมาชิกที่กู้ยืมเงินทุนหมุนเวียนทุกคน ดำเนินการเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 เป้าหมายระดับค่าคะแนน การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังกำหนด เป้าหมายระดับค่าคะแนน 5 (กรมฯ ยังไม่แจ้งเกณฑ์) 3.2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายระดับค่าคะแนน 5 (กรมฯกำหนดกระบวนการ จว.แจ้งเวียนอำเภอ มีเอกสารแนบในการประชุมวันนี้ : จะอธิบายเป็นการเฉพาะ) อีก 6 ตัวชี้วัด เป็นการดำเนินการระดับจังหวัด และส่วนกลาง 9 สิงหาคม 2560
19
การบริหารงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน
1.การเบิกจ่ายงบบริหารกองทุนฯ - วงเงินงบประมาณ ทั้งหมด 5,326,620 บาท - ผลการเบิกจ่าย 3,199,496 บาท ร้อยละ การเบิกจ่ายเงินทุนหมุนเวียน - เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 96 ต้องได้จำนวน 58 ล้านบาท จึงได้ระดับค่าคะแนน 5 - ผลการดำเนินงาน 9,449,700 บาท ร้อยละ การเบิกจ่ายเงินอุดหนุน - เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 96 จำนวน 4,800,000 บาท จึงได้ระดับค่าคะแนน 5 - ผลการดำเนินงาน ยังไม่มีการเบิกจ่าย สรุป.- ผลการเบิกจ่ายรวมทั้ง 3 ประเภท 12,649,196 บาท ร้อยละ อันดับที่ 41 ระดับประเทศ 9 สิงหาคม 2560
20
การบริหารงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน
ภารกิจมอบหมาย 1.การเบิกจ่ายงบบริหารกองทุนฯ - ให้ประมาณการค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกได้เสร็จสิ้นภายวันที่ 15 กันยายน 2560 และรายงานจังหวัด ภายในวันที่ 9 สิงหาคม การเบิกจ่ายเงินทุนหมุนเวียน - ทุกอำเภอจัดเสนอโครงการฯ ให้ครบวงเงินที่จัดสรรฯ ผ่านการกลั่นกรองตามระบบทุกขั้นตอนและเอกสารครบถ้วน สมบูรณ์ ส่งถึงจังหวัดภายในวันที่ 25 สิงหาคม การเบิกจ่ายเงินอุดหนุน - - ทุกอำเภอจัดเสนอโครงการฯ ให้ครบวงเงินที่จัดสรรฯ ผ่านการกลั่นกรองตามระบบทุกขั้นตอนและเอกสารครบถ้วน สมบูรณ์ ส่งถึงจังหวัดภายในวันที่ 25 สิงหาคม 2560 9 สิงหาคม 2560
21
ข้อทักท้วง ข้อสังเกต การดำเนินงาน
1.ผู้แทนคณะทำงานขับเคลื่อนตำบล ที่เป็นตัวแทนอำเภอ บางอำเภอไม่ได้เชิญ เข้าร่วมประชุมกับคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง ระดับอำเภอ ทำให้ไม่ทราบกระบวนการพิจารณาโครงการมาจากระดับอำเภอ ไม่สามารถชี้แจง อธิบาย ตอบข้อซักภาม โครงการของอำเภอตนเองกับคณะทำงานขับเคลื่อนระดับจังหวัดได้ 2. ผู้แทนคณะทำงานขับเคลื่อนตำบล ที่เป็นตัวแทนอำเภอ บางอำเภอ ไม่มีประสบการณ์ในการจัดทำเอกสาร ตรวจสอบเอกสาร การพิจารณากลั่นกรอง เพื่อขอกู้ยืมเงินมาเลย เนื่องจากในพื้นที่ตำบล ตนเอง ไม่ได้มีโครงการเสนอขอกู้ยืมเงิน ไม่ได้จัดให้มีสถานการณ์ กรณีศึกษา เพื่อเพิ่มทักษะความรู้ 3.พัฒนากร ที่รับผิดชอบในเชิงพื้นที่ตำบล บางตำบลไม่ได้ทำหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษา ตามโครงสร้างกลไกการดำเนินงานของกองทุนฯ 4.กพสจ.จัดเสนอโครงการขอรับเงินอุดหนุน 200,000 บาท เพื่อพัฒนา คณะทำงานขับเคลื่อนตำบล ๆ ละ 3 คน ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานกองทุนฯ การขี้ยนโครงการ จัดทำเอกสาร วิเคราะห์โครงการ บริหารโครงการ บริหารหนี้ ติดตาม 9 สิงหาคม 2560
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.