ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ของกระทรวงสาธารณสุข สำนักบริหารการสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2
กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application
ของ กระทรวงสาธารณสุข ๑. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๑.๑ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ - ปรับโครงสร้างหน่วยงานในสังกัด - ออกใหม่ /ลบออก ID และ Password - แก้ไข Password - แก้ไข ID และ Password - แก้ไข ข้อมูลผู้ใช้งาน - รับการแจ้งเตือน ระดับ 3 - การ Reset password - ดูรายงานได้ทั่วประเทศ กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) - ประกาศข่าวประชาสัมพันธ์ 1152
3
กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application
ของ กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๑.๒ ผู้ใช้งาน (User) - แก้ไข ข้อมูลผู้ใช้งาน - รับการแจ้งเตือน ระดับ 3 - การ Reset password - ดูรายงานได้ทั่วประเทศ กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) 1152
4
กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application
ของ กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) ๒. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๒.๑ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ - รับการแจ้งเตือน ระดับ ๒ - ดูรายงานได้ภายในจังหวัด กรณีตั้งครรภ์ ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) - ประกาศข่าวประชาสัมพันธ์ ๒.๑ ผู้ใช้งาน (User) 1152
5
กระบวนการทำงานของระบบ OSCC Application
ของ กระทรวงสาธารณสุข (ต่อ) ๓. โรงพยาบาล (รพศ/รพท./รพช.) ๓.๑ ผู้ดูแลระบบ (Admin) มีหน้าที่ - รับการแจ้งเตือน ระดับ ๑ - ดูรายงานได้ภายในโรงพยาบาล กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) - ประกาศข่าวประชาสัมพันธ์ ๓.๒ ผู้ใช้งาน (User) - ทำหน้าที่ Front Line 1 - ทำหน้าที่ Front Line 2 - ดูรายงานได้ในรายที่รับผิดชอบและลงข้อมูล กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) หมายเหตุ รพสต. ให้คำแนะนำและส่งต่อไปรับบริการตาม ๔ กลุ่มเป้าหมาย โดยไม่ต้องคีย์ข้อมูลเข้าระบบ 1152
6
1152 การจัดสรรงบประมาณประจำปี ๒๕๕๘
ผลผลิต : ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง กิจกรรม : การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ค่าใช้จ่ายสำหรับสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อพัฒนางานศูนย์พึ่งได้ 1152
7
1152 เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘
การจัดสรรงบประมาณในปี ๒๕๕๘ มีการแบ่งการจัดสรรเป็น ๒ รอบ รอบแรกจัดสรรให้ประมาณร้อยละ ๕๐ ของงบประมาณทั้งหมด โดยกำหนดให้นำงบประมาณไปใช้ ในไตรมาสที่ ๑ (ต.ค. – ธ.ค.) และไตรมาสที่ ๒ (ม.ค. – มี.ค.) และดำเนินการเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘ รอบสอง จัดสรรงบประมาณในส่วนที่เหลือ เพื่อการดำเนินงานในไตรมาสที่ ๓ และ ๔ (เม.ย. – ก.ย.) และควรดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเดือนสิงหาคม ๕๕๘ 1152
8
1152 ๑. การจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๗๖ จังหวัด
๑. การจัดสรรงบประมาณให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ๗๖ จังหวัด ๑.๑. การจัดสรรงบประมาณของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - จัดสรรให้ทุกจังหวัดๆ ละ ๕๐,๐๐๐ บาท และจัดสรรเพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ แห่งละ ๔๐,๐๐๐ บาท รวมกับยอดที่จัดสรรให้ โรงพยาบาลชุมชน ส่วนที่เหลือจะจัดสรรในรอบต่อไป ๑.๒ การจัดสรรงบประมาณให้กับโรงพยาบาลชุมชน จำนวน ๗๗๓ แห่ง จัดสรรให้ทุกโรงพยาบาล ๆ ละ ๑๐,๐๐๐ บาท และจัดสรรเพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการจากระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง(ศูนย์พึ่งได้) ของปีงบประมาณ ๒๕๕๗ หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ แห่งละ ๕,๐๐๐ บาท จัดสรรผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส่วนที่เหลือจะจัดสรรในรอบต่อไป 1152
