งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
“แนวทางการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชนปี 2560” โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน “การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายกรมสนับสนุนบริการสุขภาพประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560” ระหว่างวันที่ 6-7 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร

2 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กระทรวงฯ-กรมฯ-กองฯ
กระทรวงฯ : P&P Excellence พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย People Excellence พัฒนาเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพ กรม สบส.: ชุมชนจัดการสุขภาพสู่คุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย พัฒนาประชาชน/แกนนำเครือข่ายเพื่อการดูแลสุขภาพร่วมกัน กอง สช. : 1.เสริมสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองระดับครอบครัว 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการด้านสุขภาพ 3. เสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายกำลังคนในการจัดการด้านสุขภาพชุมชน 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ

3 ยุทธศาสตร์กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน ปี 2560
1. เสริมสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองระดับครอบครัว 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการด้านสุขภาพ 3. เสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายกำลังคนในการจัดการ ด้านสุขภาพชุมชน 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ

4 โครงการ/กิจกรรมตามยุทธศาสตร์ ปี 2560
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองระดับครอบครัว โครงการเสริมสร้างศักยภาพการดูแลตนเองระดับครอบครัว ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการด้านสุขภาพ โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของตำบลในการจัดการด้าน สุขภาพสู่การพึ่งตนเอง

5 ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายกำลังคนในการ จัดการด้านสุขภาพชุมชน
3.1 โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย 3.2 โครงการพัฒนาองค์กร อสม. ในการจัดการด้านสุขภาพ 3.3 โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายกำลังคนในการดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน 3.4 โครงการเสริมสร้างศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ด้านการเฝ้าระวังป้องกันการทุจริตในระดับชุมชน 3.5 โครงการสนับสนุนองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ในการจัดการสุขภาพชุมชน 3.6 โครงการเสริมสร้างความเป็นเลิศด้านการจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม. 3.7 โครงการจัดงานเชิดชูเกียรติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม. ในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ 20 มีนาคม ประจำปีพุทธศักราช 2560 3.8 โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค ด้านระบบบริการสุขภาพผ่านสื่อฯ 3.9 โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประชากรต่างด้าว

6 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1 โครงการพัฒนาและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพภาคประชาชน สู่การปฏิบัติ 4.2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน 4.3 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ กองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน

7 “แนวทางการดำเนินงาน สุขภาพภาคประชาชนปี 2560”

8 โครงการ : เสริมสร้างศักยภาพการดูแลสุขภาพตนเองระดับครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพตนเอง ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 50) บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1. จัดทำแนวทาง /หลักสูตร/คู่มือ อสค. 2. จัดทำแบบประเมินศักยภาพครอบครัว 3.จัดทำโปรแกรมการขึ้นทะเบียน อสค. และโปรแกรมการพิมพ์ประกาศบัตรประจำตัว 4.แบบรายงานผลการดำเนินงาน อสค. ผ่านระบบสารสนเทศงาน สช -ติดตามและประเมินผล อสค. -สุ่มประเมินเชิงคุณภาพ 1.พัฒนาศักยภาพ อสค. 500,000 คน NCD 250,000 คน LTC 150,000 คน CKD 100,000 คน 2. ติดตามความก้าวหน้าและรายงานผล สบส. เขต 1.งบประมาณในการติดตามและประเมินผล อสค. จังหวัด 1.แนวทาง/หลักสูตร/คู่มือ อสค 2. งบประมาณในการพัฒนาศักยภาพ อสค. 2.แบบประเมินศักยภาพครอบครัว 3.โปรแกรมการรายงานผลบนเว็บไซต์ thaiphc.net - อสค.ประเมินตนเอง (Self Assessment) - รพ.สต.สุ่มประเมิน อสค.ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 และรายงานผ่านเว็บไซต์ -สบส.เขตสุ่มประเมินเชิงคุณภาพ

