งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัดที่ 5.2 การดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2 ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ
ส่วนที่ 1 : บทวิเคราะห์ภาพรวมของกระทรวง : 1.4 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และภารกิจของกระทรวงในอนาคต แบบฟอร์ม Portfolio Analysis : สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ แข็งแรง ปานกลาง อ่อนแอ พัฒนายุทธศาสตร์การบริหารของกระทรวง สูง Out Source ให้เอกชนดำเนินการ รับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการ ฝึกอบรม 210 อัตรา 164 อัตรา ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ ให้ศูนย์ทดสอบเอกชนดำเนินการ ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ในสาขาที่มีความพร้อม กลาง ต่ำ หมายเหตุ : 1. แกนตั้ง “ระดับความสำคัญทางยุทธศาสตร์ต่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ” หมายถึง ภารกิจนั้น ๆ แนวโน้มในอนาคตยังคงมีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศอยู่หรือไม่ หรือความสำคัญจะลดลง โดยมีเทคโนโลยีหรือภารกิจแบบใหม่เข้ามาทดแทน แกนนอน “ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ” หมายถึง ความพร้อมหรือขีดความสามารถ (capacity) ขององค์การในการดำเนินภารกิจนั้น ๆ (สามารถใช้ผลการวิเคราะห์หัวข้อ 1.3 ประกอบการพิจารณา) ในการวิเคราะห์ให้พิจารณาจากภารกิจหลักไม่เกิน 5 ภารกิจหลัก (เป็นผลจากข้อมูลหัวข้อ และ 2.2.1) ขนาดของ bubble แสดงถึงจำนวนอัตรากำลังของภารกิจ/งานนั้น ๆ

3 ปัจจุบัน ข้อเสนอ กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม 2.2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและอัตรากำลังที่จะรองรับบทบาทภารกิจใหม่ในอนาคต ปัจจุบัน ข้อเสนอ อัตรากำลัง ข้าราชการ 1,326 ลูกจ้างประจำ 712 พนักงานราชการ 708 อัตรากำลัง ข้าราชการ 1,326 ลูกจ้างประจำ 712 พนักงานราชการ 708 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มตรวจสอบภายใน กองพัฒนาศักยภาพแรงงานและผู้ประกอบกิจการ ส่วนกลาง กลุ่มตรวจสอบภายใน กองพัฒนาศักยภาพแรงงาน และผู้ประกอบกิจการ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กลุ่มกฎหมาย สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก กองกฎหมาย สำนักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก สำนักงานเลขานุการกรม สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน สำนักงานเลขานุการกรม สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กองบริหารการคลัง กองบริหารการคลัง สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน กองแผนงานและสารสนเทศ กองบริหารทรัพยากรบุคคล ศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กองบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานรับรองความรู้ความสามารถ ส่วนภูมิภาค กองแผนงานและสารสนเทศ หน่วยงานที่จัดตั้งตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ พ.ศ. 2559 สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หน่วยงานที่จัดตั้งตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ พ.ศ. 2559 สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 52 แห่ง หน่วยงานที่ขอจัดตั้งให้ปรากฏ ในกฎกระทรวง

4 ภารกิจ 1 (กิจกรรม 1 : งานกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - จัดทำและพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติในสาขาอาชีพหลัก - ส่งเสริมการจัดทำและการใช้มาตรฐานผู้ประกอบอาชีพ ภารกิจ 1 (กิจกรรม 1 : งานกำหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน) - กำกับดูแลการดำเนินงานของศูนย์ทดสอบฯ ให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ - กำหนดสาขาอาชีพที่จะให้ศูนย์ทดสอบเอกชนเป็นผู้ดำเนินการ ให้สมาคมวิชาชีพ/อาชีพเป็นผู้ดำเนินการด้านการพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน ฝึกอบรม และทดสอบ โดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงานเป็นหน่วยกำกับดูแลด้านคุณภาพและธรรมาภิบาล ภารกิจ 1 (กิจกรรม 2 : งานส่งเสริมการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน) ภารกิจ 1 (กิจกรรม 4 : งานพัฒนาระบบมาตรฐานฝีมือแรงงาน) - ยกระดับระบบ e-testing ให้ครอบคลุมมาตรฐานฝีมือแรงงานทุกสาขา สามารถใช้งานได้ง่าย

