ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สรุปผลการตรวจราชการกลุ่มวัยรุ่น รอบที่ 1/2559
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ โดย ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
2
สถานการณ์และสภาพปัญหาของพื้นที่
3
สถานการณ์การคลอดและการตั้งครรภ์ซ้ำ ในวัยรุ่นหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ปี 2558
ปี 2557 อัตราการคลอดในหญิง อายุ ปี 47.9 ต่อพันpop (ข้อมูลจากสำนัก อพ.) ปี 2558 อัตราการคลอดในหญิงอายุ ปี ต่อพันpop (HDC ตาราง KPI กระทรวง อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี) ปี 2558 การคลอดในหญิงอายุ ปี อัตรา ต่อพัน pop (HDC ใช้ pop จาก ตาราง KPI เขต ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำใน วัยรุ่นอายุ ปี)
4
การคลอดและการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
ประมวลผล วันที่ 27 เมษายน 2559 เขตสุขภาพ ประชากรหญิงอายุ ปี หญิงคลอดอายุ ปี หญิงคลอด อายุ ปี ตั้งครรภ์ซ้ำ ครรภ์ที่ 2 ขึ้นไป จำนวน (1) อัตรา/พัน (2) หญิงคลอด อายุ ปี ครรภ์ที่ 2 ขึ้นไป ร้อยละ เขตสุขภาพที่ 1 196,557 2,907 14.79 7,062 35.93 715 10.12 เขตสุขภาพที่ 2 95,869 2,316 24.16 5,364 55.95 660 12.30 เขตสุขภาพที่ 3 97,631 2,937 30.08 4,730 48.45 649 13.72 เขตสุขภาพที่ 4 196,149 3,099 15.80 6,932 35.34 913 13.17 เขตสุขภาพที่ 5 199,690 5043 25.25 9,172 45.93 1,269 13.84 เขตสุขภาพที่ 6 241,644 4,340 17.96 9,983 41.31 1,426 14.28 เขตสุขภาพที่ 7 210,199 4128 19.64 6,354 30.23 674 10.61 เขตสุขภาพที่ 8 216,299 6,474 29.93 10,893 50.36 1,095 10.05 เขตสุขภาพที่ 9 238,580 7,250 30.39 13,414 56.22 1,743 12.99 เขตสุขภาพที่ 10 180252 2400 13.31 8064 44.74 699 8.67 เขตสุขภาพที่ 11 173731 3239 18.64 8179 47.08 1087 13.29 เขตสุขภาพที่ 12 199957 3098 15.49 7,492 37.47 718 9.58 รวม 2,246,558 47,231 21.02 97,639 43.46 11,648 11.93
5
การคลอดและการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
ประมวลผล วันที่ 27 เมษายน 2559 จำนวน(1) หมายถึง จำนวนหญิงคลอดอายุ ปี จากตาราง KPI กระทรวง อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ปีงบประมาณ 2558 จำนวน(2) หมายถึง จำนวนหญิงคลอดอายุ ปี จากตาราง KPI เขต ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ ปี ปี 2558 ข้อมูลจำนวนหญิงคลอดอายุ ปี จากตาราง KPI กระทรวง มี เพียง ร้อยละ ของจำนวนหญิงคลอดอายุ ปี จาก ตาราง KPI เขต ข้อมูลเฉพาะ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่ง เท่านั้น
6
การคลอดในวัยรุ่นหญิงอายุ ปี ปี 2558 (HDC) เปรียบเทียบข้อมูลจากตาราง kpi ประเทศ และ ตาราง kpi เขต มีความแตกต่างของข้อมูลจาก 2 ตาราง KPI ใน HDC การนำมาใช้จึงต้องดูความครบถ้วนของข้อมูลให้ดี
7
ข้อมูลใน HDC มีเพียงร้อยละ 57.21 ของ รายงานจาก สสจ.