9 โครงการ : เสริมสร้างความเข้มแข็งตำบลจัดการสุขภาพเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตำบลเป้าหมายที่มีการจัดการสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ 70) บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1.ประชุมคณะทำงานและจัดทำแนวทางการดำเนินงาน 2.นิเทศติดตามและประเมินผลเชิงคุณภาพ 3.ติดตามการบันทึกข้อมูลและรายงานผลในฐานข้อมูล 4. จัดเวทีบูรณาการการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพฯ 5.จัดทำรายงานสรุปผลและข้อเสนอเชิงนโยบาย 1. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงทีมตำบลจัดการสุขภาพฯและถ่ายทอดนโยบาย (3,000 คน) 2.คัดเลือกผลงาน นวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเด่นระดับเขต 3. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลแบบเยี่ยมเสริมพลังผลงานตำบลจัดการฯ 4.บันทึกข้อมูลและรายงานผลในฐานข้อมูล 1.ทีมวิทยากรพี่เลี้ยงส่งเสริม สนับสนุนจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตำบลจัดการสุขภาพระหว่างพื้นที่ 2.ติดตาม ประเมินผล แบบเยี่ยมเสริมพลังผลงานตำบลจัดการฯ 3.คัดเลือกผลงาน นวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด 4.ประเมินผลตำบลจัดการสุขภาพ (7,250 ตำบล) 5.บันทึกข้อมูลและรายงานผลในฐานข้อมูล สนับสนุนจังหวัด 1. แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพฯ 2. คู่มือวิทยากรพี่เลี้ยง 3. เกณฑ์และแบบรายงานผลตำบลจัดการสุขภาพฯ 4. โปรแกรมการรายงานผล เว็บไซต์ www. thaiphc.net สนับสนุน สบส.เขต งบประมาณ พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงทีมตำบลจัดการฯ และถ่ายทอดนโยบาย นิเทศ ติดตาม ประเมินผลแบบเยี่ยมเสริมพลังผลงานตำบลจัดการฯ คัดเลือกผลงาน นวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเด่นระดับเขต เชิงปริมาณ - สสจ.รายงานผ่านเว็บไซต์ เชิงคุณภาพ ส่วนกลางและ สบส.เขตสุ่มประเมิน 4 ภาค

10 โครงการ : โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนของ อสม.ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ (72,550 คน) ร้อยละของ อสม.กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1. กำหนดกรอบและแนวทางการพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย 2.จัดทำเครื่องมือการประเมิน อสม. ที่ผ่านการอบรม 3. นิเทศ ติดตาม และสนับสนุนทางวิชาการ 4.สรุป ประเมินผลและจัดทำรายงาน 1.นิเทศ ติดตาม และสนุนวิชาการแก่จังหวัด 2.ประเมินและรายงานจำนวน อสม.ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของเขต 1. อบรม อสม. นักจัดการสุขภาพกลุ่มวัย 2. รายงานผลจำนวน อสม. ที่ได้รับการอบรม ของจังหวัด 3.ประเมินและรายงานจำนวน อสม.ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของจังหวัด สนับสนุน สบส.เขต 1.ติดตามประเมินผล อสม. นักจัดการ (30บ./คน) 2. ติดตามประเมินผล อสม. นักจัดการ(บริหารจัดการ) สนับสนุนจังหวัด 1.งบอบรม 460 บาท/คน 2.คู่มือ แนวทางและแบบประเมิน 3. โปรแกรมการรายงานผลบนเว็บไซต์  ประเมินจากการรายงานผ่านเว็บไซต์

