ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลัดดาวัลย์ สุขุม กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 สงขลา
2
กิจกรรมทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา ความปกติ ความผิดปกติ การสอบสวน ขอบเขตความผิดปกติ สาเหตุความผิดปกติ การศึกษาวิจัย ทดสอบสาเหตุความปกติ ทดสอบวิธีแก้ไขความผิดปกติ
3
การวิเคราะห์ ในทุกกิจกรรมสามารถเอาข้อมูลมาวิเคราะห์ได้ แต่วันนี้เราจะกล่าวถึงการวิเคราะห์ข้อมูลจากการเฝ้าระวัง
4
การวิเคราะห์สถานการณ์โรค
การเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ของโรคภัยที่สำคัญในพื้นที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา สามารถทราบทันทีที่สถานการณ์เริ่มผิดปกติและอาจสามารถคาดคะเนหรือพยากรณ์แนวโน้มของสถานการณ์ได้ เพื่อสามารถเตือนภัยบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
5
วิเคราะห์สถานการณ์โรค
เพื่อทราบสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังฯที่เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ เพื่อพยากรณ์หรือคาดคะเนแนวโน้มของโรคล่วงหน้า เพื่อเป็นเครื่องมือในการควบคุมกำกับข่ายงานเฝ้าระวังฯระดับพื้นที่ วัตถุประสงค์
6
การวิเคราะห์สถานการณ์คือแบบไหน
รูปแบบการวิเคราะห์ 1. วิเคราะห์การเกิดโรค (Disease occurence analysis) 2. วิเคราะห์การกระจายของโรค (Disease distribution analysis) เวลา (Time) สถานที่ (Place) บุคคล (Person) 3. วิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรค (Disease causation analysis) การวิเคราะห์สถานการณ์คือแบบไหน
7
วิเคราะห์การเกิดโรค (Disease occurence analysis)
วิเคราะห์เกี่ยวกับขนาดและความรุนแรงของโรค หรือปัญหาด้านสาธารณสุข เพื่อระบุว่าโรคใดที่เป็นปัญหา รวมถึงการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาที่ต้องแก้ไข วิธีวิเคราะห์ขึ้นอยู่กับ นิยามโรค (Definition) ขนาดปัญหา (Magnitude) ความรุนแรง (Severity)
8
นิยามโรค จำเป็นต้องมีเพื่อให้เข้าใจปัญหาตรงกัน
ปรับปรุงได้เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน เช่น มีความรู้ใหม่ เทคโนโลยี การตรวจดีขึ้น แบ่งตามระดับของโอกาสในการเป็นโรค สงสัย (Suspected): ประวัติ อาการ ตรวจร่างกาย น่าจะเป็น (Probable): ระดับสงสัยที่มีผล Lab เบื้องต้น ยืนยัน (Confirmed): ระดับสงสัยหรือน่าจะเป็นที่มีผล Labยืนยัน
9
นิยามผู้ป่วยไข้หวัดนก
ผู้ป่วยที่สงสัย (suspected) ไข้ ร่วมกับ Influenza like illness หรือ หายใจหอบเหนื่อยร่วมกับ ประวัติเสี่ยง ประวัติการสัมผัสสัตว์ปีกที่ป่วย หรือ ตาย ในระยะเวลา 7 วัน มีการตายของสัตว์ปีกอย่างผิดปกติในหมู่บ้าน ในรอบ 14 วัน ประวัติสัมผัสผู้ป่วยปอดบวม ใน 10 วัน ผู้ป่วยที่น่าจะเป็น (Probable) เป็นผู้ป่วยสงสัย และ ตรวจพบการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ A หรือ มีอาการระบบหายใจล้มเหลว หรือ เสียชีวิต ผู้ป่วยยืนยัน (Confirm) ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ กลุ่ม A (H5N1)