การคลอดวัยรุ่นหญิงอายุ ปี เขตสุขภาพที่ 5 ปี เปรียบเทียบตาราง kpi ประเทศ (HDC) และ รายงาน สสจ. ข้อมูลใน HDC มีเพียงร้อยละ ของ รายงานจาก สสจ. goal เขตอื่นๆ ไม่มีข้อมูล การคลอดวัยรุ่นหญิงอายุ ปี ปี 2558
8
จังหวัดสมุทรสงครามไม่มีข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำใน ระบบ HDC
การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นหญิงอายุ <20 ปี ปี 2558 เขตสุขภาพที่ 5 เปรียบเทียบตาราง kpi ประเทศ (HDC)และ รายงาน สสจ. ข้อมูลใน HDC มีร้อยละ ของ รายงานจาก สสจ. goal จังหวัดสมุทรสงครามไม่มีข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำใน ระบบ HDC
9
แสดงผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558)
แสดงผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ปีงบประมาณ (ตุลาคม-ธันวาคม 2558)
10
การคลอดวัยรุ่นหญิงอายุ 15-19 ปี ปี 2559 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558)
การคลอดวัยรุ่นหญิงอายุ ปี ปี 2559 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558) เป้าหมาย ไม่เกิน 50 ต่อ พันประชากร goal ไม่เกินเป้าหมาย เป็นผลงาน3 เดือน ข้อมูลรวบรวมจากศูนย์เขต
11
การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ปี 2559 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558)
ร้อยละ ส่วนมากยังเกินเป้าหมาย (ไม่เกิน 10%) goal ข้อมูลรวบรวมจากศูนย์เขต
12
การคุมกำเนิดในวัยรุ่นหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี หลังคลอด/หลังแท้ง ปี 2559 (ตค.-ธค. 2558)
ร้อยละ ส่วนมากต่ำกว่าเป้าหมาย เป้าหมาย :วิธีกึ่งถาวร Q2>40%, Q4>80% เขต 7,8,9,10,11,12 ไม่มีข้อมูล FP ข้อมูลรวบรวมจากศูนย์เขต
13
YFHS & อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ & OHOS ปี 2559 (ตุลาคม-ธันวาคม 2558)
ร้อยละ เขตภาคกลาง กับ ภาคใต้ ผลงานค่อนข้างต่ำ ข้อมูลรวบรวมจากศูนย์เขต
14
ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในประชากรอายุ 15-19 ปี ปี 2554,2557,2558
เป้าหมาย : ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ ปี ไม่เพิ่มขึ้น ส่วนมากเพิ่มขึ้นเกือบทุกเขต ยกเว้น เขต 7,11 ที่มา : ปี 2554,2557 สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ปี 2558 สคร. สำรวจ มีข้อมูลเฉพาะเขต2,4
15
ผลการตรวจติดตาม ตามแนวทางการตรวจราชการ
ผลการตรวจติดตาม ตามแนวทางการตรวจราชการ
16
ประเด็นการตรวจราชการ :
ทีมนักจัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) ระบบเชื่อมโยงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (OHOS) การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น
17
ปัญหาและอุปสรรค 1 การดำเนินงานป้องแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในภาพของจังหวัดมีการบูรณาการ กันเพียงบางส่วนราชการ เครือข่ายในระดับจังหวัดยังมีการบูรณาการกันน้อย รูปแบบของ Teen Manager ยังไม่ชัดเจน ท้องถิ่นไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การพัฒนาการให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นตามมาตรฐาน หน่วยบริการยังให้ความสำคัญน้อย ส่วนใหญ่มีการดำเนินงานตามภาระบทบาทหน้าที่ของกลุ่มงาน/คลินิกเฉพาะ ในด้านการถ่ายทอดแผนงาน/นโยบาย ส่วนใหญ่มีการประชุมหัวหน้ากลุ่ม/ฝ่ายและสาธารณสุขอำเภอ เพื่อมารับฟังการถ่ายทอดนโยบาย