งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับเสนอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในคราวประชุมครั้งที่ 9/2559 วันที่ 17 กันยายน 2559

2 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1. ครม. เห็นชอบการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปี 2560 2. กองแผนงาน ทบทวนปรับปรุงกลยุทธ์ ผลผลิต โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด 3. เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ มข. กับยุทธศาสตร์ชาติ 17 ก.ย.59 เสนอแผนปฏิบัติการและงบประมาณ ปี 2560 ต่อที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัย และคณะ/หน่วยงาน จัดทำร่างแผนปฏิบัติการประจำปี 2560 ที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์การบริหาร ( ) กองแผนงาน จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิเคราะห์ความเสี่ยง การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ การวิเคราะห์งบประมาณ กองแผนงาน วิเคราะห์กรอบวงเงิน งปม. โครงการตามยุทธศาสตร์ จัดประชุมผู้บริหารเพื่อกำหนดโครงการปี 2560 มหาวิทยาลัยเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ถ่ายทอดแผนสู่การปฏิบัติ 7 เม.ย. 59 ชี้แจงการจัดทำแผนและแผนงบประมาณ กรอบทิศทางแผนปี 2560 การจัดทำงบประมาณ ปี 2560 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ปี 58 ปี 59 22 ส.ค.59 เสนอแผนปฏิบัติการและงบประมาณ ปี 2560 ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร /อธิการบดีเห็นชอบแนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ปี 2560 กองแผนงาน ส่งกรอบวงเงินอุดหนุนจากรัฐ ปี 2560 กองแผนงาน จัดทำกรอบวงเงินงบรายได้ ปี 2560 คณะ/หน่วยงานวิเคราะห์ SWOT จัดทำกรอบวงเงินแผ่นดินขั้นต่ำ เตรียมข้อมูลชี้แจงรายละเอียดงบประมาณ ปี 2560 ต่อคณะกรรมาธิการงบประมาณ คณะ/หน่วยงาน จัดทำรายละเอียดงบประมาณ(เงินแผ่นดิน+รายได้) คณะ/หน่วยงาน ส่งคำของบประมาณ ปี 2560 ภายใน 30 มิ.ย.59 จัดประชุมชี้แจง รับฟังความคิดเห็น จากกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คณะ/หน่วยงาน จัดส่งแผนปฏิบัติการ ปี 2560 ภายใน 31 ต.ค.59

3 มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำระดับโลก
วิสัยทัศน์ World Class Research University “ได้รับการยอมรับจากสถาบันอุดมศึกษาและองค์กรระหว่างประเทศ มีผลของการจัดอันดับ ของมหาวิทยาลัยอยู่ในลำดับที่สูง คือ อันดับ 1 ใน 80 ของเอเชีย และ อันดับ 1 ใน 400 ของโลก เมื่อพิจารณาจากคุณภาพบัณฑิต คุณภาพงานวิจัย ความเป็นนานาชาติ และความมีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย จากการจัดอันดับจากองค์กรประเมินคุณภาพทั้งภายในประเทศและนานาชาติ รวมถึงการพัฒนาตนเองให้เป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำ มหาวิทยาลัยที่มีการบริหารจัดการที่ดี มหาวิทยาลัยคุณภาพ มหาวิทยาลัยของชุมชน”

4 เสาหลักของยุทธศาสตร์ (Strategic Pillar)
เสาหลักที่ 1 : Green and Smart Campus เสาหลักที่ 2 : Excellence Academy เสาหลักที่ 3 : Culture and Care Community เสาหลักที่ 4 : Creative Economy and Society  1 ใน 80 ของเอเชีย 1 ใน 400 ของโลก หมายเหตุ : ที่มาเสาหลักของยุทธศาสตร์ มาจาก ประกาศสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 6/2557 เรื่อง พันธกิจและนโยบายในการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ.2558 – 2562)