10
ขนาดปัญหา จำนวนผู้ป่วย (หรือจำนวนผู้เสียชีวิต)
เข้าใจง่าย อัตราป่วย (หรืออัตราตาย) ใช้เปรียบเทียบระหว่างประชากรแต่ละกลุ่ม ตัวตั้ง คือ จำนวนผู้ป่วย ตัวหาร คือ จำนวนประชากรผู้มีโอกาสเกิดโรค (Population at risk) นิยมแสดงเป็นจำนวน ต่อ 100,000 ประชากร จำนวนป่วยเป็นการบอกขนาดตามลำดับตามจำนวนผู้ป่วย
11
การเรียงลำดับความสำคัญ
โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ภาคใต้ พฤษภาคม 2546 อัตราป่วยสูงสุด 5 อันดับ จำนวนผู้ป่วยผิดปกติ จำนวน มัธยฐาน เดือนนี้ (39-43) ไข้เลือดออก , งูกัด เลปโตสไปโรซิส อหิวาตกโรค อัตราป่วย/แสน
12
อัตราป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวัง 5 อันดับ PCU หมอกจำแป่ อ. เมือง จ
(อัตราป่วย / พัน ปชก.) 36.05 27.88 27.28 25.82 17.9 15.38 15.85 13.54 10.82 8.76 7.55 6.77 4.57 4.66 2.1
13
ชนิดของการบอกขนาดปัญหา
อุบัติการ (Incidence) ผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง มักใช้กับโรคเฉียบพลัน (เป็นเร็วหายเร็ว) เช่น จำนวนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงในเดือน พ.ย. 2552 อัตราอุบัติการณ์ในช่วงการระบาด นิยมเรียก “Attack rate” ความชุก (Prevalence) ผู้ป่วย(ทั้งเก่าและใหม่)ที่ยังป่วยอยู่ ณ เวลาขณะใดขณะหนึ่ง มักใช้กับโรคเรื้อรัง (เป็นช้าหายช้า) เช่น จำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน ณ วันที่ 1 ธ.ค. 2552
14
ความรุนแรง (Severity)
อัตราป่วยตาย (Case-fatality rate) จำนวนของผู้เสียชีวิตจากโรค ต่อ จำนวนผู้ป่วยโรคดังกล่าวทั้งหมด อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ภาระโรค (YPLL, DALY, QALY) ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
15
อัตราการตาย ต่อประชากร (100,000 คน) จำแนกตามสาเหตุการตาย ภาคใต้ พ. ศ
อัตราการตาย ต่อประชากร (100,000 คน) จำแนกตามสาเหตุการตาย ภาคใต้ พ.ศ แหล่งข้อมูล : สำนักงานสถิติแห่งชาติ
17
การเรียงลำดับความสำคัญ
เป็นการจัดเรียงลำดับโรคหรือปัญหา โดยใช้ ขนาด (จำนวน/อัตราป่วย-ตาย/ดัชนีอื่น) ความรุนแรง (อัตราผู้ป่วยตาย/DALYs/ดัชนีอื่น) ความผิดปกติ (จำนวนที่มากกว่าค่ามาตรฐาน)
18
เวลา สถานที่ วิเคราะห์การกระจายของโรค (Disease distribution analysis)
การกระจาย (Distribution) ไม่ได้หมายถึง การกระจาย (แพร่) ของโรคจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง ซึ่งมักใช้คำว่า การถ่ายทอดโรค (Transmission) แทน บุคคล เพศ อายุ อาชีพ เวลา วันเริ่มป่วย วันพบผู้ป่วย สถานที่ หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด
19
วิเคราะห์การกระจายโรคตามเวลา