การประสานงานระหว่าง PM จังหวัด และ PM ระดับอำเภอ ไม่ชัดเจน และถ่ายทอดไม่ถึงระดับตำบล การจัดทำแผนงาน/โครงการส่วนใหญ่เพื่อตอบ KPI ของกระทรวงและจังหวัด มีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบไม่คุ้นเคยกับการดำเนินงานแบบบูรณาการ ผู้ปฏิบัติงานทั้งระดับอำเภอและตำบลไม่ทราบนโยบายที่ชัดเจน ทำให้การบูรณาการการดำเนินงานวัยรุ่นของแต่กรม/กระทรวง ขาดการเชื่อมโยงกิจกรรมและข้อมูลเกี่ยวกับวัยรุ่นในพื้นที่ ทำให้เกิดความซ้ำซ้อน และสับสนในการปฏิบัติงาน
18
ปัญหาและอุปสรรค 3 การถ่ายทอดนโยบายจังหวัดในเรื่องการวางแผนครอบครัวแบบกึ่งถาวรลงไประดับอำเภอ บางพื้นที่ยังไม่ได้ดำเนินการ รพ. บางแห่ง มีปัญหาเรื่องการบริหารจัดการยา ไม่มีนโยบายจัดซื้อเวชภัณฑ์ยาฝังคุมกำเนิด การจัดซื้อเวชภัณฑ์คุมกำเนิดกึ่งถาวร ขึ้นอยู่งบประมาณ บัญชียา ของโรงพยาบาล ทำให้มีปัญหาในการ stock ยาฝังคุมกำเนิดและห่วงอนามัยใน รพ. ขาดบุคลากรที่มีทักษะการให้บริการการคุมกำเนิดกึ่งถาวร ไม่มีผู้ให้บริการทดแทนผู้ที่ย้าย ลาออกหรือย้ายไปปฏิบัติหน้าที่อื่น วัยรุ่นที่มารับบริการ ขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการคุมกำเนิด มารดาและญาติของวัยรุ่นต้องการให้มีบุตร บางพื้นที่ไม่สามารถคุมกำเนิดได้เพราะขัดกับหลักศาสนา การรายงานและจัดการข้อมูล ระบบข้อมูลในพื้นที่ให้บริการวางแผนครอบครัว ไม่ครอบคลุม มีการให้บริการ แต่ไม่มีการรายงานข้อมูลในระบบ (บางจังหวัดยังไม่มีรายงาน) บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน/ไม่ถูกต้อง ไม่มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ในภาพรวมเพื่อหาวิธีแก้ปัญหา หรือปรับวิธีการทำงาน หรือ ปรับระบบการให้บริการ ขาดการกำกับติดตามจากระดับจังหวัดและทีมระดับอำเภอ(ทีมPM ภายใน ภายนอก)
19
ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ
1 ควรชี้แจงและทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงานทีมนัก จัดการสุขภาพวัยรุ่น (Teen Manager) ให้กับผู้รับผิดชอบ ในพื้นที่ ให้ชัดเจนมากขึ้น (มีคู่มือของกรมสุขภาพจิต) แต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด และอำเภอ ที่ทำงานสอด รับกัน ที่ประกอบด้วยผู้รับผิดชอบในแต่ละด้านของ สาธารณสุข และหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง ควรมีการ ประสานงานทั้งแนวดิ่งและแนวนอน มีแผนงานโครงการระดับ อำเภอ/จังหวัดที่ชัดเจน สร้างความตระหนักในการให้ความสำคัญกับปัญหาวัยรุ่นใน พื้นที่แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการคืนข้อมูลปัญหาวัยรุ่น สร้างแกนนำวัยรุ่นเพื่อผลักดันให้เกิดการดำเนินงานวัยรุ่นใน พื้นที่ ควรมีการจัดระบบข้อมูลวัยรุ่นเพื่อใช้ในการวางแผนการ ดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาวัยรุ่นแบบบูรณาการ
20
ข้อเสนอแนะต่อหน่วยรับตรวจ
3 ทีม PM ทั้งระดับจังหวัด และ อำเภอต้องทำงานร่วมกัน มีคณะทำงาน ที่ชัดเจน ผลักดันนโยบายให้โรงพยาบาลมีการคุมกำเนิดกึ่งถาวรในกลุ่มวัยรุ่น เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ ถ่ายทอดนโยบายสู่พื้นที่อย่างเป็นรูปธรรมและครอบคลุมทุกพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในคณะทำงาน เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ทั้งในกรณีไม่มีผู้ให้บริการ ไม่มีนโยบายการจัดซื้อเวชภัณฑ์ หรือ ไม่ทราบว่ามีการสนับสนุนยาฝังคุมกำเนิด