งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา

2 จัดทำโดย 1.นายเกียรติศักดิ์ สมานมิตร 483050005-4
1.นายเกียรติศักดิ์ สมานมิตร 2.นางสาวจุฑารัตน์ สุระมณี 3.นางสาวปริญญา พันธ์วิไล 4.นางสาวพรรณวรินทร์ วงษ์หอม 5.นางสาวภัทธิรา นวลตา 6.นางสาวสมฤดี ใจเสือกุล 7.นายอนุชิต ผลภิญโญ สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3 ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา
1.การวัด (Measurement) ? หมายถึง กระบวนการกำหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์ให้กับ บุคคล สิ่งของ หรือเหตุการณ์อย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณหรือคุณภาพของลักษณะที่จะวัด

4 องค์ประกอบของการวัดผล
การวัดผลมีองค์ประกอบ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ปัญหาหรือสิ่งที่จะวัด 2. เครื่องมือวัดหรือเทคนิควิธีในการรวบรวมข้อมูล 3. ข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ

5 2. การประเมินผล (Evaluation) ?
หมายถึง การตัดสินคุณค่า หรือคุณภาพของผลที่ได้จากการวัดโดยเปรียบเทียบกับผลการวัดอื่นๆ หรือเกณฑ์ที่ตั้งไว้

6 องค์ประกอบของการประเมินผล
การประเมินผลมีองค์ประกอบ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1. ข้อมูล 2. เกณฑ์ 3. การตัดสินคุณค่าหรือการตัดสินใจ

7 ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดผลการศึกษาและการประเมินทางการศึกษา
การประเมินผล = การวัดผล การตัดสินคุณค่า (Evaluation) (Measurement) (Judgement)

8 เขียนสรุปเป็นแผนภาพได้ดังนี้
พฤติกรรมหรือ คุณลักษณะ วิธีการหรือ เครื่องมือในการวัด ผลการวัด การตัดสินใจ เกณฑ์หรือมาตรฐาน

9 ทฤษฎีของการวัดและการประเมิน
1)ทฤษฎีการกำหนดคุณค่า 2) ทฤษฎีเกณฑ์การประเมิน 3) ทฤษฎีรูปแบบการประเมิน

10 1) ทฤษฎีการกำหนดคุณค่า
โมเดล 1.1) เอกมิติของการกำหนดคุณค่า Intrinsic Extrinsic Criteria Indicators Empirical MERIT VALUE OR WORTH C1 C2 I2 D2 Dk Ik Ck D1 I1 D3 I3 C3

11 1.2) พหุมิติของการกำหนดคุณค่า
Intrinsic Extrinsic Criteria Indicator Empirical MERIT VALUE 1 C11_1 C12 I12 D12 D11 I11 D13 I13 C13 2 D21 I21 C21 D22 I22 C22 D23 I23 C23 3 D31 I31 C31 D32 I32 C32 D33 I33 C33 CONTEXT

12 2) ทฤษฎีเกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์การประเมินด้วยการตัดสินใจ ชนิดการประเมิน ก่อนการปฏิบัติ เกณฑ์ เกณฑ์สัมบูรณ์ ตัวบ่งชี้หลัก ความจำเป็นที่เป็นไปได้ วัตถุประสงค์ของการประเมิน การกำหนดคุณค่ากำหนดคุณ การวางแผน เกณฑ์สัมบูรณ์ ประชาการ งบประมาณ ระหว่างลงมือปฏิบัติ ปัจจัยป้อนเข้า ประสิทธิผล - ประสิทธิภาพ หลังการปฏิบัติ เกณฑ์สัมพัทธ์ ผลผลิต ผลที่ตามมา

13 3) ทฤษฎีรูปแบบการประเมิน
มิติของรูปแบบการประเมิน มี 2 มิติ คือ 1. มิติวัตถุประสงค์ : Decision – oriented V.S. Value oriented Evaluation 2) มิติวิธีการ: Systematic V.S. Naturalistic Approaches