มักจะเป็นการตอบคำถามว่า เมื่อใดโรคเกิดมากและเมื่อใดโรคเกิดน้อย และที่โรคเกิดขึ้นในขณะนี้มากหรือน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับในอดีต ที่ผ่านมา อัตราป่วยเปลี่ยนแปลงตามเวลา ในการเปลี่ยนแปลงบางครั้งเกิดอย่าง สม่ำเสมอ สามารถทำนายได้ล่วงหน้า ใช้ในการติดตามว่าเหตุการณ์นั้นๆ มีอัตราป่วยเพิ่มขึ้นหรือลดลง เรา อาจจะสามารถบ่งชี้สาเหตุ และพฤติกรรม ที่ใช้ในการควบคุม หรือ ป้องกันการระบาดที่จะเกิดขึ้นได้
20
วิเคราะห์การกระจายโรคตามเวลา
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโรคตามฤดูกาล (Seasonal variation) ลักษณะการเกิดโรคที่มีผู้ป่วยจำนวนมากในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เหมือนหรือซ้ำกันหลายๆปี นิยมใช้กราฟเส้น 5 ปี จำแนกรายเดือน จึงจะเห็นรูปแบบที่เปลี่ยนไปอย่างซํ้า ๆ ในฤดูกาลนั้น ๆ (ปีเดียวไม่เพียงพอ) ซึ่งประโยชน์จะทำให้เราบอกได้อย่างมั่นใจชัดเจน “ ไม่ว่าปีที่ผู้ป่วยมาก-น้อย มักจะเพิ่มในช่วงเวลาเดียวกันนั่นเอง” จึงสามารถคาดการณ์การเกิดโรคได้อีกวิธีหนึ่ง
21
จำนวนป่วย โรคA จำแนกรายเดือน จังหวัดP พ.ศ.2553-2557
22
จำนวนป่วย โรคA จำแนกรายเดือน จังหวัดP พ.ศ.2553-2557
23
Seasonal variation of pneumonia case
Source:Report 506
26
Reported Cases of Mushroom Poisoning by Month, Thailand, 2000-2004
Outbreak prediction Source: Bureau of Epidemiology, Ministry of Public Health, Thailand
27
วิเคราะห์การกระจายโรคตามเวลา
วิเคราะห์แนวโน้มของโรค (Trend) ลักษณะการเกิดโรคที่มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นหรือลดลงในช่วงเวลาที่ทำการสังเกต การวิเคราะห์แนวโน้มเป็นวงจร(Cyclic Fluctuation) การวิเคราะห์แนวโน้มหลายๆปี (Secular Trend) การสัมพันธ์แนวโน้มกับเหตุการณ์ต่างๆ
29
รูปที่ 8 อัตราตายด้วยโรคสครับไทฟัส จำแนกรายปี เขต 1
ปี 2524 – 2550 เปรียบเทียบกับภาคเหนือและประเทศ Secular trend & Cyclical Fluctuation
30
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำแนกรายเดือน จังหวัด ค 2542 - 2547
จำนวน(ราย) 2542 2543 2544 2545 2546 2547
31
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคนโรค DF+DHF+DSS จำแนกรายปี ประเทศไทย พ. ศ
32
Rate /100,000 pop.of Pneumonia cases
การวิเคราะห์แนวโน้มหลายๆปี(secular trend)เป็นการพิจารณาแนวโน้มการเกิดโรคหลายๆปีย้อนหลังโดยการประเมินค่า การเกิดโรคของปีก่อนๆเพื่อดูแนวโน้มว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง และคาดคะเนแนวโน้มต่อไปในอนาคต Source:Report 506
33
อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของวัคซีนป้องกันโรคคอตีบ(%)ประเทศสิงคโปร์ พ.ศ.2489-2524
การสัมพันธ์แนวโน้มกับเหตุการณ์ต่างๆ โดยนำเสนอข้อมูลและเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน
34
ผู้ป่วยอหิวาตกโรคจำแนกตามวันเริ่มป่วย รายอำเภอ (ทั้งหมด 57 ราย)
แรงงานประมง ระลอกที่ 2 ปชช.ทั่วไป อาหารเสี่ยงทั้งอาหารทะเลและอาหารอื่นๆ แรงงานประมง ระลอกที่ 1 ปชช ทั่วไป
35
