งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี
การประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ ๔/๒๕๕๓ วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี

2 วาระที่ ๑.๑ สรุปเนื้อหาการประชุมกลุ่มเสวนา Quality Assurance Forum ครั้งที่ ๒/๒๕๕๓ วันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๓ (ร่าง) มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนน การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ ) เป็นเอกสารที่ใช้ประกอบการประเมินนำร่องการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3 กับ 6 สถาบันอุดมศึกษา คำนิยามของสถาบันอุดมศึกษากลุ่มที่ ค(2) สถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่มสาขาวิชาในระดับปริญญาตรี ประเมินและวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน รวมทั้งการประยุกต์ความรู้เพื่อการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเฉพาะทางหรือเฉพาะกลุ่มสาขาวิชา เพื่อตอบสนองภาคการผลิตทั้งภาคอุตสาหกรรมและบริการ

3 กลุ่มสาขาวิชาแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ คณะวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และเกษตรศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้แก่ คณะวิชาบริหาร พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์ ศิลปศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา การคำนวณค่าคะแนนระดับสถาบัน ใช้ผลรวมค่าคะแนนของทุกคณะรวมกัน หารด้วย จำนวนคณะทั้งหมด

4 มาตรฐานที่ 1 : ด้านคุณภาพบัณฑิต – เอกสารหน้า 4
ตัวบ่งชี้ 1.1 ร้อยละบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี ผลรวมของจำนวนบัณฑิต ป.ตรี ที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ = ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา 3 ปีย้อนหลัง * 100 ผลรวมของจำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 3 ปีย้อนหลัง ทุกกลุ่มสาขาวิชา มีร้อยละที่กำหนดเป็น 5 คะแนน คือ ร้อยละ 100 สูตรที่ใช้คำนวณค่าคะแนน = ร้อยละของผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ * 5 ร้อยละผลการดำเนินงานที่กำหนดเป็น 5 คะแนน(ในที่นี้คือ 100) = 2, , ,700 * = 88.89% = * = 4.45 คะแนน 3, , ,

5 มาตรฐานที่ 2 : ด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ – เอกสารหน้า 6
ตัวบ่งชี้ 2.1 ร้อยละงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติหรือนานาชาติ ผลรวมของจำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ = ในระดับชาติและระดับนานาชาติ 3 ปีปฏิทินย้อนหลัง * 100 อาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำทั้งหมด 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง(ไม่รวมลาศึกษาต่อ) กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีร้อยละที่กำหนดเป็น 5 คะแนน คือ ร้อยละ 20 มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ร้อยละ 10 สูตรที่ใช้คำนวณค่าคะแนน = ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ * 5 ร้อยละผลการดำเนินงานที่กำหนดเป็น 5 คะแนน คณะวิทย์ = * = 30.91% = * = = 5 คะแนน

6 วาระที่ ๑.๒ สรุปเนื้อหาการประชุมกลุ่มเสวนา Quality Assurance Forum ครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ วันศุกร์ที่ ๒ เมษายน ๒๕๕๓ สรุปเนื้อหาการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบสาม หลังจากที่มีการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่องแล้ว ระดับการประเมิน ระดับวิทยาเขต และวิทยาคาร ระดับคณะวิชา ระดับสถาบัน ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน – ข้อมูลเฉลี่ยย้อนหลัง 3 ปี ตาม(ร่าง)คู่มือฯ คะแนนที่ได้ = (ข้อมูลปีที่ 1 + ปีที่ 2 + ปีที่ 3) / 3 ตามสูตรของผู้ประเมิน คะแนนที่ได้ = (คะแนนปีที่ 1 + ปีที่ 2 + ปีที่ 3) / 3

