ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยพิมพ์ใจ เคนเนะดิ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ตัวชี้วัด 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง
จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดย...กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย 15 ธันวาคม 2560
2
ความเชื่อมโยงของตัวชี้วัด ปี 2561
การบริหารจัดการ ขยะและสิ่งแวดล้อม พื้นที่วิกฤติมลพิษอากาศ กทม.และปริมณฑล/จ.สระบุรี/จ.หมอกควันภาคเหนือ) มีการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ (พื้นที่เสี่ยงมลพิษอากาศ จว.) การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) 1. มีฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังด้าน อวล 2. บุคลากรด้าน สธ. & เจนท.อปท.ใน จังหวัด ได้รับการพัฒนาศักยภาพ อวล. 3. มีมาตรฐานสุขาภิบาลชุมชนแรงงานต่างด้าว (พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 จว.) การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (EEC) 1. จังหวัดในพื้นที่ EEC 3 จังหวัด มีฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังด้าน อวล (พื้นที่ EEC 3 จว.) จังหวัดในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกมีฐานข้อมูลและระบบเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการปัญหาในพื้นที่ แผนงานบูรณาการ ระดับประเทศ จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษมีฐานข้อมูลและการ เฝ้าระวังด้าน อวล. โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม จังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน จังหวัด ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(ด้าน สธ.) KPI : 24 ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน ตำบลมีชุมชนเข้มแข็งด้าน อวล. ร้อยละ 50 (3,654 ตำบล จากทั้งหมด 7,308 ตำบล) จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้าน อวล. ยุทธศาสตร์ (กรมอ.) 5 ปี 1. มีฐานข้อมูล สถานการณ์ เฝ้าระวังฯ 2. กลไก คสจ. 3. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 4. การจัดบริการ อวล.ของ อปท. (EHA) 5. Active Community 6. การจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม ดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม 1. พื้นที่เสี่ยง 3 กลุ่มหลัก ในปี 2561 : 46 จังหวัด 2. พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูล & พยาธิใบไม้ในตับ : 27 จังหวัด EnH. CLUSTER
3
KPI Template File : KPI Template ตัวชี้วัด 24 : ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
4
เกณฑ์เป้าหมาย 5 ปี (ปี 2560-2564) ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
คำนิยาม จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน หมายถึง สสจ.มีระบบและกลไก เพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ใน 6 ประเด็น ดังนี้ 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการ โดยขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านกลไกคณะกรรม การสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) 3. มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ. รพศ./รพท./รพช สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมาย 4. มีการส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน (EHA) 5. มีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (Active Communities) 6. มีการจัดระบบ เฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม เกณฑ์เป้าหมาย 5 ปี (ปี ) ปีงบประมาณ 61 ปีงบประมาณ 62 ปีงบประมาณ 63 ปีงบประมาณ 64 ร้อยละ 90 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 50 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับดี ร้อยละ 80 ของจังหวัด ร้อยละ 60 ของจังหวัด ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก
5
วิธีการจัดเก็บข้อมูล
สสจ. ศูนย์อนามัย ส่วนกลาง การรายงานผ่านระบบการตรวจราชการกระทรวง ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเกณฑ์ตัวชี้วัด จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแบบฟอร์มการรายงานและส่งให้ศอ.เป็นรายไตรมาส รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของเขต จัดส่งข้อมูลให้กรมอ ตามแบบฟอร์มการรายงาน พร้อมสำเนาแบบฟอร์มการรายงานรายจังหวัด เป็นรายไตรมาส รวบรวม/วิเคราะห์ข้อมูลระดับประเทศ จัดทำเป็นรายงานสรุปผล การดำเนินงานฯ รายไตรมาส เกณฑ์การประเมิน ปี 2561 สสจ. มีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ รอบ 3 เดือน ร้อยละ 60 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (จังหวัดประเมินตนเอง) รอบ 6 เดือน ร้อยละ 75 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดยศอ./สคร.) รอบ 9 เดือน ร้อยละ 90 ของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ รอบ 12 เดือน เป้าหมาย : ร้อยละ 90 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
6