รูปที่ 1 จํานวนผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียนแห่งหนึ่ง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร จําแนกตามเวลาเริ่มป่วย
36
ประโยชน์ Trend ปีต่อไปมีแนวโน้มจะเพิ่มหรือลดอย่างไร
ใช้คาดคะเนสถานการณ์โรคล่วงหน้า Trend ปีต่อไปมีแนวโน้มจะเพิ่มหรือลดอย่างไร Cyclic/Pattern คาดว่าจะมีผู้ป่วยมาก-น้อยอีกในเวลาใด Seasonal จะมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในช่วงเวลาใดของปี การวางแผนควบคุม/ป้องกันโรคมีประสิทธิภาพ มีความเฉพาะเจาะจง/เหมาะสมกับช่วงเวลาเกิดโรค สามารถวางแผนรณรงค์ ควบคุมป้องกันเฉพาะช่วงเวลาได้ ประหยัดทรัพยากร(ป้องกัน>รักษา) ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกันโรคได้
37
วิเคราะห์การกระจายโรคตามสถานที่
มีความแตกต่างกันของปัญหาสาธารณสุขใน แต่ละพื้นที่จึงจำเป็นที่จะต้องวิเคราะห์การเกิดโรคตาม พื้นที่เพื่อรู้ปัญหาในพื้นที่รับผิดชอบ จะทำให้ สามารถแก้ปัญหาได้จำเพาะต่อพื้นที่นั้นๆ
38
ด้านลักษณะสถานที่ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเกิด การกระจายของโรคที่สัมพันธ์กับ สถานที่ สถานที่ หมายถึง สถานที่ที่ เริ่ม ป่วย การเปรียบเทียบระหว่างประเทศ การเปรียบเทียบระหว่างเขตเมือง และ เขตชนบท การเปรียบเทียบระหว่างภาค การเปรียบเทียบในเขตพื้นที่ธรรมชาติ การเปรียบเทียบการกระจายของโรค ในท้องถิ่น
39
คำถาม หมู่บ้าน ก. มีประชาชน 900 คน มีคนป่วย โรค X 54 คน
40
คำตอบ ข้อเท็จจริง ก็คือหมู่บ้าน ก. มีประชากรมากกว่า หมู่บ้าน ข. ก็น่าจะมีคนป่วยมากกว่า เป็นธรรมดา แต่ถ้าประชากรเท่ากันล่ะ หมู่บ้านไหนจะป่วยมากกว่ากัน งั้นเราลอง สมมติว่า ทั้งสองหมู่บ้านมีประชากรเท่ากัน คือ 1000 คน แล้วคิดเป็นอัตรา (ผู้ป่วย/ประชากร * 1000) ก็จะเท่ากับ หมู่บ้าน ก. 54/900 * 1000 =60 ( 60 คน ต่อประชากร 1000 คน) มาดูหมู่บ้าน ข. มั่ง 49/700 * 1000 =70 (70 คน ต่อประชากร 1000 คน) เห็นความแตกต่างแล้วใช่ไหมเอ่ย แบบนี้ยุติธรรมกว่ากันเยอะเลย แล้วเราก็รู้พื้นที่เสี่ยงชัดเจน ไม่หลงทางด้วย
41
อัตราป่วย/ประชากรพันคนด้วยโรคX จำแนกรายอำเภอ จังหวัดตัวอย่าง พ.ศ.2553
จำนวนผู้ป่วย จำนวนประชากร อัตราป่วย(ต่อประชากรพันคน) ก 85 32000 2.7 ข 51 5000 10.2 ค 12 8000 1.5 ง 11 12000 0.9 รวม 159 57000 2.8
42
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง
ผู้ป่วยโรคไทฟอยด์รายอำเภอ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2554 จำนวนผู้ป่วย (ราย) อัตราป่วย (ต่อปชก.แสนคน) เมือง สทิงพระ ระโนด บางกล่ำ จะนะ สิงหนคร ควนเนียง เทพา สะบ้าย้อย 10 20 30 40
43
การกระจายตามสถานที่ 1 จุด แทน ผู้ป่วยจำนวน 1 ราย ลงจุดในแผนที่
Spot map (การแสดงตำแหน่งผู้ป่วย) 1 จุด แทน ผู้ป่วยจำนวน 1 ราย ลงจุดในแผนที่ ดูการกระจายหรือเกาะกลุ่มผู้ป่วย Area map (แสดงขนาดปัญหาตามพื้นที่) คำนวณอัตราป่วยต่อพันหรือต่อแสนประชากร แบ่งอัตราป่วยเป็นอันตรภาคชั้น ลงสีในแผนที่โดยใช้ความเข้มจางตามอัตราป่วย เปรียบเทียบอัตราป่วยแต่ละพื้นที่
