ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยเกษม เก่งงาน ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
ประวัติการศึกษา โท ระดับปริญญา สาขาวิชา ชื่อถาบันการศึกษา เอก
ระดับปริญญา สาขาวิชา ชื่อถาบันการศึกษา เอก Economics Aichi University, Japan โท 1.International and Development Economics The University of Namur,Belgium 2.วท.มเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตรี วท.บ(คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3
หัวข้อที่ ... เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (sampling TECHNIQUE)
4
ใช้เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ขึ้นมาใหม่ ซึงเรียกว่า ข้อมูล
ใช้เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ขึ้นมาใหม่ ซึงเรียกว่า ข้อมูล ปฐมภูมิ ( primary data )
5
ในกรณีทีจําเป็ นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลขึ้นมาใหม่ สามารถทําได้ 2 วิธี
1. การทําสํามะโน ( census ) :เก็บรวบรวม ข้อมูลจากหน่วยทุกหน่วยของ ประชากรทีเข้าข่ายการศึกษา 2. การสํารวจด้วยตัวอย่าง ( sample survey ) มากะประมาณค่าของ ประชากร ( พารามิเตอร์ ) ทีเราสนใจ
6
***. ทำไมจึงต้องมีการสุ่มตัวอย่าง
7
ขบวนการสุ่มตัวอย่าง มีหลายขั้นตอน
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง(Determine sample size) การเลือกเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง(Select a sampling technique)
8
การสํารวจด้วยตัวอย่างจะให้ข้อมูลที่มีคุณสมบัติเป็นข้อมูลที่ดี เพื่อทีจะสามารถนําข้อมูลไปอ้างอิงประชากรทีต้องการศึกษาได้นั้น ข้อมูลนั้น จะต้องเป็นข้อมูล ที่ได้มาจากตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร
9
I. การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
10
1. ใช้สูตร เช่น ทาโร ยามาเน่(Taro Yamane) หรือเฮอร์เบริ์ทและเรย์มอนด์ (Herbert Asin and Raymond R.) หรือของโรสคอว์(Roscoe 2. ใช้โปรแกรมสำ เร็จรูป 3.ใช้สัดส่วนจากประชากร เช่น 10% ,15 %
11
1.การเลือกตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น
II.การเลือกเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง 1.การเลือกตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น 2. การเลือกตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น
12
การเลือกตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น
Snowball 2.โควตา (Quota Sampling) 3. ตามวัตถุประสงค์ (Purposive Sampling) 4. ตามสะดวก หรือ บังเอิญ ( Convenient Sampling or Accidental Sampling)
13
การสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น
1. Simple Random Sampling 2. Systematic Random Sampling 3. Stratified Random Sampling 4. Cluster Random Sampling
14
simple random sampling
หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1. มีรายชื่อหน่วยในประชากรครบถ้วน 1.ทุกหน่วยในประชากรมีความน่าจะเป็นที่จะถูกเลือกเท่ากัน 1.เหมาะกับประชากรที่มีขนากเล็ก 2. ใช้วิธีจับฉลาก หรือตารางเลขสุ่ม 2. นำไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นได้ 2.เหมาะกับประชากรที่มีลักษณะไม่แตกต่างกันมากนัก
15
Systematic random sampling
หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1. มีรายชื่อหน่วยในประชากรครบถ้วน หรือสุ่มตามช่วงลำดับเวลา หา sampling interval นำไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นได้ ส่วนใหณ่ จะใช้เมื่อมี list ของประชากรครบถ้วน หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อน/ข้อจำกัด มีรายชื่อหน่วยในประชากรครบถ้วน หรือสุ่มตามช่วงลำดับเวลา หา sampling interval 1. นำไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นได้
16
หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด
3.Stratified Random Sampling หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1.แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อยโดยยึดตัวแปรที่จะส่งผลต่อตัวแปรตาม ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของทุกลักษณะ เสียค่าใช้จ่ายสูง 2.ลักษณะภายในชั้นภูมิ( stratum)เดียวกันคล้ายคลึงกัน 3.ระหว่างชั้นมีความแตกต่างกัน
17
4. Cluster Random Sampling จุดอ่อนหรือข้อจำกัด
หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1. แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย โดยในแต่ละกลุ่มปชก.มีลักษณะแตกต่างกัน แต่คล้ายคลึงกันระหว่างกลุ่ม ประหยัดค่าใช้จ่าย และเวลา กลุ่มตัวอย่างที่เลือกมาอจาเป้นตัวแทนของประชากรได้ไม่ดีนักเมื่อเทียบกับวิธีอื่นๆ 2.สุ่มเลือกมาศึกษาทั้งกลุ่ม อย่างน้อยหนึ่งกลุ่ม
18
2.แผนการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน( Multi stage sampling)
มีกระบวนการเลือกหน่วยตัวอยาง มากกว่า 1 ขั้นตอน ซึ่งหน่วยตัวอย่างแต่ละขั้นก็จะแตกต่างกน ไป ในการเลือกตัวอย่างแต่ละขั้นตอน อาจจะใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบใดก็ได้ และการเก็บ รวบรวมข้อมูลจะเก็บจากหน่วยตัวอย่าง ที่สุ่มเลือกมาได้ในขั้นสุดท้าย เช่น ในการสํารวจ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในมหาวิทยาลัยนเรศวร อาจใช้ แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ 3 ขั้น โดย ขั้นที่1 เลือกคณะมาเป็นตัวอย่าง ขั้นที่สองเลือกภาควิขาตัวอย่าง และขั้นที่สามบุคลากรมาเป็นตัวอยาง
19
Thank you for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.