จาก สปสช. โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ควรมีการพัฒนาระบบการให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ตามมาตรฐานเพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายการช่วยเหลือและการส่งต่อที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านความรู้และทักษะในการให้การปรึกษาอย่างมีคุณภาพ ควรมีการให้ความรู้ ความเข้าใจในการคุมกำเนิดกึ่งถาวรให้กับวัยรุ่นตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่ม ANC ตลอดจนรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้แม่วัยรุ่นใช้บริการคุมกำเนิดกึ่งถาวรมากขึ้น ขับเคลื่อนผ่าน MCH board รวมทั้งมีการติดตามเยี่ยมหลังคลอด โดยประสานผ่านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ใช้กลไก DHS เพื่อแก้ไขปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ ในระดับอำเภอ/ตำบล
21
ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success factors)
1 ผู้บริหารให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือทุกระดับ ตั้งแต่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล นายอำเภอ ร่วมกับ ภาคีเครือข่ายภายนอกระดับ จังหวัด ในการดำเนินงานปัญหาท้องไม่พร้อม ได้แก่ พัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด(พมจ.) เขตพื้นที่ การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง มีระบบการติดตามและสนับสนุนที่ชัดเจนและเข้าถึงได้ง่าย สนับสนุนให้มีกระบวนการถอดบทเรียนจากหน่วยงานที่มี ความสำเร็จในรูปแบบต่าง เพื่อเป็นแบบอย่างของการดำเนินงาน มีการเสริมคุณค่าแก่ภาคีเครือข่าย มีการส่งเสริมการให้รางวัลแก่ ชมรม และ อปท. โดยอาจจะใช้รูปแบบการ empowerment หรือการมอบรางวัลในเวทีต่างๆ ในระดับจังหวัดหรือระดับเขต
22
ปัจจัยความสำเร็จ (Key Success factors)
2 จังหวัดมีนโยบายชัดเจน ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้พื้นที่ทุกระดับ มีการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง กำหนดเป็นตัวชี้วัดของสถานบริการตั้งแต่ระดับตำบล/รพสต. ระดับอำเภอ/สสอ./รพช./รพท./รพศ. ระดับจังหวัด/สสจ. ส่งเสริมสนับสนุนให้อำเภอจัดทำแผนงานโครงการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และกำหนดเป้าหมายการดำเนินการงานเชื่อมโยงการดูแลช่วยเหลือนักเรียนชัดเจน มีการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพของจังหวัดและนำมาวางแผนแก้ไขปัญหา กำหนดนโยบายของจังหวัด และมีการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขับเคลื่อนการคุมกำเนิดในแม่วัยรุ่นโดยผ่าน MCH Board คลินิกวางแผนครอบครัว และ YFHS และติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ มีการบูรณาการในชุมชนด้วยกลไก DHS ที่เข้มแข็ง ขับเคลื่อนงานวัยรุ่นทั้งในระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล
23
Intervention/innovation
1 นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง 28 เรื่อง
24
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการผลักดันงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่น