44
การกระจายของผู้ป่วยโรคอัมพาตใบหน้า
(facial palsy) อำเภอ ท. ระหว่าง มค.–กย. 2542 เส้นเขตตำบล แม่น้ำ อำเภอ ท. ผู้ป่วย 1 ราย
45
การกระจายของผู้ป่วย รายตำบล รายสัปดาห์ อ.เมืองสงขลา
อ.สิงหนคร ลูกเรือ 37 ราย ลูกเรือ wk ม.1 wk 43 . บ่อยาง wk 44 . เกาะยอ ม.8 ม.9 wk 45 . เขารูปช้าง . ม.4 wk 46 . ม.8 ม.5 ม.7 wk 47 อ.หาดใหญ่ . พะวง เกาะแต้ว wk 48 . wk 49 . ใน ปชช ทั่วไป แต่ละสัปดาห์ พบผู้ป่วยกระจายหลายพื้นที่ ทุ่งหวัง อ.จะนะ
46
จำนวนผู้ป่วยอหิวาตกโรค รายเดือน จำแนกตามหมู่และสัญชาติ อำเภอเมือง ปี 2550
Bangnon Khao Niwet Bangrin Pak Nam Aug Sep Oct Nov THAI FOREIGNER Ratchakrud
47
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามจังหวัด ปี 2552
48
การวิเคราะห์ข้อมูลตามสถานที่
49
ต่อเนื่องกัน 5 ปี(2553-2557) จำแนกรายอำเภอ 7 จังหวัด ภาคใต้ตอนล่าง
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคมือ เท้า ปาก ปี 2558 โดยพิจารณาจากพื้นที่ที่เกิดโรคมือ เท้า ปาก ต่อเนื่องกัน 5 ปี( ) จำแนกรายอำเภอ 7 จังหวัด ภาคใต้ตอนล่าง
50
วิเคราะห์การกระจายโรคตามบุคคล
การวิเคราะห์กลุ่มประชากรที่เสี่ยง การวิเคราะห์แนวโน้มการเกิดโรคในแต่ละกลุ่ม อายุ การวิเคราะห์แนวโน้มการเกิดโรคในแต่ละเพศ การวิเคราะห์แนวโน้มการเกิดโรคในแต่ละ อาชีพ ฯลฯ
51
การวิเคราะห์กลุ่มประชากรเสี่ยง
52
อัตราป่วย Hand Foot and Mouth Disease จำแนกตามอายุ(<5 ปี) ภาคใต้ตอนล่าง พ.ศ.2556 เปรียบเทียบ พ.ศ.2557 แหล่งข้อมูล: สำนักระบาดวิทยา
53
การวิเคราะห์กลุ่มประชากรเสี่ยง
54
รูปที่ 14 สัดส่วนโรคสครับไทฟัส จำแนกตามกลุ่มอาชีพ เขต 1
ปี 2550 เปรียบเทียบกับภาคเหนือและประเทศ
55
สัดส่วนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบเอ จำแนกตามอาชีพ จ. เชียงราย 1 มค. - 17 พค
สัดส่วนผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบเอ จำแนกตามอาชีพ จ.เชียงราย 1 มค พค. 48 55 55
56
สรุป : การกระจายของโรค
สรุป : การกระจายของโรค เป็นการแสดงกลุ่มของการเกิดโรค นับผู้ป่วย ณ จุดที่เริ่มป่วย โดยมีวิธีนับ 3 มิติ (บุคคล, เวลา, สถานที่) บุคคล แบ่งตามคุณลักษณะประจำตัว (เพศ, อายุ, อาชีพ, ..) แบ่งตามกิจกรรม(งาน, กีฬา, ศาสนา) แบ่งตามฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม สถานที่ แบ่งตามธรรมชาติ(จำนวนประชากร, ภูมิประเทศ, ป่าไม้) แบ่งตามเขตการปกครอง เวลา การเปลี่ยนแปลงระยะยาว การเปลี่ยนแปลงเป็นรอบ การเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
57
การเตรียมการก่อนการวิเคราะห์
1. ตรวจสอบความพร้อมของข้อมูล ข้อมูลปัจจุบัน ข้อมูลมาตรฐาน (ค่าตัวแทนของข้อมูลในอดีต) ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. ตรวจสอบการเรียบเรียงข้อมูล การประมวลผลข้อมูล (ความผิดปกติของตัวเลข) การนำเสนอข้อมูล 3. การคำนวณค่าดัชนีที่ใช้ในการเปรียบเทียบ เตรียมพร้อมก่อนที่จะวิเคราะห์
58
การตรวจสอบความพร้อมของข้อมูล