7 ปัญหาที่พบในการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่อง
ตัวบ่งชี้ 1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับ ป.ตรีที่ได้งานทำฯ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวบ่งชี้ 1.2 ร้อยละของบัณฑิตระดับ ป.ตรีที่สอบใบประกอบวิชาชีพในครั้งแรก สาขาวิชาวิศวกรรม และสาขาวิชาสถาปัตยกรรม ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ในทันที/คณะตามข้อมูลได้ยาก เพราะมีการสอบได้หลายครั้งใน 1 ปี ตามความพร้อมของแต่ละคน คณะและสถาบันที่ไม่มีตัวบ่งชี้ 1.2 นำค่าน้ำหนักไปรวมกับตัวบ่งชี้ที่ 1.2 (ทำให้ต้องประเมินมาตรฐานที่ 1 ด้วย 1 ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ระดับคุณภาพของบัณฑิตระดับ ป.ตรีตาม TQF ไม่สามารถนำมาวัดได้ทันในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกรอบ 3 สมศ. พิจารณาเพิ่มตัวบ่งชี้ 1.4 – 1.6 ให้กับสถาบันกลุ่ม ค(2) และปรับค่าน้ำหนักใหม่ (เอกสารหน้า 2) รวมทั้ง พิจารณาเพิ่มตัวบ่งชี้ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

8 ปัญหาที่พบในการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่อง
ตัวบ่งชี้ 2.1 ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับรับการตีพิมพ์ฯ (เอกสารหน้า 2) มีการให้ค่าน้ำหนักคุณภาพของงานวิจัยฯ ตามฐานข้อมูลที่ สกอ. ยอมรับ (เอกสารภาคผนวก ก) ตัวบ่งชี้ 2.2 ร้อยละของงานวิจัยฯ ที่นำมาใช้ประโยชน์ หมายถึงการนำมาใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย เชิงพาณิชย์ เชิงสาธารณะเท่านั้น และต้องแสดงหลักฐานของหน่วยงานที่นำไปใช้ประโยชน์ด้วย ทั้งนี้ ไม่รวมงานวิจัยฯ ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน ตัวบ่งชี้ 2.3 ร้อยละของผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ หมายถึงผลงานวิชาการในเชิงตำรง หรือบทความวิชาการ ฯลฯ ที่ไม่ได้มาจากงานวิจัย และไม่สามารถนำไปจดลิขสิทธิ์ได้ มีการให้ค่าน้ำหนักของผลงานวิชาการ (เอกสารหน้า 3)

9 ปัญหาที่พบในการประเมินสถาบันอุดมศึกษานำร่อง
มาตรฐานที่ 4 ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (เอกสารหน้า 3) ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมพัฒนาและการจัดการอุตสาหกรรมสร้างสรรค์บทพื้นฐานศิลปะและมรดกทางวัฒนธรรมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน ได้รับการพิจารณาให้ตัดออก ตัวบ่งชี้ 4.1 – 4.2 ผอ.สมศ. รับพิจาณาตัวบ่งชี้และเกณฑ์ใหม่ มาตรฐานที่ 6 ด้านประกันและพัฒนาคุณภาพสถาบัน (เอกสารหน้า 3) ตัวบ่งชี้ 6.2 – 6.3 ผอ.สมศ. รับพิจาณารวมให้เป็น 1 ตัวบ่งชี้ การตัดสินผลการประเมิน 3 ประเภท ไม่รับรองมาตรฐาน รับรองมาตรฐาน รับรองมาตรฐานแบบ outstanding

10 การรับรองมาตรฐานศูนย์จัดการศึกษานอกที่ตั้ง (เอกสารหน้า 3)
แม่สะเรียง นำข้อมูลผลการดำเนินงานกับ วิทยาลัยบริหารศาสตร์ ภูเก็ต __________..___________ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ม.แม่โจ้-ชุมพร ประเมินเทียบเท่าคณะ ตามกลุ่มสาขาวิชามนุษย์และสังคม ม.แม่โจ้-แพร่ฯ _________,,__________,,__________วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การรับรองมาตรฐานระดับคณะ (เอกสารหน้า 4) ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักรวมในมาตรฐานที่ 1 – 4 อยู่ในระดับดีขึ้นไป (ค่าเฉลี่ย 3.75) ______________,,______________ 1 – 6 _______,,____________,,_____) ______________,,______________ _______,,____________,,_____) ไม่มีมาตรฐานใดมีผลการประเมินอยู่ในระดับปรับปรุงหรือต้องปรับปรุง