บันได 3 ขั้นในการพัฒนาจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านระดับพื้นฐาน 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น เน้นงานตามนโยบายและประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มีการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดการความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล / มีการเฝ้าระวังฯทั้งประเด็น อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 2 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการในพื้นที่ 2. มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก คสจ. โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง ขรก.เป็นเลขาฯ/มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงาน/จัดประชุม/นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 2 ประเด็น/มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 2 เรื่อง /มีรายงานการประชุม 3. มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการ สธ. ทุกประเภท (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน/คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) / มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการ (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ) 4. มีแผนงานการดำเนินงาน ควบคุม กำกับ ติดตาม และพัฒนาศักยภาพและมีการถ่ายทอดสื่อสารนโยบาย/มีฐานข้อมูลEHA และร้อยละ 25 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับพื้นฐานตามที่กรมอ.กำหนด 5. มีแผนงานขับเคลื่อนฯ/มีตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพศักยภาพในการจัดการอวล. ร้อยละ 50 6.มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนด 50 คะแนนขึ้นไป ผ่านระดับดี 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย7ประเด็น เน้นงานตามนโยบายและประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มีการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดการความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล / มีการเฝ้าระวังฯทั้งประเด็น อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการในพื้นที่ 2. มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก คสจ. โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง ขรก.เป็นเลขาฯ/มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงาน/จัดประชุม/นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น/มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 3 เรื่อง /มีรายงานการประชุม/มีการกำหนดรูปแบบในการขับเคลื่อนงานฯ 3. มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการ สธ. ทุกประเภท (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน/คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) / มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการ (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน/คลินิก) 4. ผ่านข้อ 4 ในระดับพื้นฐาน และมี Instructor อย่างน้อย 1 คน และร้อยละ 50 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับพื้นฐานตามที่กรมอ.กำหนด 5. ผ่านข้อ 5 ในระดับพื้นฐาน และเกิดนวัตกรรมชุมชนด้านอวล.ตามบริบทของพื้นที่ 6. มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนด 70 คะแนนขึ้นไป ผ่านระดับดีมาก 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 9 ประเด็น เน้นงานตามนโยบายและประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มีการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดการความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล / มีการเฝ้าระวังฯทั้งประเด็น อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการในพื้นที่ 2. มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก คสจ. โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง ขรก.เป็นเลขาฯ/มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงาน/จัดประชุม/นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น/มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 5 เรื่อง /มีรายงานการประชุม/มีการกำหนดรูปแบบในการขับเคลื่อนงานฯ/สรุปรายงานผลการดำเนินงานประจำปีฯ 3. มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการ สธ. ทุกประเภท (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน/คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) / มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการ (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน/คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) 4. ผ่านข้อ 4 ในระดับดี และร้อยละ 50 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับเกียรติบัตร อย่างน้อย 1แห่ง และเป็นต้นแบบการจัดการด้าน อวล. 5. ผ่านข้อ 5 ในระดับดี และมีแหล่งเรียนรู้นวัตกรรมชุมชนด้าน อวล./เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่าย 6. มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนด 90 คะแนนขึ้นไป เป้าหมาย ปี 2561 : ร้อยละ 90 ของจังหวัดผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
7