ข้อมูลระบบเฝ้าระวังฯในอดีต ข้อมูลระบบเฝ้าระวังฯในปัจจุบัน ข้อมูลประกอบ อื่น ๆ ตรวจสอบจำนวนโรค,จำนวนปีที่มี ตรวจสอบการรวบรวม ตรวจสอบรายการ และที่มา จัดทำค่ามาตรฐาน (median, mean,..) แหล่งข้อมูลที่รายงาน ความทันเวลา คัดเลือกข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง ความทันสมัย ในส่วนของข้อมูลดูอะไรบ้าง
59
การวิเคราะห์สาเหตุการเกิดโรค
จากระบบรายงานเฉพาะโรค ข้อมูลเพิ่มจากการสอบสวนโรค การวิจัย การเฝ้าระวังบอกความมากน้อยของปัจจัย การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
60
การวิเคราะห์สถานการณ์
เป็นการวิเคราะห์โดยใช้เวลาในปัจจุบันเป็นหลัก เน้นความทันเวลา มากกว่า ความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูล เรียงลำดับความสำคัญ นำโรคทั้งหมดมาจัดลำดับตาม เกณฑ์ ตรวจจับการระบาด หาโรคที่ผิดปกติ คาดคะเนแนวโน้ม โรคที่ผิดปกติมีแนวโน้มอย่างไร วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยง โรคที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น พื้นที่ใดเสี่ยง วิเคราะห์กลุ่มเสี่ยง โรคที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ใครคือกลุ่มเสี่ยง
61
โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ภาคเหนือ พฤษภาคม 2544
โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยาที่สำคัญ ภาคเหนือ พฤษภาคม 2544 อัตราป่วยสูงสุด 5 อันดับ จำนวนผู้ป่วย มัธยฐาน เดือนนี้ ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ ชิคุนกุนยา อุจจาระร่วง อัตราป่วย/แสน
62
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเป็นรายเดือน จังหวัด ……. เปรียบเทียบ พ. ศ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกเป็นรายเดือน จังหวัด …….. เปรียบเทียบ พ.ศ กับ ค่ามัธยฐาน ( )
66
การใช้ประโยชน์ข้อมูล
ใช้คาดคะเนสถานการณ์ล่วงหน้า Trend :ปีต่อไปมีแนวโน้มจะเพิ่มหรือลดลง Cycle/pattern : คาดว่าจะมีผู้ป่วยมาก-น้อย ในเวลาใด Seasonal : จะมีผู้ป่วยเพิ่มในช่วงเวลาใดของปี การวางแผนป้องกัน/ควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ มีความเฉพาะเจาะจงหรือเหมาะสมกับช่วงเวลาที่เกิด มีความทันต่อเหตุการณ์ ประหยัดทรัพยากร วางแผนรณรงค์ ป้องกันควบคุมเข้มเฉพาะช่วงเวลาได้ ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกันโรคและบริการสาธารณสุขต่างๆ ได้
67
การกระจายข่าวสาร การกระจายข้อมูลข่าวสาร (การเผยแพร่รายงานเฝ้าระวังฯประจำเดือน) 1. ในการประชุมประจำเดือนของหน่วยงานสาธารณสุขทุกแห่ง 2. ส่งให้กับหัวหน้าหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ/ทุกแห่ง 3. ทาง Website 4. ทางประชาสัมพันธ์ / สื่อมวลชน
68
รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
รายงานวิชาการทางระบาดวิทยาที่แสดง สถานการณ์และแนวโน้มของโรคที่เฝ้า ระวังฯ รวมถึงอธิบายลักษณะทาง ระบาดวิทยาเชิงพรรณนาที่จำเป็น เป็นรายงานที่ แสดงความปกติและผิดปกติของการเกิด โรคที่เฝ้าระวังฯ แสดงรายละเอียดทางระบาดวิทยาของการ เกิดโรค เสนอแนะมาตรการ /วิธีการแก้ไขปัญหา