11 โครงการ : เสริมสร้างศักยภาพ อสม
โครงการ : เสริมสร้างศักยภาพ อสม.ด้านการเฝ้าระวังป้องกันการทุจริตในระดับชุมชน ตัวชี้วัด : 1. จำนวนของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการเฝ้าระวังป้องกันการทุจริตในระดับชุมชน (87,800 คน) 2. ร้อยละความสำเร็จของอาสาสมัครหรือเครือข่ายของส่วนราชการที่ผ่านการอบรม (87,800 คน) สามารถพัฒนาขยายผลต่อยอดเครือข่ายในการร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต 3. ร้อยละของอาสาสมัครหรือเครือข่ายของส่วนราชการที่ผ่านการอบรมเข้าร่วมกิจกรรม ในการป้องกันการทุจริตในระดับหน่วยงานหรือระดับพื้นที่ บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1. กำหนดกรอบและแนวทางการดำเนินงาน 2.จัดทำคู่มือ อสม.ป.ป.ช. สนับสนุนจังหวัด 3.กำกับติดตามประเมินผล 2. รายงานผลจำนวน อสม. ที่ได้รับการอบรม ของเขต 2.นิเทศ ติดตาม และสนุนวิชาการแก่จังหวัด 3.วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนิน อสม. ป.ป.ช. (ผลงาน 3 ปี) 1. อบรม อสม. ป.ป.ช. 2. จัดทำเครื่องมือ ใบประกาศ และกิจกรรมอื่นๆ 3. ประเมินและรายงานผลการขยายเครือข่ายของอสม. ป.ป.ช. 4.รายงานผลจำนวน อสม. ที่ได้รับการอบรม ของจังหวัด สบส.เขต งบประมาณ -ติดตามประเมินผล และอื่นๆ (อสม.ปปช) -วิเคราะห์ สรุปผลการดำเนิน อสม. ป.ป.ช. (ผลงาน 3 ปี) จังหวัด งบประมาณ 1. งบอบรม อสม. ป.ป.ช. 2. งบติดตามการอบรม อสม.ป.ป.ช. 3. คู่มือ อสม.ป.ป.ช. 4. โปรแกรมการรายงานผลบนเว็บไซต์ เชิงปริมาณ - ประเมินจากการรายงานผ่านเว็บไซต์ เชิงคุณภาพ สุ่มประเมิน 12 เขต เขตละ 1 จังหวัด

12 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการพัฒนาองค์กร อสม. ในการจัดการด้านสุขภาพ
โครงการ : พัฒนาองค์กร อสม. ในการจัดการสุขภาพชุมชน ปีงบประมาณ 2560 (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการพัฒนาองค์กร อสม. ในการจัดการด้านสุขภาพ บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. การพัฒนาศักยภาพ องค์กร อสม. 1. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ 2. จัดประชุมชี้แจงการนำนโยบายสู่การปฏิบัติระดับเขต 12 เขต องค์กร อสม.รู้ตน ลดเสี่ยง ลดโรค 3. สนับสนุนการคัดเลือก องค์กร อสม. ระดับจังหวัด 76 จังหวัด 4. สนับสนุนการคัดเลือก องค์กร อสม. ระดับเขต 12 เขต 5. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนงานสุขภาพภาคประชาชน พัฒนากลไกการขับเคลื่อน 6. ประชุมเพื่อพัฒนากลไกและมาตรฐานการดำเนินงานของ อสม. - ประชุมอนุกรรมการ 2 ครั้ง - ประชุมคณะกรรมการกลาง 2 ครั้ง - ประชุมพัฒนามาตรฐาน ศสมช. 4 ครั้ง 7. กำกับ ติดตาม และประเมินผล ประชุมวิชาการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเสนอผลงานและนวัตกรรมการจัดการสุขภาพชุมชน 4 ภาค ดำเนินการคัดเลือก องค์กร อสม.ระดับเขต กำกับ ติดตาม การดำเนินงานขององค์กร อสม. สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กร อสม. คัดเลือกองค์กร อสม.สร้างสุขภาพดีเด่นระดับจังหวัด สนับสนุนจังหวัด 1. งบประมาณ 5,000 บาท/จว. สนับสนุน สบส.เขต 1. งบประมาณ 10,000 บาท/เขต เชิงปริมาณ - รายชื่อ องค์กร อสม.ดีเด่นระดับจังหวัด/ระดับเขต เชิงคุณภาพ ส่วนกลาง และ สบส.เขตสุ่มประเมิน