11 การรับรองมาตรฐานระดับสถาบัน (เอกสารหน้า 4)
คณะทั้งหมดต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน การรับรองมาตรฐานแบบ outstanding หรือเป็น Best Practice (เอกสารหน้า 4) คณะทั้งหมดต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน ผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 – 4 อยู่ในระดับดีมาก มีการปฏิบัติที่ดี หรือมีนวัตกรรมในด้านที่เป็นจุดเน้นของสถาบัน มีฐานะทางการเงินที่มั่นคง มีบรรยากาศทางวิชาการ มีภูมิทัศน์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้เหมาะกับการเป็นสถาบันอุดมศึกษา

12 วาระที่ ๑.๓ โครงการฝึกอบรมหลักสูตรประธานผู้ประเมินคุณภาพ ภายในของสถาบันอุดมศึกษา วันที่ ๗-๘ มิถุนายน ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้แจ้งให้ผู้สนใจทราบถึงโครงการฝึกอบรมหลักสูตรประธานผู้ประเมินคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษา โดยใช้หลักสูตรของ สกอ. วันที่อบรม 7-8 มิถุนายน 2553 สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ค่าลงทะเบียน 2,000 บาท แบบตอบรับ ไปยังคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ภายในวันที่ 27 พฤษภาคม 2553

13 ผู้เข้าร่วมสัมมนา : นางกมลวรรณ เปรมเกษม และ น.ส.ธัญลักษณ์ สินเปียง
วาระที่ ๑.๔ สรุปเนื้อหาการสัมมนาเรื่อง เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ องค์ความรู้สู่ ภูมิภาค หลักสูตร “Top Management Forum : TQM” วันที่ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง ผู้เข้าร่วมสัมมนา : นางกมลวรรณ เปรมเกษม และ น.ส.ธัญลักษณ์ สินเปียง เนื้อหา

14 วาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ครั้งที่ ๓/๒๕๕๓ วันอังคารที่ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓

15 องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และผลการดำเนินงาน
วาระที่ ๓.๑ การติดตามผลการพัฒนาอันเนื่องจากการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๑ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และผลการดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ และกองแผนงาน ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 1. ควรเน้นการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวบ่งชี้ชีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2552 มีการติดตามผลการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม ที่ได้บรรจุไว้ในแผนฯ รอบ 6 เดือนและ 9 เดือน จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2552 เพื่อนำเสนอที่ประชุมผู้บริหารในภาพรวมทั้งปี

16 องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการฯ / สำนักบริหารและพัฒนา / กองแผนงาน / กองการเจ้าหน้าที่ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรกำหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย์ด้านการวิจัยในชั้นเรียนให้เป็นรูปธรรม ควรหาสาเหตุและวางแนวทางแก้ไขการได้เงินเดือนเริ่มต้นต่ำกว่าเกณฑ์ มีการดำเนินการจัดทำ (ร่าง)แผนกลยุทธ์แนวทางพัฒนาการทำงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย พ.ศ งานวิจัยสถาบัน กองแผนงาน ได้ทำการสุ่มโทรศัพท์สอบถามผู้สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2551 ถึงสาเหตุ พบว่า 1)เพื่อหาประสบการณ์ระหว่างการรองานให้ที่ดีขึ้น 2)เป็นลูกจ้างชั่วคราวในสถานประกอบการขนาดเล็กหรือใกล้บ้าน 3)เพื่อใช้วันหยุดศึกษาต่อ

17 ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 3. ควรจัดจำแผนเชิงกลยุทธ์และหรือมาตรการให้อาจารย์มีคุณวุฒิและตำแหน่งวิชาการเพิ่มขึ้น 4. ควรเร่งปรับปรุงทุกหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาและสาขาวิชาชีพ มีการปรับปรุงเงื่อนไขการลาศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงาน ค่าตอบแทนในการจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ งานวิจัย การเพิ่มวุฒิการศึกษา สนับสนุนให้ทุนการศึกษา มีการดำเนินการจัดอบรมสัมมนา เรื่อง - การพัฒนาหลักสูตรตาม TQF - การจัดทำรายละเอียดหลักสูตร และหลักสูตร รายวิชาศึกษาทั่วไปตาม TQF มีการจัดทำผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 5 ด้าน (Domains of Learning)