69
รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริหารหน่วยงานสาธารณสุข ผู้ปฏิบัติงานทางการแพทย์ และ สาธารณสุข หน่วยงานวิชาการและ สถาบันการศึกษา สื่อมวลชน ประชาชน ? ปัญหาสำคัญอะไร - ที่ไหน, เพิ่มขึ้น/ลดลง, ข้อเสนอแนะเพื่อสั่งการ (ข่าวกรอง+ สั้น) ลำดับปัญหาที่สำคัญ, รายละเอียดทางระบาดวิทยาที่จำเป็น, ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงาน รายละเอียดทางระบาดวิทยาครบถ้วน (ข้อมูลมาก - นำเสนอดี) ปัญหาใหม่/รุนแรง/ประเด็นเดียว, ลักษณะโรคสั้น ๆ, วิธีป้องกันสำหรับประชาชน
70
โครงร่างรายงานแต่ละประเภท
เนื้อหา รง.ประจำ วัน, สัปดาห์ รง.ประจำ เดือน รง.เฉพาะกิจ,ประจำปี ข่าวสถาน การณ์โรค บทนำ แหล่งข้อมูล ลักษณะโรค Highlight เนื้อเรื่อง 1. โรค โรคเร่งด่วน หลายโรค โรคเดียว/รวม โรคเดียว - ขนาด/ความรุนแรง + - สถานที่ - เวลา + / - - บุคคล - - ตัวแปรอื่น 2. กิจกรรม/ผลงาน 3. เรื่องอื่นๆ สรุป – สรุป / แนวโน้ม - ข้อเสนอแนะ รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา รายงานสถานการณ์ฯ ประจำวัน หรือสัปดาห์ (เช่น รง.ประจำวันโรคไข้หวัดนก, รง.โรคไข้เลือดออกประจำสัปดาห์) รายงานสถานการณ์ฯ ประจำเดือน (เช่น รง.ประจำเดือนของจังหวัด, สำนักงานป้องกันควบคุมโรค) รายงานสถานการณ์ฯ ประจำปี รายงานเฉพาะกิจ (เมื่อมีการระบาดของโรค) ข่าวสถานการณ์โรคสำหรับประชาชน รายงานเฝ้าระวังฯเฉพาะกิจ / ประจำปี บทนำ - ที่มาของข้อมูลที่นำมาเสนอ - (ย่อลักษณะโรค) เนื้อเรื่อง 1) สถานการณ์และลักษณะทางระบาดวิทยาของโรคที่เฝ้าระวังฯ - ขนาดและความรุนแรง - บุคคล - เวลา - สถานที่ - อื่นๆ เช่น เชื้อที่เป็นสาเหตุฯ 2) ผลงานการป้องกันควบคุมโรค สรุปและข้อเสนอแนะ - สิ่งที่ควรดำเนินการต่อ
71
การนำเสนอข้อมูลในรายงานแต่ละประเภท
เนื้อหา รง.ประจำ วัน, สัปดาห์ รง.ประจำ เดือน รง.เฉพาะกิจ,ประจำปี ข่าวสถาน การณ์โรค - ขนาด/ความรุนแรง บทความ - สถานที่ ตาราง แผนที่ - เวลา Epidemic curve กราฟเส้น + median - บุคคล - แผนภูมิแท่ง - ตัวแปรอื่น ตามความเหมาะสมกับข้อมูล รายงานเฝ้าระวังฯประจำเดือน บทนำ - ที่มาของข้อมูลที่นำมาเสนอ เนื้อเรื่อง 1) กิจกรรมทางระบาดวิทยา - การส่งบัตร รง.506/507 - การนำวัตถุตัวอย่างส่งตรวจ - การสอบสวนโรค 2) สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังฯ - จัดอันดับโรคที่สำคัญ - โรคที่มีแนวโน้มผิดปกติ - พื้นที่เสี่ยง 3) เรื่องอื่น ๆ สรุปและข้อเสนอแนะ 1) การเร่งรัดข้อมูล 2) การป้องกันควบคุมโรคที่ควรดำเนินการ
72
จัดอันดับ ขนาด เน้นความสำคัญ ความรุนแรง แนวโน้ม เวลา พื้นที่เสี่ยง
สถานที่ บุคคล อื่น ๆ เชื้อ แหล่งโรค ฯ จัดอันดับ เน้นความสำคัญ แนวโน้ม พื้นที่เสี่ยง กลุ่มเสี่ยง การป้องกันควบคุม
73
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.