บันได 3 ขั้นในการพัฒนาจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านระดับพื้นฐาน มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น เน้นงานตามนโยบายและประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มีการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดการความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล / มีการเฝ้าระวังฯ ทั้งประเด็น อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 2 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการในพื้นที่ มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก คสจ. โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง ขรก.เป็นเลขาฯ / มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงาน /จัดประชุม / นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 2 ประเด็น / มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 2 เรื่อง / มีรายงานการประชุม มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการ สธ. ทุกประเภท (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ / รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน / คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) / มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณ มูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการ (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ) มีแผนงานการดำเนินงาน ควบคุม กำกับ ติดตาม และพัฒนาศักยภาพและมีการถ่ายทอดสื่อสารนโยบาย / มีฐานข้อมูลEHA และร้อยละ 25 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับพื้นฐานตามที่กรมอ.กำหนด มีแผนงานขับเคลื่อนฯ / มีตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพศักยภาพในการจัดการอวล. ร้อยละ 50 มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ที่กรม คร.กำหนด คะแนนขึ้นไป
8
บันได 3 ขั้นในการพัฒนาจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านระดับดี มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 7 ประเด็น เน้นงานตามนโยบายและประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มีการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดการความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล / มีการเฝ้าระวังฯทั้งประเด็น อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการในพื้นที่ มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก คสจ. โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง ขรก.เป็นเลขาฯ / มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงาน / จัดประชุม / นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 3 ประเด็น / มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 3 เรื่อง / มีรายงานการประชุม / มีการกำหนดรูปแบบในการขับเคลื่อนงานฯ มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการ สธ. ทุกประเภท (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ / รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน / คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) / มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการ (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ / รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน / คลินิก) ผ่านข้อ 4 ในระดับพื้นฐาน และ มี Instructor อย่างน้อย 1 คน และร้อยละ 50 ของ อปท.ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับพื้นฐานตามที่กรมอ. กำหนด ผ่านข้อ 5 ในระดับพื้นฐาน และ เกิดนวัตกรรมชุมชนด้านอวล.ตามบริบทของพื้นที่ มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ที่กรม คร.กำหนด คะแนนขึ้นไป
9
บันได 3 ขั้นในการพัฒนาจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านระดับดีมาก มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 9 ประเด็น เน้นงานตามนโยบายและประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS มีการวิเคราะห์และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งจัดการความน่าเชื่อถือ และทันสมัยของข้อมูล / มีการเฝ้าระวังฯทั้งประเด็น อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการในพื้นที่ มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก คสจ. โดยมีคำสั่งแต่งตั้ง ขรก.เป็นเลขาฯ / มีโครงการ กิจกรรม แผนการดำเนินงาน / จัดประชุม / นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น / มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 5 เรื่อง / มีรายงานการประชุม/มีการกำหนดรูปแบบในการขับเคลื่อนงานฯ / สรุปรายงานผลการดำเนินงานประจำปีฯ มีฐานข้อมูลจำนวนสถานบริการ สธ. ทุกประเภท (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ / รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน / คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) / มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่ได้รับการจัดการ (รพศ. รพท. รพช. รพสต. รพ.สังกัดกรมวิชาการ รพ.สังกัดหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ รพ.เอกชน / คลินิก สถานพยาบาลสัตว์) ผ่านข้อ 4 ในระดับดี และร้อยละ 50 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับเกียรติบัตร อย่างน้อย 1 แห่ง และเป็นต้นแบบการจัดการด้าน อวล. ผ่านข้อ 5 ในระดับดี และมีแหล่งเรียนรู้นวัตกรรมชุมชนด้าน อวล. / เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่าย มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ที่กรม คร. กำหนด คะแนนขึ้นไป
10
การประเมินตนเองของ สสจ.