18 องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาฯ / กองกิจการนักศึกษา / กองแนะแนวฯ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อบริการของสถาบันทุกด้าน อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง และมีการเสนอผลการสำรวจเพื่อการปรับปรุงการให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ได้ทำการสำรวจความต้องการของนักศึกษาจำนวน 2 ครั้ง โดยครั้งแรกได้สำรวจความต้องการจำเป็นของนักศึกษาใหม่ และครั้งที่สองได้สำรวจความต้องการของนักศึกษาทุกชั้นปีด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง

19 ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา 2. ควรจัดทำแผนพัฒนาศิษย์เก่าด้านวิชาการและวิชาชีพ ควรจัดหน่วยบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่ศิษย์เก่า และเป็นระบบข่าวสารที่เข้าถึงศิษย์เก่าได้อย่างรวดเร็ว 2. ได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อสำรวจความต้องการด้านวิชาการและวิชาชีพของศิษย์เก่า เพื่อวิเคราะห์และจัดทำแผนและดำเนินการพัฒนาให้กับศิษย์เก่าต่อไป อยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่า ผ่าน website ของกองแนะแนวฯ รวมทั้งผ่านระบบ FreeSMS

20 องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย / สำนักวิจัยฯ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรพิจารณาเพิ่มสัดส่วนของคณะกรรมการวิจัยจากบุคคลภายนอก ควรสนับสนุนให้ทำวิจัยในประเด็นยุทธศาสตร์ที่มีผู้สนใจน้อย เช่น ยุทธศาสตร์การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาวิทยาการและทรัพยากรบุคคล จะทำการปรับปรุงโดยการแต่งตั้งคณะกรรมการวิจัยชุดใหม่ในเดือนสิงหาคม 2553 ทำการเผยแพร่ยุทธศาสตร์และแผนงานวิจัยของมหาวิทยาลัยให้ผู้สนใจใช้ประกอบการขอโครงการวิจัย ทำการทบทวนยุทธศาสตร์และแผนงานวัยของมหาวิทยาลัยใหม่ เพื่อให้รองรับงานวิจัยสนองความสามารถเฉพาะของมหาวิทยาลัยให้มากขึ้น จัดอบรมเทคนิคการเขียนงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ

21 ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรสนับสนุนให้คณะที่ยังไม่สามารถหาแหล่งทุนภายนอกได้เรียนรู้วิธีการพัฒนางานวิจัย และการหาแหล่งทุน ควรเพิ่มรูปแบบและแนวทางการสร้างขวัญกำลังใจยกย่องนักวิจัยให้ครบทุกส่วน ควรพัฒนาระบบและกลไกความร่วมมือของนักวิจัยกับองค์กรภายนอก ให้นำผลงานวิจัยไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม จัดกิจกรรม KM หัวข้อ “ทำงานวิจัยอย่างถึงใช้ประโยชน์ได้” และจัดสัมมนาเรื่อง “การสร้างมูลค่าและคุณภาพของงานวิจัย” ให้ประกาศเกียรติคุณผู้มีงานวิจัยดีเด่น และสนับสนุนค่าตาอบแทนการตีพิมพ์ในวารสารที่มี peer review หรืออยู่ในฐานข้อมูลของ สกอ. มีการตั้งคณะกรรมการเพื่อผลักดันการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เพื่อทำหน้าที่โดยตรง รวมทั้งจัดกิจกรรมเผยแพร่และถ่ายทอดผลงานวิจัย ประชาสัมพันธ์ผลงานวิจัยผ่านสื่อ ตลอดทั้งผลักดันความร่วมมือกับแหล่งทุนให้มากขึ้น

