ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
ยินดีต้อนรับ ผู้มาเยี่ยมเยียนทุกท่าน
2
ระบบการปฏิบัติงานของสำนักงานเกษตรอำเภอฝาง Smart Office
3
สำนักนักงานเกษตรอำเภอฝาง ยินดีต้อนรับเกษตรกรทุกท่าน
4
องค์ประกอบ smart offfice 4 มิติ
(Smart Extension Officer) 4.นักส่งเสริมการเกษตร 3. ระบบงาน 2. อุปกรณ์ 1. สถานที่
5
ข้อ1 สถานที่ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) รับบัตรคิว 2) รอรับบริการ
ภายในมีการจัดส่วนการให้บริการเคาน์เตอร์เซอร์วิส เพื่อความสะดวกต่อการปฏิบัติงาน สะอาด สวยงาม เป็นระเบียบ ภายนอกจัดต้นไม้ให้ร่มรื่น มีแปลงเรียนรู้พืชที่สำคัญของท้องถิ่น มีสถานที่จอดรถสำหรับผู้มารับบริการ และมีกระบวนการในการให้บริการ 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) รับบัตรคิว 2) รอรับบริการ 3) ให้บริการ 4)ประเมินความพึงพอใจ
6
ขั้นตอนการรับบริการ จุดที่ 1 รับบัตรคิว
จุดที่ 2 รอรับบริการ ประมาณ 5 นาที จุดที่ 3 เข้ารับบริการ ประมาณ นาที จุดที่ 4 แสดงความคิดเห็น
7
จุดที่ 1 รับบัตรคิว
8
จุดที่ 2 รอรับบริการ
9
จุดที่ 3 เข้ารับบริการ
10
จุดที่ 4 แสดงความคิดเห็น
11
ข้อ 2 อุปกรณ์ ประกอบด้วย อุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ Passbook เครื่องอ่านการ์ด เครื่องอ่านบาร์โค๊ด ฯลฯ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดต้องจัดเป็นระบบเครือข่ายเชื่อมโยงใช้ประโยชน์ข้อมูลร่วมกันได้ และต้องเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
12
เครื่องอ่านการ์ด ให้ใส่การ์ดทั้งเจ้าหน้าที่ผู้บันทึกและเกษตรกร
เครื่องอ่านการ์ด ให้ใส่การ์ดทั้งเจ้าหน้าที่ผู้บันทึกและเกษตรกร
13
ข้อ 3 ระบบงาน 1) ระบบการให้บริการ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ
ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1) ระบบการให้บริการ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ มีต้นแบบระบบ Thaismartfamer.net ( โดยใช้บัตรประจำตัวประชาชน Smart Card ในการเข้าถึงบริการ 4 ระบบ คือ 1. ตรวจสอบข้อมูลเกษตรกร (e-Check) 2. บริการให้กับประชาชน (e-Service) 3. เจ้าหน้าที่ต้นแบบ/เกษตรกรต้นแบบ (e-Contact) 4. ข้อมูลองค์ความรู้ (e-Knowledge)
14
ผู้บริหารจัดการในพื้นที่
2) ระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ MRCF ผู้บริหารจัดการในพื้นที่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง นักส่งเสริมการเกษตร Mapping M Remote sensing R Community Participation C Specific Field Service F MRCF พื้นที่ คน สินค้า
15
ข้อ 4 ผู้ให้บริการ Smart Farmer Smart Extension Officer
ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาการผลิตและกลุ่มอารักขาพืช ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ ฝ่ายบริหารและธุรการ Smart Farmer นายนิธิโรจน์ วันดี (ข้าว)
16
Smart Extension Officer
นายชูศักดิ์ เทพสาร เกษตรอำเภอฝาง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการพิเศษ
17
ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาการผลิต/กลุ่มอารักขาพืช
นายถวิล ทาศักดิ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอบตำบลแม่คะ หัวหน้าฝ่าย นายประเสริฐ พรหมวรรณ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอบตำบลสันทราย นางสาวกชพร สุนันต๊ะ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอบตำบลเวียง
18
ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร
นายรัศมี แสนนามวงษ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอนตำบลแม่งอน หัวหน้าฝ่าย นางศรีสุดา กันทะวงศ์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอบตำบลโป่งน้ำร้อน นางสาวเกศรินทร์ บุณนาค นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ รับผิดชอบตำบลแม่สูน นางสาวศรีแพร กองชัย เจ้าหน้าที่ประสานงานระดับพื้นที่ โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำงอน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
19
ฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
นายสงวน ปัญญาแก้ว เจ้าพนักงานการเกษตรชำนาญงาน รับผิดชอบตำบลม่อนปิ่น หัวหน้าฝ่าย นายเอกนรินทร์ ปินทะนา นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ รับผิดชอบตำบลแม่ข่า นางหทัยรัตน์ ทาเปง เจ้าพนักงานธุรการ รับผิดชอบงานธุรการและบันทึกข้อมูล
20
นางสาวภนาภรณ์ จี้ธรรม นักการภารโรง รับผิดชอบงานบริการ
ฝ่ายบริหารทั่วไป นางอำไพ เฃื้อเมืองพาน เจ้าพนักงานธุุรการปฏิบัติงาน รับผิดชอบงานธุรการและการเงิน นางสาวภนาภรณ์ จี้ธรรม นักการภารโรง รับผิดชอบงานบริการ
21
ถอดบทเรียน Smart Farmer ต้นแบบด้านการผลิตข้าว
ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ สู่โครงการเกษตรกรปราดเปรื่อง จังหวัด เชียงใหม่ โดย นาย นิธิโรจน์ วันดี
22
รับใบประกาศผ่านการฝึกอบรมชาวนาชั้นนำ
23
ขั้นตอนการเตรียมแปลงเพาะปลูก
24
ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์หยอดเมล็ดช้าว
25
ลักษณะการเจริญเติบโตของข้าวโดยใช้เครื่องหยอดเมล็ด
ค่าแรง นาดำ 800 บาทต่อไร่ เครื่องหยอดเมล็ด 50 บาทต่อไร่
26
การประชาสัมพันธ์ Smart Office สู่เกษตรกร
27
ประชาสัมพันธ์ Smart Office ผ่านวิทยุกระจายแห่งประเทศไทย สาขาอำเภอฝาง
28
ประชาสัมพันธ์ Smart Office ผ่านวิทยุกระจายแห่งประเทศไทย สาขาอำเภอฝาง
29
ขอขอบพระคุณที่รับชมการนำเสนอครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.