9
1152 หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ ๕ จังหวัด ได้แก่จังหวัด
๑.๓ การจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดอบรมการให้การปรึกษาแบบฟื้นฟูอำนาจและเสริมศักยภาพให้กับบุคลากรศูนย์พึ่งได้ ใน ๑๐ จังหวัด ๆ ละ ๒๐๐,๐๐๐ บาท หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ ๕ จังหวัด ได้แก่จังหวัด 1. สงขลา 2. จังหวัดปทุมธานี 3. จังหวัดนครราชสีมา 4. จังหวัดขอนแก่น ๕. จังหวัดเชียงใหม่ โดยจัดสรรผ่านสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ส่วนที่เหลือ อีก ๕ จังหวัดจะจัดสรรในรอบต่อไป โดยสามารถขอรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่สำนักบริหารการสาธารณสุข โทรศัพท์ 1152
10
1152 ๒. การจัดสรรงบประมาณให้กับ รพศ./รพท. ๙๖ แห่ง
๒. การจัดสรรงบประมาณให้กับ รพศ./รพท. ๙๖ แห่ง ๒.๑ จัดสรรให้โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ทุกโรงพยาบาลๆ ละ ๒๐,๐๐๐ บาทและจัดสรรเพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการจากระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง(ศูนย์พึ่งได้) ของปีงบประมาณ หมายเหตุ การจัดสรรรอบที่ ๑ ให้ แห่งละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพิ่มเติมตามสัดส่วนของจำนวนผู้รับบริการจากระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง(ศูนย์พึ่งได้) ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ส่วนที่เหลือจะจัดสรรในรอบต่อไป 1152
11
กิจกรรมดำเนินการ บริหารจัดการและขับเคลื่อนนโยบายการดำเนินงานศูนย์พึ่งได้ระดับจังหวัด (พัฒนาระบบรายงานข้อมูลการให้บริการศูนย์พึ่งได้,พัฒนาศักยภาพบุคลากรศูนย์พึ่งได้, การจัดประชุมคณะกรรมการศูนย์พึ่งได้ของจังหวัด ฯลฯ) ๒. พัฒนาระบบการรับแจ้งเหตุ การคัดกรอง การช่วยเหลือเบื้องต้น และการส่งต่อผู้ประสบปัญหา ๔ กลุ่มเป้าหมายหลัก ให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิบัติงาน ศูนย์ช่วยเหลือสังคมและบริบทของพื้นที่ เพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อบริการที่ ชัดเจน และไม่เกิดช่องว่างในระบบบริการ โดยมีการติดตามและรายงานผลอย่างเป็นระบบ ๓. กำกับและติดตามการนำเข้าข้อมูลในระบบรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงที่เข้ารับบริการในศูนย์พึ่งได้ และ ระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC Application) เพื่อให้ระบบรายงานมีความครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๔. พัฒนาศักยภาพของผู้รับผิดชอบงานศูนย์พึ่งได้ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โดยเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้าร่วมประชุม/อบรม/สัมมนา ๕. จัดสรรงบประมาณให้โรงพยาบาลชุมชน /จัดกิจกรรมร่วมกัน ตามเกณฑ์ 1152
12
ตัวชี้วัด ๑. ร้อยละ ๘๐ ของหน่วยบริการในสังกัดนำเข้าข้อมูลในระบบโปรแกรมรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง (ศูนย์พึ่งได้) ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๒. ร้อยละ ๘๐ ของหน่วยบริการในสังกัดนำเข้าข้อมูลในระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC Application) ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ๓. ร้อยละ ๘๐ ของบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบงานศูนย์พึ่งได้ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ความรุนแรงในครอบครัว และใช้ระบบรายงานศูนย์พึ่งได้ และการใช้ระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคมฯ ๔. ร้อยละ ๑๐๐ ของโรงพยาบาลชุมชน เปิดให้บริการช่วยเหลือเด็ก สตรีและ บุคลในครอบครัวที่ถูกกระทำรุนแรง (ศูนย์พึ่งได้) ๕. ร้อยละ ๒๐ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพสต.) มีระบบ คัดกรอง ส่งต่อ การให้บริการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1152