22 องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย / สำนักวิจัยฯ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรเพิ่มนโยบายการให้บริการวิชาการแก่สังคมในด้านการเตือนสติให้กับสังคม ควรพัฒนารูปแบบการบูรณาการการบริการทางวิชาการที่เชื่อมโยงกับการเรียนการสอน การวิจัยและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ในโครงการเดียวกัน ตั้งศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและพยากรณ์ทางการเกษตรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ – แม่โจ้โพลล์ ขึ้น และศูนย์วิจัยและพัฒนาลำไยได้ให้ความรู้และความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ลำไยทุกวันจันทร์ ปรับระบบการจัดสรรงบประมาณด้านโครงการบริการวิชาการแก่สังคมใหม่ โดยกำหนดให้ทุกโครงการฯ ต้องมีการบูรณาการองค์ความรู้สู่การเรียนการสอน และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

23 ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรพัฒนารูปแบบการประเมินสัมฤทธิ์ผลและนำผลการประเมินไปพิจารณาปรับปรุง มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ โดยนำโครงจากโครงการบริการวิชาการที่ให้บริการระดับนานาชาติจำนวน 5 ฐานเรียนรู้ (ลำไย กล้วยไม้ไทย ปลาบึก ไล้เดือนดิน และ ปุ๋ยหมักระบบกองเติมอากาศ)

24 องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาฯ / กองกิจการนักศึกษา ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรส่งเสริมการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมทั้งระดับชาติ ภูมิภาพ และนานาชาติ มีการกำหนดแผนกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมที่ชัดเจน แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มีการจัดกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับภูมิภาค ชาติ และนานานชาติ

25 องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร / รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ / กองการเจ้าหน้าที่ / คณะกรรมการจัดการความรู้ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรมีการประเมินศักยภาพและผลปฏิบัติงานของผู้บริหารทุกระดับ ควรมีการติดตามประเมินแผนและปรับปรุงแผนการจัดการความรู้ตามระบบ PDCA อย่างต่อเนื่อง ดำเนินการประเมินศักยภาพและผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารในระดับคณบดี และอยู่ในระหว่างการปรับให้เข้าสู่ระดับผู้อำนวยการกองขึ้นไป -

26 ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรกำหนดหัวข้อเรื่องสำหรับการจัดการความรู้ เพื่อจัดทำเป็นคู่มือหรือสื่อความรู้ในเรื่องนั้นๆ มีดำเนินการจัดทำ Core Competencies 11 กลุ่มงาน จนสามารถจัดทำคู่มือสมรรถนะของแต่ละกลุ่มงานได้

27 องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายทรัพย์สินฯ / คณะกรรมการเงินรายได้ ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรทำแผนเชิงรุกเพื่อแสวงหาทรัพยากรจากแหล่งภายนอก อยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมการเงินรายได้

28 องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ผู้รับผิดชอบ : รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ / รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนา นักศึกษา / งานประกันคุณภาพการศึกษา / กองกิจการนักศึกษา ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินการประกันคุณภาพ เพื่อนำไปสู่นวัตกรรมใหม่ ควรมีระบบติดตามประเมินผลการประกันคุณภาพในกิจกรรมของนักศึกษา มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านประกันคุณภาพจำนวน 3 กลุ่ม (หน่วยงานที่มีการเรียนการสอนและมหาวิทยาลัย หน่วยงานสนับสนุนฯ เลขานุการผู้ประเมิน) กองกิจการนักศึกษาจะนำไปปรับปรุงในปีการศึกษาถัดไป

29 ข้อเสนอแนะ ผลการพัฒนา ควรเพิ่มบุคลากรงานประกันคุณภาพการศึกษาให้มากขึ้นตามปริมาณงานที่มีอยู่ อยู่ในระหว่างการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลัง ทั้งนี้ได้ตั้งคณะกรรมการติดตามและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติราชการและประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยขึ้น เพื่อช่วยการทำงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยอีกทางหนึ่ง

30 วาระที่ ๓.๒ การติดตามผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้จากระบบสารสนเทศ MIS