5 เป้าหมายการดำเนินงานของ ม.ขอนแก่น ปี พ.ศ.2560
ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1) จำนวนหลักสูตรใหม่ 5 หลักสูตร 2) หลักสูตรทั้งหมด 343 หลักสูตร 3) จำนวนนักศึกษาใหม่ 9,920 คน 4) จำนวนนักศึกษาทั้งหมด 39,866 คน 5) จำนวนนักเรียนโรงเรียนสาธิต 4,491 คน 6) จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา 8,434 คน 7) ร้อยละการได้งานทำงานของบัณฑิต >90 8) ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 9) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำในตลาด อาเซียน ร้อยละ 12 10) ร้อยละของนักศึกษาต่างชาติ (ป.ตรี/ป.บัณฑิต) ร้อยละ 2 11) จำนวนคณะวิชาใหม่ที่จัดตั้งขึ้น 1 คณะ ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1) จำนวนผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ แก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ 160 เรื่อง 2) จำนวนงานวิจัยเพื่อสร้างสะสม องค์ความรู้ 115 โครงการ 3) จำนวนโครงการวิจัยที่ใช้ผลงานวิจัยไป แก้ปัญหาเชิงพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรมและ ได้รับการยอมรับในระดับประเทศ 4 เรื่อง 4) จำนวนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมสู่ เชิงพาณิชย์ 4 โครงการ 5) จำนวนสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร และลิขสิทธิ์ 400 รายการ 6) จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal ระดับชาติ/นานาชาติ 5,000 บทความ 7) ทุนวิจัย/งบประมาณด้านการวิจัย >800 ล้านบาท

6 เป้าหมายการดำเนินงานของ ม.ขอนแก่น ปี พ.ศ.2560 (ต่อ)
ด้านการบริการวิชาการ และการรักษาพยาบาล ด้านการบริหารจัดการองค์กร/ การพัฒนาพื้นที่สีเขียว ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวนส่วนงาน/หน่วยงานที่มีการปรับปรุง โครงสร้าง >5 หน่วยงาน 2) ร้อยละของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการ ร้อยละ 63 3) ร้อยละของอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ 69 4) ปริมาณไฟฟ้ารวมที่ลดลง ร้อยละ 5 5) อาคารเรียน ห้องปฏิบัติการที่ได้รับการปรับปรุง ไม่น้อยกว่า 5 อาคาร 6) ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวันได้รับการจัดการ และนำกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 70 7) พื้นที่สีเขียว และสวนสาธารณะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 30 ตัวชี้วัด เป้าหมาย จำนวนชุมชนที่ได้รับบริการอย่างบูรณาการ สาขาวิชาต่างๆ 10 ชุมชน 2) จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการแก่ สังคม 300 โครงการ 3) จำนวนผู้เข้ารับบริการ 800,000 4) จำนวนผู้ป่วยนอก 850,000 ราย 5) จำนวนผู้ป่วยใน 65,000 ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1) จำนวนงานวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรม ร้อยละ 5 2) จำนวนโครงการที่ได้รับการยอมรับว่าเป็น ผู้นำในการอนุรักษ์และประยุกต์ใช้ศิลปะ และวัฒนธรรม 5 โครงการ

7 ทั้งหมด 129 โครงการ รวมจำนวนโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 10
วิสัยทัศน์ : มหาวิทยาลัยวิจัยชั้นนำระดับโลก เสาหลักที่ 1 Green and Smart Campus เสาหลักที่ 4 Creative Economy and Society เสาหลักที่ 2 Excellence Academy เสาหลักที่ 3 Culture and care Community ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนา การเป็น มหาวิทยาลัย สีเขียว ยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา ว.หนองคายเป็นประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ยุทธศาสตร์ที่ 5 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต ยุทธศาสตร์ที่ 6 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นสากล ยุทธศาสตร์ที่ 8 เป็นศูนย์กลางการทำนุบำรุงศิลปะ วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9 เป็นองค์กรที่มีความห่วงใยต่อสังคม ยุทธศาสตร์ที่ 10 ศูนย์กลางของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ของภูมิภาค 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ 7 กลยุทธ์ 15 โครงการ 7 กลยุทธ์ 21 โครงการ 3 กลยุทธ์ 8 โครงการ 5 กลยุทธ์ 22 โครงการ 4 กลยุทธ์ 17 โครงการ 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ 2 กลยุทธ์ 5 โครงการ 3 กลยุทธ์ 11 โครงการ 3 กลยุทธ์ 6 โครงการ รวมจำนวนโครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ทั้งหมด 129 โครงการ