14 1. มิติวัตถุประสงค์ (Decision – oriented V. S
1.มิติวัตถุประสงค์ (Decision – oriented V.S. Value oriented Evaluation) 1.1 การประเมินเน้นการตัดสินใจ (Decision – orented Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจทางการบริหารซึ่งบทบาทสำคัญของนักประเมินคือ การตอบสนองความต้องการสารสนเทศของผู้บริหารโดยขึ้นอยู่กับผู้บริหารในการกำหนกบริบทของการตัดสินใจและเกณฑ์การตัดสินความสำเร็จของโครงการ นักประเมินไม่ควรเข้าไปมีส่วนในกระบวนการตัดสินใจทางการบริหาร เพราะจะทำให้เสียความเป็นกลางในการประเมิน

15 1.2 การประเมินเน้นการตัดสินคุณค่า (Value – orented Evaluation)
เป็นการประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่ประเมิน โดยบทบาทของนักประเมินคือ การตัดสินคุณค่า ถ้านักประเมินไม่ได้มีส่วนในกระบวนการตัดสินคุณค่าของสิ่งที่มุ่งประเมิน ถือว่ายังไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างสมบูรณ์และนักประเมินต้องตัดสินคุณค่าที่แท้จริงทั้งหมดไม่เพียงแต่คุณค่าของผลที่คาดหวังไว้เท่านั้นแต่จะต้องครอบคลุมถึงคุณค่าของผลที่มิได้คาดหวังด้วย

16 2) มิติวิธีการ: Systematic V.S. Naturalistic Approaches
2.1 วิธีเชิงระบบ (Systematic Approach) 2.2 วิธีเชิงธรรมชาติ (Naturalistic Approach)

17 ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างการประเมินด้วยวิธีเชิงระบบ และวิธีเชิงธรรมชาติ สามารถสรุปได้ดังนี้

18 รายการ วิธีเชิงระบบ วิธีเชิงธรรมชาติ 1.ที่มาของวิธีการ 2.รูปแบบ 3.กาจัดและทำ 4.การมองคุณค่า 5.วิธีการ 6.เครื่องมือที่นิยมใช้ 7.การเก็บรวบรวมข้อมูล 8.การวิเคราะห์ข้อมูล 9.ผู้ใช้ผลการประเมิน วิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จิตวิทยาเชิงทดลอง เป็นทางการ (formall) สูง(high structured) คุณค่าเชิงเดียว(singular) ปรนัย(objectivism) เครื่องมือมาตรฐาน อาศัยความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ทางสถิติ นักวิชาการ ศิลปะศาสตร์ มนุษยศาสตร์วารสารศาสตร์ ไม่เป็นทางการ (informall) ต่ำ(low structured) คุณค่าเชิงพหุ(pluralistic) อัตนัย(subjectivism) การสังเกต/การสัมภาษณ์การจดบันทึกเหตุการณ์ตามธรรมชาติ การเชื่อมโยงเหตุผล บุคคลทั่วๆไป

19 4. หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
1) การวัดและประเมินผลการศึกษา เป็นกระบวนการตรวจสอบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ได้จัดให้กับผู้เรียนนั้น ผู้เรียนสามารถบรรลุตามจุดมุ่งหมายมากน้อยเพียงใด ความผิดพลาดที่ทำให้การวัดได้ไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายมีดังนี้ 1.1) ไม่ศึกษาหรือนิยามคุณลักษณะที่ต้องการจะวัดให้ชัดเจน 1.2) ใช้เครื่องมือไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการจะวัด 1.3) วัดได้ไม่ครบถ้วน 1.4) เลือกกลุ่มตัวอย่างที่จะวัดไม่เหมาะสม

20 2) ใช้เครื่องมือที่มีคุณภาพ
3) คำนึงถึงความยุติธรรม 4) การแปลผลให้ถูกต้อง 5) ใช้ผลของการวัดและการประเมินให้คุ้มค่า

21 หนังสืออ้างอิง พิชิต ฤทธิ์จรูญ. หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : เฮ้า ออฟ เคอร์มีสท์, ศิริชัย กาญจนวาสี. ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สมบูรณ์ ตันยะ. การประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2545

22 จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ/ครับ


ดาวน์โหลด ppt ทฤษฎีและหลักการของการวัดและการประเมินผลการศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google