1 ในระดับนโยบาย เมื่อมีการประสานงานลงนามฯร่วมกันแล้ว ทุกกระทรวง ควรมีการถ่ายทอดนโยบายลงมาเป็นหนังสือราชการ ทางสายบังคับบัญชา ของแต่ละกระทรวง ระดับปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ส่วนกลางควรมีการบูรณาการ แนวทางและบทบาทในการดำเนินงานวัยรุ่น และกำหนดเป็นนโยบายให้ชัดเจน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและสับสนในการ ดำเนินงานในพื้นที่ ในระดับบริหาร ควรมีการกำหนดหลักสูตรการสอนเพศศึกษา ในโรงเรียน โดยให้เป็นหน้าที่และภารกิจของโรงเรียนที่ต้องดำเนินการ โดยต้องมี เนื้อหาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน พัฒนาระบบ Coaching การสอนเพศศึกษาโดยครูในสถานศึกษา สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านให้การปรึกษาในการคุมกำเนิด หลังคลอด ด้วยวิธีกึ่งถาวรให้ครอบคลุมผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ ผลักดันนโยบาย การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น วาระของชาติ ผลักดันเชิงนโยบาย ให้กระทรวงศึกษาออกมาตรการให้สถานศึกษา จัดการเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องอย่างน้อย 16 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะทาง เพศที่ดีของเยาวชน
25
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการผลักดันงานพัฒนาสุขภาพวัยรุ่น
2 ควรมีการทำสื่อโฆษณาที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ผ่านสื่อสาธารณะ โทรทัศน์ วิทยุ เว็ปไซด์ หรือ application การสร้างกระแสด้านวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเชิงบวกใน social media รณรงค์และประชาสัมพันธ์การให้บริการคุมกำเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร สำหรับแม่วัยรุ่น ผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์, Internet, Mobile application เป็นต้น ผลักดันการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยใช้มาตรการทางสังคม การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ควบคู่กับการบังคับใช้กฎหมาย ดำเนินการกับร้านค้า/ สถานประกอบการในส่วนภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ฝ่าฝืนโฆษณาตาม มาตรา ๓๒ มักเป็นผู้กระทำผิดที่ปลายน้ำ จึงควรมีจัดการ แก้ไขปัญหาที่ต้นน้ำ เช่น บริษัทผู้ผลิตเหล้า เบียร์ บริษัทโฆษณา หรือแม้กระทั่ง ผู้ผลิตสินค้าต่างๆ ที่มีชื่อ โลโก้เหล้าเบียร์ โดยทำคู่ขนานไปพร้อมกับส่วนภูมิภาค ควรมีการบูรณาการในการจัดการระบบสุขภาพในระดับตำบลและระดับอำเภออย่าง เข้มแข็งโดยเน้นให้เครือข่าย/องค์กรต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการกันอย่าง จริงจัง ควรมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการดำเนินงานควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อ สนับสนุนในการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายพัฒนาการสำรวจความชุกการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผ่านสื่อออนไลน์
26
ข้อสังเกตจากการรวบรวมข้อมูล
ควรต้องมีการทบทวน ทำความเข้าใจในเรื่อง นิยาม เหตุ หรือ ความจำเป็นในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ของผู้นิเทศ และ ของผู้รับการนิเทศ ยังมีความเข้าใจว่า ถ้าครอบครัวพร้อมก็ สามารถตั้งครรภ์ได้แม้อายุไม่ถึง 20 ปี การวิเคราะห์สถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น บางเขต ไม่มีการ เก็บข้อมูลปีที่ผ่านมา หรือ ข้อมูล ผลการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องใน ปีปัจจุบัน เพื่อเปรียบเทียบหรือสะท้อนปัญหา