8 Green and Smart Campus เสาหลักที่ 1
เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ความพึงพอใจของ นศ. และบุคลากรต่อการจัดการสภาพแวดล้อม ร้อยละ 80 พื้นที่สีเขียวของ มข. ร้อยละ 30 เสาหลักที่ 1 Green and Smart Campus ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว ( 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ) การจัดทำผังเฉพาะพื้นที่ จัดข้อมูลพื้นฐานของบัญชีก๊าซเรือนกระจกของแต่ละหน่วยงาน ปรับปรุงลานจอดรถ (หน้าอาคารสิริคุณากร สวนรุกขชาติ สโมสรนักศึกษา ฯ) ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง แบบ Indoor GIS ยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นอุทยานการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสังคม ( 7 กลยุทธ์ 15 โครงการ) พัฒนาเครือข่าย/ระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น ระบบสารสนเทศการบริหาร ระบบจัดเก็บเอกสาร ฯลฯ การเพิ่มประสิทธิภาพ E-Learning ปรับปรุงระบบอากาศสำนักหอสมุด และอาคารสารสนเทศ ระบบ Wifi ที่มีประสิทธิภาพ ความเร็วสูง ครอบคลุมทุกอาคาร ห้องเรียน หอพัก ความพึงพอใจผู้ใช้บริการแหล่งเรียนรู้ทุกประเภท ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ผลการประเมินการกำกับดูแลองค์กรที่ดี ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย (ปปช.) จำนวนอุบัติเหตุการจราจรภายใน มข. ลดลง ร้อยละ 20 ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ( 7 กลยุทธ์ 21 โครงการ) เตรียมความพร้อมผู้บริหารระดับสูง ระดับกลาง การพัฒนาการประกันคุณภาพระดับคณะ/สถาบัน (EdPex) ติดตั้งระบบเตือนภัยในพื้นที่สำคัญ ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) รณรงค์ ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ สร้างจิตสำนึกด้านวิจัยจราจร ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนา ว.หนองคายเป็นประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ( 3 กลยุทธ์ 9 โครงการ) เพิ่มหลักสูตรขาดแคลน และเป็นความต้องการของพื้นที่ เช่น หลักสูตรนิติศาสตร์ หลักสูตรพยาบาลศาสตร์ ปรับปรุงอาคารเรียนรวมและปฏิบัติการ 2 วิทยาเขตหนองคาย การจัดตั้งโรงเรียนสาธิต มข. ณ วิทยาเขตหนองคาย จำนวนงานวิจัยเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 จำนวนนักศึกษาใหม่ที่รับเข้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 95 จำนวนหลักสูตรใหม่ที่เพิ่มขึ้น 2 หลักสูตร