13 โครงการ : เสริมสร้างความเป็นเลิศด้านการจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม
โครงการ : เสริมสร้างความเป็นเลิศด้านการจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม. ปีงบประมาณ 2560 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับจังหวัด เขตสุขภาพ ภาค และชาติ บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1.สนับสนุนการคัดเลือก อสม. ดีเด่น ประเมินผลงาน อสม.ดีเยี่ยมและดีเยี่ยมอย่างยิ่ง 2.จัดประชุม คกก.คัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ 3.คกก.คัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติลงประเมินผลงาน 4. ทบทวนหลักเกณฑ์และสรุปผลการดำเนินงาน 5.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การคัดเลือก อสม.ดีเด่น ดีเยี่ยม และดีเยี่ยมอย่างยิ่ง 6.จัดทำหนังสือแนวทางและหลักเกณฑ์การคัดเลือก อสม.ดีเด่นและประเมินผลงาน อสม.ดีเยี่ยม ดีเยี่ยมอย่างยิ่ง ประจำปีพุทธศักราช 2561 1. คัดเลือก อสม. ดีเด่น ระดับเขต/ภาค 2.ประเมิน อสม. ดีเยี่ยม ร่วมกับกอง สช. 3.ประเมิน อสม. ดีเยี่ยมอย่างยิ่ง ร่วมกับกอง สช. 4.จัดงานวัน อสม. แห่งชาติ ร่วมกับกองสช. 5.รวบรวม/สังเคราะห์ผลงาน อสม.ดีเด่นปี 58 ระดับจังหวัด/เขต/ภาค 1. คัดเลือก อสม. ดีเด่น ระดับจังหวัด 2. จัดกิจกรรมสัปดาห์รณรงค์ วัน อสม. แห่งชาติ 3. เข้าร่วมกิจกรรมงานวัน อสม. แห่งชาติ 4. พิจารณา อสม.ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ เสนอขอประเมิน อสม. ดีเยี่ยม/ดีเยี่ยมอย่างยิ่ง สนับสนุนจังหวัด 1. แนวทางการคัดเลือก อสม.ดีเด่น การประเมิน อสม.ดีเยี่ยม ดีเยี่ยมอย่างยิ่ง ประจำปีงบประมาณ 2560 2. งบประมาณ 35,000 บาท/จว. สนับสนุน สบส.เขต 1. แนวทางการคัดเลือก อสม.ดีเด่น การประเมิน อสม.ดีเยี่ยม ดีเยี่ยมอย่างยิ่ง ประจำปีงบประมาณ 2560 2. งบประมาณ 3,500 บาท/คน เชิงปริมาณ - สสจ.จัดส่งรายชื่ออสม.ดีเด่นระดับจังหวัด เชิงคุณภาพ ส่วนกลางและ สบส.เขตสุ่มประเมิน 4 ภาค

