ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
งานพัฒนาคุณภาพการพยาบาล (QA)
2
องค์ประกอบที่ 1 การประเมินผลคุณภาพบริการ
องค์ประกอบที่ 1 การประเมินผลคุณภาพบริการ จุดเด่น บุคลากรทางการพยาบาลทั้งระดับผู้บริหารและระดับปฏิบัติการได้รับการพัฒนาและปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ /การบริหารทางการพยาบาล/การปฏิบัติการพยาบาลและการดูแลผู้ป่วย โอกาสการพัฒนา การติดตาม กำกับ ประเมินหน้างานบริการพยาบาลของแต่ละโรงพยาบาล แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง : จัดประชุมเชิงปฏิบัติการตามมาตรฐานแต่ละงานบริการพยาบาล พร้อมเยี่ยมประเมินตามมาตรฐานโดยคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด มาตรฐาน คุณภาพ เครื่องมือ - แบบประเมินตามมาตรฐานคุณภาพ QA - แบบประเมินตามประเด็นหลักการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล Text Text Text Text Text
3
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
ความพึงพอใจ โอกาสการพัฒนา ควรมีการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการตามงานบริการพยาบาลแต่ละงานของโรงพยาบาลทุกแห่ง แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง จัดเก็บความพึงพอใจของผู้รับบริการแต่ละงานบริการพยาบาลโดยบูรณาการร่วมกับแบบประเมินความพึงพอใจของจังหวัด
4
การบรรลุผลสัมฤทธิ์ของ KPI ท้าทาย ผลการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ)
รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย (ปีงบประมาณ) ผลการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ) R P U I 2556 2557 2558 R4 ระดับความสำเร็จในการบรรลุผลสัมฤทธิ์จังหวัดแห่งคุณภาพและความสุข P2 U1 โรงพยาบาลชุมชนได้รับการประเมินและรับรองคุณภาพการพยาบาล (QA) ของสภาการพยาบาล จำนวน 2 แห่ง (ปี 2556) ไม่ได้ดำเนินการ - U2 โรงพยาบาลชุมชนได้รับการประเมินและรับรองคุณภาพการพยาบาล (QA) ของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 จำนวน 2 แห่ง ( ปี 2556 ) 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนได้รับการรับรองคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 จำนวน 7 แห่ง ( ปี 2557 ) 7 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนได้รับการรับรองการบริการการพยาบาลตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 จำนวน 5 แห่ง ( ปี 2558 ) 5 แห่ง U3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับการรับรองมาตรฐานการบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับปฐมภูมิของสภาการพยาบาล จำนวน 13 แห่ง ( ปี 2557 ) ไม่ได้ดำเนินการ 13 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนได้รับการพัฒนาต้นแบบงานบริการเยี่ยมบ้านคุณภาพของสำนักการพยาบาล จำนวน 7 แห่ง (ปี 2558) U4 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้รับการพัฒนาต้นแบบงานบริการเยี่ยมบ้านคุณภาพของสำนักการพยาบาล จำนวน 66 แห่ง และศสม. 1 แห่ง (ปี 2558) 67 แห่ง
5
การประเมินคุณภาพบริการพยาบาลภายในโรงพยาบาล
scoring band ระดับคะแนน ระดับการพัฒนา 0-9 % No Evidence 50-69 % 3 Mature 10-29 % 1 Beginning 70-89 % 4 Advance 30-49 % 2 Basically Effectiveness % 5 Role Model
7
ผลงาน/นวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
8
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
วิเคราะห์ส่วนที่เป็นข้อด้อยในแต่ละงานบริการพยาบาลของโรงพยาบาลทุกแห่ง และพัฒนาส่วนที่ขาดให้ได้ตามมาตรฐานคุณภาพการพยาบาล โดยจัดอบรมพัฒนาศักยภาพงานบริการพยาบาลแต่ละงาน ยกระดับโรงพยาบาลให้ได้รับรองคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามมาตรฐานของสำนักการพยาบาล ขั้น 3 โดยพัฒนาในส่วนของมิติกระบวนการและมิติผลลัพธ์ของงานบริการพยาบาลแต่ละงาน โดยเฉพาะการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติให้ครอบคลุมทุกคนในหน่วยงานบริการพยาบาล โอกาสพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
9
องค์ประกอบที่ 2 การประเมินผลศักยภาพของระบบสนับสนุน