5 ) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 1 : งานพัฒนาระบบฝึก
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - พัฒนาระบบรูปแบบการฝึก ให้สอดคล้องกับหลักสูตร เอกสาร ประกอบการฝึกและสื่อการฝึก โดยใช้ระบบบริหารการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (CMI) ภายใต้รูปแบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) - กำกับการดำเนินงานของศูนย์ฝึกอบรม ให้เป็นไปตามระบบประกันคุณภาพ - ออกวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-certificate) ) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 1 : งานพัฒนาระบบฝึก ภารกิจ 2 (กิจกรรม 3 : งานพัฒนาหลักสูตรและเทคโนโลยีการฝึก) - พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร เอกสารประกอบการฝึกอบรมและสื่อการฝึกตามความสามารถและ time base (E-learning/CBT/KM) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 5: งานพัฒนาวิทยากรต้นแบบ) - พัฒนาวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน - ส่งเสริมให้มีวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน - ดำเนินการฝึกอบรมให้แก่แรงงาน กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และแรงงานในสถานประกอบกิจการ - ดำเนินการฝึกร่วมกับสถานประกอบกิจการในสาขาที่สถานประกอบกิจการมีความพร้อมด้านอุปกรณ์และเครื่องจักร ครูฝึกหรือผู้เชี่ยวชาญ สาขาที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง (High-technology) ภารกิจ 2 (กิจกรรม 6: งานฝึกอบรม)

6 ภารกิจ 3 (กิจกรรม 1 : งานบริหารกองทุน)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - วางระบบการยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) - นำเทคโนโลยี Internet of Thing มาใช้กับผู้เกี่ยวข้องในทุกระดับ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และบริหารจัดการระบบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด - วางระบบการยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) และ นำระบบ e-Payment มาใช้ในการชำระเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ภารกิจ 3 (กิจกรรม 1 : งานบริหารกองทุน)

7 ภารกิจ 3 (กิจกรรม 2 : งานส่งเสริมและรองรับสิทธิประโยชน์)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - Outsource ให้หน่วยงานเอกชนที่ได้รับการยอมรับเป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของหลักสูตรและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการที่เข้าข่ายตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ และกรมเป็นผู้ออกหนังสือรับรองให้แก่สถานประกอบกิจการในฐานะนายทะเบียน - ขยายระบบ e-Service การยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ให้ครอบคลุมทุกประเภทการฝึก (ปัจจุบันยื่นผ่านระบบ e-Service ได้เฉพาะการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ) - จัดทำระบบ e-Service ระบบการตรวจสอบข้อมูลสำหรับสถานประกอบกิจการ เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลผลการยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมและการประเมินเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน - วางระบบการติดตามการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ครอบคลุมทุกหลักสูตร ทุกรุ่น ตามแผนการฝึกอบรมของสถานประกอบกิจการ ผ่านระบบ conference /แบบ Real time - พัฒนาระบบ e-service ในรูปแบบของ website/mobile application โดยพัฒนากระบวนการตั้งแต่ต้นกระบวนการจนสิ้นสุดกระบวนการ (end-to-end process) - ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับรูปแบบการทำงานในอนาคตเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการ - วางระบบการติดตามและประเมินผลการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 - วางแนวทางในการกำหนดกรอบอัตราค่าใช้จ่ายในการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ กรณีผู้ประกอบกิจการเป็นผู้จัดฝึกอบรมเอง (เทียบเคียงกับกรอบค่าใช้จ่ายกรณีฝึกเตรียมเข้าทำงาน) ภารกิจ 3 (กิจกรรม 2 : งานส่งเสริมและรองรับสิทธิประโยชน์)

8 ภารกิจ 4 (กิจกรรม 3 : งานส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ประเด็นการปรับปรุง แนวทางการพัฒนา - นำหลักการของ Big Data มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูล และสนับสนุนการจัดทำยุทธศาสตร์ต่างๆ ภารกิจ 4 (กิจกรรม 2 : งานพัฒนายุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานการฝึกอาชีพ) - บริหารจัดการและประสานภาคีเครือข่ายประชารัฐให้เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ภารกิจ 4 (กิจกรรม 3 : งานส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน) - ขยายสาขาอาชีพที่จำเป็นต้องรับรองความรู้ความสามารถ - ส่งเสริมให้มีการดำเนินการจัดตั้งศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ - พัฒนาระบบประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ (Big Data) สำหรับการบริการข้อมูลการรับรองความรู้ความสามารถ ภารกิจ 5 (กิจกรรม 1 : งานศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถ) - พัฒนาบุคลากรผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินความรู้ความสามารถเพื่อรองรับการขยายสาขาอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะในอนาคตพัฒนาเครื่องมือในการรับรองความรู้ความสามารถ (E-license) - พัฒนาเครื่องมือในการรับรองความรู้ความสามารถ (E-license) ภารกิจ 5 (กิจกรรม 3 : พัฒนาระบบและรูปแบบการรับรองความรู้ ความสามารถ