14 ในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ 20 มีนาคม ประจำปีพุทธศักราช 2560
โครงการ : การจัดงานเชิดชูเกียรติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม. ในวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ 20 มีนาคม ประจำปีพุทธศักราช 2560 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการจัดงานวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1. จัดเตรียมและนำเสนอรูปแบบการจัดงานวัน อสม.แห่งชาติ 20 มีนาคม 2559 2. เตรียมการด้านของรางวัลสำหรับ อสม. ดีเด่น ได้แก่ เข็มเชิดชูเกียรติ โล่ ใบประกาศเกียรติคุณ 3. จัดทำคำสั่งคณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการดำเนินงาน และคณะทำงานจัดงานวัน อสม. แห่งชาติ ปีงบประมาณ 2559 4. จัดประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ฯ เพื่อกำหนดรูปแบบการจัดงาน วัน เวลา และสถานที่ 5. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงาน ฯ เพื่อวางแผนการจัดงานวัน อสม. แห่งชาติ 6. เตรียมการด้านกิจกรรมการรณรงค์สัปดาห์วัน อสม.แห่งชาติ 7. จัดประชุมคณะทำงาน ฯ เพื่อดำเนินการจัดเตรียมความพร้อมในการจัดงานวัน อสม. แห่งชาติ 8. เตรียมการด้านผู้เข้าร่วมงานวัน อสม. แห่งชาติ ตามกลุ่มเป้าหมาย 9. เตรียมระบบการลงทะเบียนเข้าร่วมงานวัน อสม. แห่งชาติออนไลน์ 10. การเตรียมการด้านงบประมาณการจัดงานวัน อสม. แห่งชาติ 11. เตรียมการด้านที่พัก ห้องประชุม สถานที่รับรางวัล 12. ดำเนินการตามแผน 13. ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ๑. สำรวจจำนวนผู้ที่จะเข้าร่วมงาน วัน อสม.และแจ้งการลงทะเบียนเข้าร่วมงาน 2.ร่วมประชมคณะกรรมการดำเนินงานและคณะทำงานเพื่อกำหนดกรอบการดำเนินงาน 3.ร่วมจัดทำแผนการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์การลงทะเบียนออนไลน์ 4.ดำเนินการตามแผนของแต่ละคณะฯ 5.ประสานงานเตรียมการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯงานวันอสม. การเข้ารับรางวัลของ อสม.ดีเด่นระดับต่างๆ 6.ประสานจังหวัดเป้าหมายเพื่อเตรียมการแสดงผลงาน อสม.ดีเด่นระดับชาติ 1. ตรวจสอบความถูกต้องรายชื่อ อสม.ดีเด่นเพื่อเตรียมจัดทำของรางวัลต่างๆ" 2. จัดกิจกรรมรณรงค์ในสัปดาห์รณรงค์เนื่องในวัน อสม.แห่งชาติ 3. เตรียมการเข้าร่วมงานของจังหวัดตามกลุ่มเป้าหมาย 4. ประสานงานเพื่อการเข้าร่วมงานวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชนของ อสม. 5. เป็นพี่เลี้ยงให้กับ อสม. ในการเข้าร่วมงาน สนับสนุนจังหวัด งบประมาณ 20,000 บาท/จว. สนับสนุน สบส.เขต งบประมาณ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้าร่วมงาน เชิงปริมาณ จำนวนผู้เข้าร่วมงาน เชิงคุณภาพ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงาน

15 ด้านระบบบริการสุขภาพผ่านสื่อฯ
โครงการ : โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชนและคุ้มครองผู้บริโภค ด้านระบบบริการสุขภาพผ่านสื่อฯ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชน และคุ้มครองผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพผ่านสื่อ บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1. แต่งตั้งกองบรรณาธิการสื่อฯ ปี 2560 และซักซ้อม ความเข้าใจในบทบาท 2 ดำเนินการผลิตต้นฉบับ และจัดพิมพ์หนังสือพิมพ์ “เพื่อน ผสส. -อสม” รายเดือน จำนวน 10 ฉบับ ๆละ 80,000 เล่ม 3. ดำเนินการผลิตต้นฉบับ และจัดพิมพ์วารสารสุขภาพภาคประชาชน เผยแพร่นโยบาย บทความวิชาการ องค์ความรู้ที่จำเป็น และผลงานศึกษาวิจัยด้านสุขภาพภาคประชาชน ราย 2 เดือน จำนวน 5 ฉบับ ๆ ละ 10,000 เล่ม 4 ดำเนินการจัดส่งหนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.-อสม. และวารสารสุขภาพภาคประชาชน 5 สนับสนุนรางวัลให้แก่เครือข่ายตอบชิงรางวัล 6. ประเมินผลสื่อหนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส. – อสม./วารสาร ดำเนินการประชาสัมพันธ์สื่อ และข้อมูลการส่งผลงานตีพิมพ์ เผยแพร่ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่งบทความ ลงวารสารสุขภาพภาคประชาชนผลงานวิชาการตีพิมพ์ - ส่งข่าวสาร ลงหนังสือพิมพ์เพื่อน ผสส.อสม. สนับสนุนจังหวัด - นสพ.เพื่อน ผสส.-อสม. - วารสารสุขภาพภาคประชาชน สนับสนุน สบส.เขต - นสพ.เพื่อน ผสส.-อสม. - วารสารสุขภาพภาคประชาชน ประเมินความสำเร็จของการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การจัดการสุขภาพชุมชนและคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านระบบบริการสุขภาพผ่านสื่อ