9 เสาหลักที่ 2 Excellence Academy
เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ เป้าหมาย เสาหลักที่ 2 Excellence Academy ยุทธศาสตร์ที่ 5 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการผลิตบัณฑิต ( 5 กลยุทธ์ 22 โครงการ) พัฒนาหลักสูตรใหม่ที่เป็นความต้องการของประเทศ/หลักสูตรนานาชาติ เช่น หลักสูตรเกษตรแผนใหม่ การจัดการเศรษฐศาสตร์ การจัดการน้ำแบบครบวงจร วิศวการขนส่ง และระบบราง โครงการพัฒนาต้นแบบห้องเรียนรู้ (Smart Classroom) โครงการสนับสนุนฟื้นฟูความสัมพันธ์ และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาค(สหกิจศึกษา) บัณฑิตที่มีงานทำและศึกษาต่อ >ร้อยละ 90 บัณฑิตที่ได้งานทำในตลาดอาเซียน ร้อยละ 12 ความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิต >ร้อยละ 85 ยุทธศาสตร์ที่ 6 เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการวิจัย (4 กลยุทธ์ 17 โครงการ) ส่งเสริม และผลักดันให้เกิดงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ นวัตกรรมและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น วิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีโดยผลิตผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน แก้ปัญหาชุมชน สังคม และประเทศ เช่น โครงการวิจัยพัฒนาแบตเตอรี่ วิจัยการ พัฒนายางนา วิจัยพัฒนาไหมทนร้อน วิจัยโคทนร้อน วิจัยข้าวทนเค็ม วิจัยแก้ไข ปัญหาดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับ และมะเร็งท่อน้ำดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลงานวิจัย/โครงการที่แก้ปัญหาเชิงพื้นที่เป็นที่ยอมรับระดับประเทศ ไม่น้อยกว่า 4 โครงการ ผลงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ฯ ไม่น้อยกว่า 160 โครงการ จำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในฐานข้อมูล SCOPUS/ISI ต่องานวิจัยทั้งหมด ร้อยละ 60 ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นสากล ( 3 กลยุทธ์ 12 โครงการ) โครงการเจรจาธุรกิจสำหรับผู้บริหาร(คณะ/หน่วยงาน) โครงการเพิ่มจำนวนนักศึกษาต่างชาติเชิงรุก พัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านภาษาอังกฤษ เพิ่มศักยภาพอาจารย์ บุคลากรเพื่อเตรียมสู่ประชาคมอาเซียนและ มุ่งสู่ระดับสากล Capacity Building f๐r staff (การอบรมภาษาอังกฤษ) ความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสี่ยง 200 อันดับแรกของโลก 10 แห่ง จำนวนนักศึกษาต่างชาติระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา มากกว่า 500 คน ผลการประเมินในระดับสาขาวิชาที่ได้รับการจัดอันดับในระดับนานาชาติที่ติด 1 ใน 400 ของโลก ไม่น้อยกว่า 8 สาขา

10 Culture and care Community
เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ เป้าหมาย เสาหลักที่ 3 Culture and care Community ยุทธศาสตร์ที่ 8 เป็นศูนย์กลางการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ( 2 กลยุทธ์ 5 โครงการ) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ และสืบทอดศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม เช่น งานบุญประเพณี วันสำคัญทางศาสนา โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ สนับสนุนการศึกษา วิจัย บูรณาการองค์ความรู้ของนักศึกษาและบุคลากร เพื่อการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ส่งเสริม พัฒนา และเพิ่มคุณค่าของศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น งานวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่เพิ่มขึ้นและจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จากฐานงานวิจัยทั้งหมดของมหาวิทยาลัย ร้อยละ 5 โครงการที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และประยุกต์ใช้ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน 4 โครงการ ยุทธศาสตร์ที่ 9 เป็นองค์กรที่มีความห่วงใยต่อสังคม ( 3 กลยุทธ์ 11 โครงการ) ขยายพื้นที่โครงการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขและการศึกษาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม ประกอบด้วย - โครงการพัฒนาการคิดขั้นสูงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนในเขตพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - โครงการแก้ปัญหาความยากจนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง - โครงการแก้ไขปัญหาโรคไตในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมชนที่ได้รับการบริการจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นอย่างบูรณาการสาขาวิชาต่างๆ 10 ชุมชน ให้บริการพัฒนาทรัพยากรมุนษย์ทั้งในแง่ของการฝึกอบรมและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานต่างๆ 10 หน่วยงาน

11 Creative economy and Society
เสาหลักของยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์/โครงการสำคัญ เป้าหมาย เสาหลักที่ 4 Creative economy and Society ยุทธศาสตร์ที่ 10 ศูนย์กลางของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของภูมิภาค (3 กลยุทธ์ 6 โครงการ) จัดกิจกรรมการประกวดความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา บ่มเพาะผู้ประกอบการที่มีความพร้อมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างมูลค่าเพิ่มสู่ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ มีพื้นที่ที่จะนำเอาศิลปวัฒนธรรม ความรู้ และภูมิปัญญา อีสานมาเรียนรู้และสร้างสรรค์ให้เกิดมูลค่าเพิ่ม (Creative Space) 2 แห่ง ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ได้รับการออกแบบและส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มจากศิลปวัฒนธรรมอีสาน 25 ผลิตภัณฑ์


ดาวน์โหลด ppt แผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google