13
เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ จะจัดสรรจากการรายงานข้อมูล ปี ๒๕๕๗ ในโปรแกรมระบบรายงาน
- การรายงานข้อมูลผู้รับบริการศูนย์พึ่งได้ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จะพิจารณาจากการรายงานข้อมูลในโปรแกรมระบบรายงานเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรงของศูนย์พึ่งได้ เท่านั้น แต่เนื่องจากโปรแกรมมีปัญหา จึงขอขยายการลงรายงานจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ และจะใช้ข้อมูล ของปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ในการจัดสรรงบประมาณในรอบถัดไป - การรายงานข้อมูลผู้รับบริการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม จะพิจารณาจากการเข้าไป Register ในระบบ และการรายงานข้อมูลผู้ประสบปัญหา 4 กลุ่มเป้าหมายในระบบรายงานศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC Application) เท่านั้น 1152
14
1152 หนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๒๘.๐๒/๒๙๗๖
ลงวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๗ เรื่อง จัดสรรงบประมาณ งบดำเนินงานตามยุทธศาสตร์เฉพาะประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๘ 1152
15
แผนการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ ร่วมกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จัดการอบรมเรื่องการดำเนินงานของศูนย์ช่วยเหลือสังคม และการใช้โปรแกรม oscc application (ต.ค. ๕๗) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนการพัฒนางานและการใช้คู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้ (พ.ย. ๕๗) 1152
16
แผนการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ (ต่อ)
อบรมเรื่องการบำบัดเยียวยาเด็กและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบจากการถูกกระทำรุนแรง (มี.ค. ๕๘) การพัฒนาและปรับปรุงฐานโปรแกรมข้อมูลศูนย์พึ่งได้และโปรแกรม OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคมเพื่อปรับให้เป็นโปรแกรมเดียวกัน 1152
17
แผนการดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ (ต่อ)
จัดอบรมการอบรมการใช้โปรแกรมฐานข้อมูลการให้บริการของศูนย์พึ่งได้และ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (ธ.ค.๕๗ –มี.ค.๕๘) 1152
18
ปัญหาอุปสรรค ขาดบุคลากรในการลงข้อมูลผู้มารับบริการนอกเวลาราชการ ซึ่งจะต้องมีการลงข้อมูลแบบ Real time ผู้ประสบปัญหาไม่ต้องการรับบริการในโรงพยาบาลใกล้บ้าน เนื่องจากเกิดความอับอาย หรือเกรงกลัวผู้กระทำ ๓. การลงทะเบียนข้อมูลผู้รับผิดชอบและหน่วยงานยังไม่ครอบคลุมหน่วยบริการทุกแห่ง จึงทำให้มีปัญหาในเรื่องการส่งต่อ เนื่องจาก ข้อมูลจะถูกส่งไปที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแทนหน่วยบริการที่รับ Case จริง 1152
19
ปัญหาอุปสรรค ๔. โรงพยาบาลส่วนใหญ่ไม่มีบริการยุติการตั้งครรภ์ จึงต้องส่งต่อเครือข่ายภายนอก ซึ่งผู้มารับบริการจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ๕. บุคลากรยังมีทัศนคติด้านลบต่อการยุติการตั้งครรภ์ ๖.การประสานงานผ่านหลายกระทรวง แต่ละกระทรวงมีความพร้อมไม่เท่ากันในแต่ละจังหวัดโดยเฉพาะงบประมาณดำเนินงานที่ไม่ชัดเจนของโครงการในแต่ละกระทรวงที่สนับสนุนการดำเนินงานโครงการนี้ 1152
21
THANK YOU
22
1152
23
1152
24
1152
25
1152
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.