16 โครงการ : พัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน
ตัวชี้วัด: ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน (2 เว็ปไซต์ 8 ฐานข้อมูล) บทบาทการดำเนินงาน สิ่งสนับสนุน การประเมินผล กอง สช. สบส. เขต สสจ. 1.ประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศฯ 2.วิเคราะห์ความต้องการและออกแบบระบบ 3.พัฒนาเว็บไซต์และฐานข้อมูล 4.จัดทำคู่มือการใช้งาน 5.กำกับติดตามประเมินผล 1.อบรมการใช้งานระบบสารสนเทศงาน สช. 2.ประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศฯ ในพื้นที่ 3.ร่วมวิเคราะห์ความต้องการและออกแบบระบบ 4.สนับสนุนจังหวัดในการใช้งาน 5.กำกับติดตามประเมินผล 1.ประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศฯ ในจังหวัด 2.ศึกษาแนวทางคู่มือและกำหนดแนวมทางของจังหวัด 3.ใช้งานระบบสารสนเทศฯ 4.กำกับติดตามประเมินผล สนับสนุน สบส.เขต งบประมาณอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศงาน สช. (เขต และ 11) สนับสนุนจังหวัด 1. งบประมาณรายงานข้อมูลผลการดำเนินงาน สช. (อำเภอ ละ 2,000 บาท) 2. เว็ปไซต์และฐานข้อมูล - ฐานข้อมูลทะเบียนประวัติ อสม. - ฐานข้อมูลตำบลจัดการสุขภาพ - ฐานข้อมูลพัฒนาศักยภาพ อสม. (ป.ป.ช.) - ฐานข้อมูลอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. - ฐานข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ - ฐานข้อมูลผลการปฏิบัติงานของ อสม. - ฐานข้อมูล อสม. ดีเด่น - ฐานข้อมูลสถาบันฝึกอบรม อสม. ประเมินการความถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลาในการบันทึกข้อมูลของจังหวัด ทุก 3, 6, 9 และ 12 เดือน)

17 Small Success งานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2560
เป้าหมายการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - จำนวน อสค. ที่ได้รับการพัฒนา 500,000 คน ครอบครัวที่มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพของตนเองได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 50 - ภาคีเครือข่ายระดับตำบลที่ได้รับการส่งเสริม พัฒนา และ สนับสนุนให้สามารถจัดการสุขภาพด้วยตนเอง 4,000 ตำบล 7,255 ตำบล - ตำบลเป้าหมายสามารถจัดการสุขภาพได้ตามมาตรฐาน ร้อยละ 35 ร้อยละ 70

18 Small Success งานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2560
เป้าหมายการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - ชุมชนเป้าหมายสามารถจัดการสุขภาพด้วยตนเอง (หมู่บ้านจัดการสุขภาพ) ร้อยละ 35 ร้อยละ 70 - จำนวน อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการเฝ้าระวังป้องกันการทุจริตในระดับชุมชน 43,900 คน 87,800 คน - อาสาสมัคร หรือ เครือข่ายของส่วนราชการที่ผ่านการอบรม สามารถพัฒนาขยายผลต่อยอดเครือข่ายในการร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต ร้อยละ 20 ร้อยละ 40 - อาสาสมัครหรือเครือข่ายของส่วนราชการที่ผ่านการอบรมเข้าร่วมกิจกรรม ในการป้องกันการทุจริตในระดับหน่วยงานหรือระดับพื้นที่ ร้อยละ 80

19 Small Success งานสุขภาพภาคประชาชน ปีงบประมาณ 2560
เป้าหมายการดำเนินการ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน - จำนวน อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 72,550 คน - อสม. กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 40 ร้อยละ 80

20 กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ขอขอบคุณ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ


ดาวน์โหลด ppt โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google