องค์ประกอบที่ 2 การประเมินผลศักยภาพของระบบสนับสนุน หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 2.1) ด้านการวางแผน ข้อมูลจาก Action plan,RPUI มีการดำเนินงานตาม Action plan,RPUI 2.2) ด้านการบริหารบุคคล อัตรากำลังคนในการดำเนินงาน ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด หาบุคลากรวิชาชีพพยาบาลเพิ่มที่กลุ่มงาน พคร 2.3) ด้านการฝึกอบรม แผนงานพัฒนาบุคลากรขององค์กรพยาบาล มีการจัดทำแผนเฉพาะขององค์กรพยาบาลตาม Service Plan วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามแผนงาน 2.4) ด้านการนิเทศ รายงานการประชุมคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด มีการประชุมคณะกรรมการ QA ระดับจังหวัด อย่างต่อเนื่อง จัดให้มีการติดตามนิเทศทางการพยาบาลระดับอำเภอ จัดทำแนวทางการติดตามนิเทศทางการพยาบาล
10
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 2.5) ด้านการบริหารการเงิน รายงานผลการคุมงบประมาณโครงการ /แผนการใช้เงิน การเบิก-จ่าย ทันเวลา การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการเป็นไปตามแผนที่กำหนด - 2.6) ด้านการบริหารวัสดุครุภัณฑ์ รายงานแผนการเบิก-จ่ายวัสดุครุภัณฑ์ ทันเวลาและความเพียงพอต่อการใช้ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ การเบิก-จ่ายวัสดุครุภัณฑ์ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดตามแผนทุกกิจกรรมโครงการ 2.7) ด้านการบริหารระบบสารสนเทศ รายงานสรุปผลการวิเคราะห์การประเมิน QAของโรงพยาบาล ถูกต้อง ทันเวลา รพ.ทุกแห่งมีการวิเคราะห์และรายงานประเมินผลถูกต้อง ทันตามเวลาที่กำหนดไว้ 2.8) ด้านการเตรียมชุมชน -กำหนดจำนวนกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมและชัดเจน -สอบถามกลุ่มเป้าหมายที่ร่วมกิจกรรมโครงการในการเตรียมตัวก่อนเข้าร่วมฯ -การประชุมชี้แจงผู้บริหารทางการพยาบาลทุกโรงพยาบาลเกี่ยวกับการดำเนินการตามแผนกิจกรรม
11
องค์ประกอบที่ 3 การประเมินผลต้นทุน
องค์ประกอบที่ 3 การประเมินผลต้นทุน
12
องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ
องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 4.1) ขนาดของประชากรกลุ่มเป้าหมาย จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงานโครงการ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงานโครงการ เฉลี่ยร้อยละ 85 4.2) ระดับความรู้ ทัศนคติและ การปฏิบัติ แบบประเมิน KAP กลุ่มเป้าหมาย ยังไม่ได้มีการประเมิน สร้างแบบประเมิน KAP พร้อมวิเคราะห์ผลการประเมิน จัดให้มีการประเมิน KAP ทุกครั้งของกิจกรรมตามแผนงานโครงการ 4.3) ระบบสนับสนุนการให้บริการ ตาม 8 องค์ประกอบ - 4.4) ระดับความสามารถขององค์กร โครงสร้างการบริหารทางการพยาบาลของโรงพยาบาลและโครงสร้างงานบริการพยาบาลแต่ละงาน ขีดความสามารถของบุคลากรทางการพยาบาลในการจัดระบบการบริหารงาน โรงพยาบาลตราดซึ่งเป็นแม่ข่ายมีโครงสร้างการบริหารทางการพยาบาลที่ชัดเจนและงานบริการพยาบาลที่เป็นต้นแบบได้ โรงพยาบาลตราดเป็นที่ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงสร้างงานบริหารทางการพยาบาลและงานบริการพยาบาลให้กับโรงพยาบาลชุมชน จัดให้มีการศึกษาแลกเรียนรู้ในหน้างานบริการพยาบาลของโรงพยาบาลต้นแบบ
13
องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ
องค์ประกอบที่ 4 การประเมินผลความยั่งยืนของโครงการ หัวข้อประเมิน เครื่องมือประเมิน จุดเด่น โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง 4.5) ระบบสนับสนุนทางการเมือง (นโยบาย) นโยบายของกระทรวงฯ(สำนักการพยาบาล) ดำเนินงานสอดคล้องตามนโยบายของสำนักการพยาบาล 4.6) ทรัพยากรบุคคล ผู้บริหารทางการพยาบาลที่ผ่านการอบรมและมีประสบการณ์ มีคณะกรรมการQA ระดับจังหวัดที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ให้มีการถ่ายทอดความรู้ความเชี่ยวชาญให้กับโรงพยาบาลแบบ Benchmark จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.7) งบประมาณ รายรับ-รายจ่ายของโครงการ - 4.8) รายจ่ายโครงการ รายจ่ายต่ำหรือรายจ่ายสูง 4.9) ปัจจัยแวดล้อมภายนอก กิจกรรมที่ไม่สามารถดำเนินการได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.