วิธีการประเมินผล การประเมินตนเองของ สสจ. (ตามแบบฟอร์มการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด) ศอ. และ สคร. ทำการทวนสอบ/วิเคราะห์/ประเมินผลการดำเนินงานของ สสจ (ตามแบบฟอร์มการประเมินผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดที่กำหนด) ส่วนกลางสุ่มประเมินเชิงคุณภาพ และจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดภาพรวมของประเทศ 1 2 3 1. แนวทางการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงานสำหรับฝ่ายเลขานุการ คสจ. 3. Animationให้ความรู้ด้านกฎหมายสาธารณสุขและบทบาทหน้าที่ของ คสจ. 4. คู่มือปฏิบัติงานสำหรับจนท.สธ.เรื่องการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอวล. 5. คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. 6. ระบบสารสนเทศด้าน อวล.ของประเทศไทย (NEHIS) 7. แนวทางการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอวล. ชุมชน 8. แนวทางการจัดการอวล. ชุมชนสำหรับประชาชน และเจ้าหน้าที่ 9. คำแนะนำการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ 10. แนวทางการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับโรงพยาบาล 11. คู่มือแนวทางการพัฒนาสถานบริการการสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 12. คู่มือแนวทางการจัดการมูลฝอยติดเชื้อใน รพสต. 13. คู่มืออบรมผู้ปฏิบัติงานมูลฝอยติดเชื้อ หลักสูตรป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ 14. คู่มือแนวทางการบริหารจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมใน รพ. 15. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital 16. กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ และประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้อง เอกสารสนับสนุน
11
File : Inspection Guideline
ตัวชี้วัด 24 : ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
12
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล (การบันทึกข้อมูลในระบบ NEHIS) การมีสถานการณ์และการเฝ้าระวังด้าน อวล.และการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม การสนับสนุนการดำเนินงาน อวล.และการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพ ผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) การส่งเสริมให้ อปท. จัดบริการ อวล.ที่ได้มาตรฐาน (EHA) และ ตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้าน อวล. (Active Communities) และ รพ.ในสังกัด กสธ. สามารถจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้ถูกต้องตามกฎหมาย 1 2 3
13
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1 การพัฒนาระบบฐานข้อมูล (การบันทึกข้อมูลในระบบ NEHIS) การมีสถานการณ์และการเฝ้าระวังด้าน อวล.และการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ จังหวัดมีระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านอวล.และสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม 1. มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2. มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม 1. มีฐานข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยการบันทึกข้อมูลผ่านระบบฐานข้อมูล อวล.ของประเทศไทย (NEHIS) 2. มีการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3. มีการจัดระบบเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม 4. มีสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม จังหวัดมีฐานข้อมูล มีระบบการเฝ้าระวัง และมีสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม
14
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 2 การสนับสนุนการดำเนินงาน อวล.และการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ จังหวัดขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจากการประกอบอาชีพและมลพิษสิ่งแวดล้อม ผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) 1. มีกลไกการจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมและการประกอบอาชีพ อย่างบูรณาการ โดยขับเคลื่อนการดำเนินงาน ผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) 1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) 2. มีรายงานการประชุม และมีมติการประชุมคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) 3. มีการติดตามการดำเนินการตามมติของคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด จังหวัดสามารถจัดการปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อมและการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสทิธิภาพ ผ่านกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.)
15
มาตรการดำเนินงานในพื้นที่
ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 3 การส่งเสริมให้ อปท.จัดบริการ อวล.ที่ได้มาตรฐาน (EHA) และตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้าน อวล.(Active Communities) และ รพ.ในสังกัด กสธ. สามารถจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้ถูกต้องตามกฎหมาย เป้าหมาย มาตรการดำเนินงานในพื้นที่ แนวทางการตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ที่ต้องการ จังหวัดมีการส่งเสริมให้ อปท.จัดบริการ อวล.ที่ได้มาตรฐาน (EHA) ตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้านอวล.(Active Communities) และรพ.ในสังกัด กสธ.สามารถจัดการมูลฝอยติดเชื้อได้ถูกต้องตามกฎหมาย 1. มีกลไกการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการ อวล. (EHA) ใน อปท. 2. มีการดำเนินงานตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้าน อวล. (Active Communities) 3. มีการดำเนินงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกต้องตามกฎหมาย ในโรงพยาบาล (รพศ./รพท./รพช) สังกัด กสธ. 1. มีการดำเนินงาน ควบคุมกำกับและติดตามการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอวล. (EHA) ใน อปท. 2. มีฐานข้อมูล อปท. ผ่านเกณฑ์รับรองคุณภาพระบบบริการ อวล. (EHA) 3. มีการดำเนินงานตำบลที่มีชุมชนเข้มแข็งด้าน อวล (Active Communities) 4. มีข้อมูล รพ. (รพศ./รพท./รพช) สังกัด กสธ. จัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกต้องตามกฎหมาย 5. มีข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นและปริมาณที่ได้รับการจัดการจากแหล่งกำเหนิด รพ.สังกัด กสธ.ในพื้นที่ จัดการมูลฝอยติดเชื้อถูกต้องตามกฎหมาย
16
หมายเลขโทรศัพท์ /e-mail address
Small Success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีแผนปฏิบัติการเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ร้อยละ 60 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (จังหวัดประเมินตนเอง) ร้อยละ 75 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.) ร้อยละ 90 ของจังหวัด มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยง จากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน (ประเมินโดย ศอ. และ สคร.) หน่วยงานที่รับผิดชอบ: กรมอนามัย และ กรมควบคุมโรค ผู้รับผิดชอบ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ / address ประเด็นที่รับผิดชอบ นส.พาสนา ชมกลิ่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชก. กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย Tel Mobile รายละเอียดในตัวชี้วัดประเด็นที่ 1-5 และภาพรวมตัวชี้วัด นส.ณราวดี ชินราช นักวิชาการสาธารณสุข ชก.สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ กรมควบคุมโรค Tel Mobile : รายละเอียดในตัวชี้วัดประเด็นที่ 6
17
สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2560
ตัวชี้วัด 24 : ร้อยละของจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
18
สรุปผลการดำเนินงาน ปี 2560 : ตัวชี้วัดจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ผ่านเกณฑ์พื้นฐานร้อยละ 100 จำนวนจังหวัด (แห่ง) ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2560 จากผลการประเมินของจังหวัด พบว่า จังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพฯ ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน ร้อยละ (46 แห่ง) ซึ่งใน 46 แห่ง ผ่านเกณฑ์ระดับดี 11 แห่ง (ร้อยละ 14.47) และจังหวัดไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ (30 แห่ง) เกณฑ์ระดับพื้นฐาน 1. มีฐานข้อมูลด้านอวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม พื้นที่เสี่ยงการจัดการสิ่งปฏิกูลและพยาธิใบไม้ในตับ หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 5 ประเด็น โดยบันทึกข้อมูลผ่านระบบ NEHIS / มีการเฝ้าระวัง อวล.พื้นฐานและพื้นที่เสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หรือปัญหาตามบริบทของพื้นที่ อย่างน้อย 2 ประเด็น รวมทั้งนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 2. มีการขับเคลื่อนงาน อวล.ผ่านกลไก อสธจ. โดย มีผู้รับผิดชอบ/แผนจัดประชุม/การจัดประชุม/นำเสนอข้อมูลในประเด็นสำคัญของพื้นที่ อย่างน้อย 2 ประเด็น/มีมติและติดตามมติ อย่างน้อย 2 เรื่อง /มีรายงานการประชุม 3. รพ.สังกัด กสธ. (รพศ. รพท. รพช. รพ.สังกัดกรมวิชาการ) มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย ร้อยละ 100 4. มีนโยบาย/ตัวชี้วัด/แผนงาน/การถ่ายทอดสื่อสารนโยบาย/ฐานข้อมูลEHA และร้อยละ 25 ของ อปท. ในพื้นที่ผ่านการประเมินรับรองฯ ระดับพื้นฐานตามที่กรมอ.กำหนด 5. มีแผนงาน/มีตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพศักยภาพในการจัดการอวล. ร้อยละ 100 (1,000 ตำบล LTC) 6. มีการสนับสนุนและพัฒนาระบบการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ตามเกณฑ์ที่กรม คร.กำหนด 50 คะแนนขึ้นไป ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ การใช้งานระบบฐานข้อมูลฯ (NEHIS) ยังไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ จึงยังไม่มีการนำเข้าข้อมูล อวล. ในระบบฯ ตัวชี้วัดนี้มีกิจกรรมสำคัญ 6 ประเด็นหลักที่มีวิธีการขับเคลื่อนฯ/วัดผลลัพท์ที่แตกต่างกัน จึงทำให้จังหวัดไม่สามารถขับเคลื่อนฯ ได้ครอบคลุม/สมบูรณ์ กิจกรรมสำคัญ พัฒนาระบบฐานข้อมูล สถานการณ์ & การเฝ้าระวังด้าน สวล./สุขภาพ ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านกลไก อสธจ. มีระบบ & กลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของ รพ./ รพศ./รพท./รพช สังกัดกสธ.ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมีการจัดบริการ อวล.ที่ได้มาตรฐาน (EHA) มีการดำเนินงานเพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดตำบลที่มีชุมชนที่มีศักยภาพในการจัดการ อวล.ชุมชน สนับสนุน/พัฒนาระบบการจัดบริการ Env.Occ (กรม คร.)
19
โดย...กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
สวัสดี โดย...กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.