9 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านโครงสร้าง 1. ขอจัดตั้งศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหน่วยงานที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานโดยได้จัดตั้งหน่วยงานภายในมาแล้ว 2. ขอจัดตั้งสำนักงานรับรองความรู้ความสามารถเป็นหน่วยงานที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานโดยได้จัดตั้งหน่วยงานภายในมาแล้ว 3. ขอจัดตั้งสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน เป็นหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาคเพื่อรองรับงานบริการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4. ขอจัดตั้งสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน 52 แห่ง เป็นหน่วยงานที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาฝีมือแรงงานโดยได้จัดตั้งหน่วยงานภายในมาแล้ว และขอจัดตั้งเป็นหน่วยงานราชการบริหารส่วนภูมิภาคเพื่อรองรับงานบริการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

10 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านกระบวนงาน ภารกิจ 1 ภารกิจพัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงาน 1. พัฒนาระบบ e-testing ให้ครอบคลุมมาตรฐานทุกสาขา 2. วิเคราะห์สาขาอาชีพที่เอกชนมีความพร้อมเป็นผู้ดำเนินการทดสอบแทนหน่วยงานกรม (Big Change) ภารกิจ 2 : ภารกิจฝึกอบรมฝีมือแรงงาน - พัฒนาระบบรูปแบบการฝึก โดยใช้ระบบบริหารการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ CMI ภายใต้รูปแบบการฝึกตามความสามารถ CBT ภารกิจ 3 : ภารกิจส่งเสริมสถานประกอบกิจการ 1. วางระบบการยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน กิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) 2. วางระบบการยื่นแบบแสดงการส่งเงินสมทบกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) และ นำระบบ e-Payment มาใช้ในการชำระเงินสมทบกองทุน 3. Outsource ให้หน่วยงานเอกชนที่ได้รับการยอมรับเป็นผู้ดำเนินการรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายฯ แต่กรมเป็นผู้อนุมัติค่าใช้จ่าย (Big Change)

11 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านกระบวนงาน 4. พัฒนาและขยายระบบ e-Service การยื่นขอรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ให้ครอบคลุมทุกประเภทการฝึก (ปัจจุบันยื่นผ่านระบบ e-Serviceได้เฉพาะการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ) ในรูปแบบของwebsite/mobile application พัฒนากระบวนการตั้งแต่ต้นกระบวนการจนสิ้นสุดกระบวนการ 5. วางแนวทางในการกำหนดกรอบอัตราค่าใช้จ่ายในการฝึกยกระดับฝีมือแรงงานและฝึกเปลี่ยนสาขาอาชีพ กรณีผู้ประกอบกิจการเป็นผู้จัดฝึกอบรมเอง ด้านกฎหมาย - ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับกระบวนการทำงานที่ปรับเปลี่ยนในอนาคต

12 สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2564)
ส่วนที่ 2 : บทวิเคราะห์บทบาทภารกิจของกรม : 2.2 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจของกรม (To-Be) แบบฟอร์ม ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในระยะ 3 ปี ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานแรงงาน ข้อเสนอการปรับเปลี่ยน ประเด็นการปรับปรุง สิ่งที่ต้องดำเนินการ (ปีงบประมาณ พ.ศ – พ.ศ. 2564) หมายเหตุ 2562 2563 2564 Q1 Q2 Q3 Q4 ด้านบุคลากร 1. พัฒนาวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ส่งเสริมให้มีวิทยากรต้นแบบให้แก่หน่วยงานภาครัฐและเอกชน 2. พัฒนาผู้ทำหน้าที่ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน 3. พัฒนาบุคลากรผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ประเมินความรู้ความสามารถเพื่อรองรับการขยายสาขาอาชีพที่อาจเป็นอันตรายต่อสาธารณะในอนาคต


ดาวน์โหลด ppt ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google