31 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะพัฒนาการท่องเที่ยว

32 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
องค์การนักศึกษา

33 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
สภานักศึกษา

34 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร

35 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะบริหารธุรกิจ

36 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
วิทยาลัยบริหารศาสตร์

37 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะศิลปศาสตร์

38 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะเทคโนโลยีกาประมงและทรัพยากรทางน้ำ

39 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม

40 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะวิทยาศาสตร์

41 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะสารสนเทศและการสื่อสาร

42 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ

43 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ประกันคุณภาพของคณะฯ ได้เข้าร่วมอบรม TQA ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในระหว่างวันที่ 21 – 22 เมษายน 2553

44 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
หน่วยงานสนับสนุน คณะกรรมการประกันคุณภาพ หน่วยงานสนับสนุน ได้จัดทำคู่มือประกันคุณภาพภายใน ประจำปีงบประมาณ 2553 เพื่อใช้กับหน่วยงานระดับสำนัก 5 หน่วยงานแล้ว คือ สำนักงานอธิการบดี สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร สำนักบริการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ สำนักหอสมุด สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ อันประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ 21 ตัวบ่งชี้ สำนักงานอธิการบดี ได้ดำเนินการประกันคุณภาพภายในถึงระดับกองทุกกองที่อยู่ในสังกัด และในระดับสำนักได้จัดตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสำนักงานอธิการบดีขึ้น สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จะจัดโครงการสัมมนาชี้แจงเพื่อถ่ายทอดตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพเพื่อสนองยุทธศาสตร์ด้านการจัดการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพขึ้น ในวันที่ 22 เมษายน 2553

45 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี

46 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะผลิตกรรมการเกษตร

47 วาระที่ ๓.๓ การติดตามผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับคณะ/สำนัก
คณะเศรษฐศาสตร์

48 วาระที่ ๔.๑ ผลการประเมินคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุน ประจำปีการศึกษา ๒๕๕๒ (ข้อมูล ณ วันที่ 15 เมษายน 2553) (235,733 records) 24,404 records 39,169 records 64,843 records จำนวนนักศึกษาที่เข้าประเมินผลฯ คิดเป็นร้อยละ 94.30

49 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3. 41-4
ผลการประเมินอยู่ในระดับดี( ) 10 คณะ สู่งกว่าค่าเฉลี่ยมหาวิทยาลัย 10 คณะ

50 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3. 41-4
ผลการประเมินอยู่ในระดับดี( ) 10 คณะ สู่งกว่าค่าเฉลี่ยมหาวิทยาลัย 10 คณะ

51 ผลการประเมินอยู่ในระดับดี(3. 41-4
ผลการประเมินอยู่ในระดับดี( ) 10 คณะ สู่งกว่าค่าเฉลี่ยมหาวิทยาลัย 10 คณะ

52 กำหนดเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการวิชาการ
ประเด็นการพิจารณาการนำผลการประเมินคุณภาพการสอนและสิ่งสนับสนุนไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม กำหนดเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการวิชาการ นำผลการประเมินฯ เข้าที่ประชุมคณะกรรมการประจำคณะทุกภาคการศึกษา วิเคราะห์หัวข้อที่คณะ / มหาวิทยาลัยต้องปรับปรุง วางแผนปรับปรุงในภาคการศึกษาถัดไป ดำเนินการในภาคการศึกษาถัดไปอย่างเป็นรูปธรรม ประเมินและเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้น ควรต้องมีการบันทึกหลักฐานที่ชัดเจนทุกขั้นตอน เพราะเป็นตัวบ่งชี้ของ สกอ. ในปีการศึกษา 2553 ผู้บริหารคณะ ควรประกาศนโยบายและมีการปฏิบัติจริงในการนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน และการขอตำแหน่งวิชาการ

53 วาระที่ ๕ เรื่องอื้นๆ (ถ้ามี)
5.1


ดาวน์โหลด ppt วันพุธที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ สนอ.๕ สำนักงานอธิการบดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google