ให้พื้นที่เห็น ความสำคัญ และเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป การใช้ข้อมูลจาก HDC เพียงแหล่งเดียว อาจไม่สะท้อนปัญหาที่ แท้จริง เนื่องจากข้อมูลไม่ครบถ้วน การบันทึกข้อมูลในแต่ละ ตารางตัวชี้วัด มีความแตกต่างกันมาก ดังยกตัวอย่างแล้วจาก เขต สุขภาพที่ 5 และข้อมูล การคลอดในหญิงอายุ ปี ในตาราง kpi กระทรวงและเขต การบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน ใน HDC ทำให้อัตราต่อพันของการ คลอดในหญิงอายุ ปี ต่ำกว่าความเป็นจริง เนื่องจาก ตัวหารเป็นจำนวนประชากรหญิง อายุ ปี ทั้งหมดทั้งปี
27
ข้อสังเกตจากการรวบรวมข้อมูล
การใช้แบบการนิเทศ ในแต่ละเขต มีความแตกต่างกัน บางเขต ใช้แบบเดิมของปี 2558 บางเขตใช้แบบที่กรมอนามัยออกแบบ บางเขตใช้แบบที่เขตสุขภาพออกแบบให้ใช้ หากต้องมีการ รวบรวมเป็นภาพประเทศ ควรต้องใช้แบบการนิเทศที่เป็นแบบ เดียวกัน และ หาข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวิเคราะห์การ ดำเนินงานในพื้นที่ การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัด บางเขตเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็น ตัวชี้วัดประเทศ(อัตราหญิงคลอดอายุ ปีต่อพัน ประชากร) แต่บางเขต เก็บข้อมูล การคลอดและการตั้งครรภ์ซ้ำ ทำให้การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลต้องขอข้อมูลเพิ่ม เช่น ข้อมูล ตามตัวชี้วัดของกรมอนามัย ได้แก่ การคุมกำเนิดทุกวิธีและกึ่ง ถาวร การพัฒนาการจัดบริการที่เป็นมิตร YFHS, OHOS อำเภอ อนามัยการเจริญพันธุ์ เป็นต้น
28
ข้อสังเกตจากการรวบรวมข้อมูล
บางเขตฯ ไม่เคยเห็น Templete ตัวชี้วัดที่สำนักอนามัยการ เจริญพันธ์ ออกแบบ จึงไม่ได้เก็บข้อมูลตาม Templete ยกตัวอย่าง เช่น การตั้งครรภ์ซ้ำและการคุมกำเนิด ในปี ดูเฉพาะกลุ่มอายุ ปี ในปี 2559 กำหนดเป็นอายุต่ำกว่า 20 ปี รวมแท้งอายุต่ำกว่า 20 ปี ทำให้มีความแตกต่างขงการ เก็บข้อมูล รวมทั้งการบันทึกข้อมูลการตั้งครรภ์ซ้ำใน HDC ยัง เป็นอายุ ปี กรมอนามัยควรสร้างความเข้าใจเรื่องการจัดเก็บข้อมูล นิยาม ตัวชี้วัด ให้ผู้นิเทศงานของกรมอนามัยและกรมสุขภาพจิตที่ เป็น focal point เรื่องวัยรุ่น ให้เข้าใจตรงกัน เพราะบางเขต ให้กรมสุขภาพจิตนิเทศงานวัยรุ่น การเก็บข้อมูลไม่ตรงตาม นิยาม(คนกรมอนามัยก็เก็บไม่ตรงเหมือนกัน)
29
ข้อสังเกตจากการรวบรวมข้อมูล
การเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดกรมอนามัย บางตัวพื้นที่ไม่ค่อยให้ ข้อมูล pm จังหวัด อำเภอ ไม่สามารถสื่อสารกับ รพ. ได้ ผู้รับผิดชอบที่จังหวัด บางจังหวัดไม่มีความรู้เรื่องระบบ IT ไม่ สามารถดึงข้อมูลจากระบบได้ เจ้าหน้าที่ IT ไม่เข้าใจเรื่อง นิยามตัวชี้วัด ส่วนกลาง ควรจะเป็นผู้รวบรวมข้อมูลการตรวจราชการจากทุก เขตเอง โดยมอบหมายให้ สำนักที่เป็นเจ้าของตัวชี้วัดในแต่ ละกลุ่มวัย เป็นเจ้าภาพรวบรวม จะได้รู้ว่าควรจะปรับปรุงอะไร การเก็บข้อมูลถูกต้องหรือไม่ มีข้อจำกัดอะไรในการเก็บข้อมูล ในแต่ละตัวชี้วัด
30
ข้อมูล รายงานสสจ. HDC 1.จำนวนหญิงคลอดทั้งหมด
2. จำนวนหญิงคลอดอายุ< 15ปี 3. จำนวนหญิงคลอดอายุ ปี 4. จำนวนประชากรกลางปีหญิงอายุ ปี 5. จำนวนหญิงคลอดอายุ< 20 ปี G1 6. จำนวนหญิงคลอดอายุ< 20 ปี G ≥ 2 7. จำนวนหญิงคลอดอายุ< 20 ปี no family planning 8. จำนวนหญิงคลอดอายุ< 20 ปี family planning(7วิธี ) 9. จำนวนหญิงคลอดอายุ< 20 ปี ที่ได้รับการคุมกำเนิดกึ่งถาวร 10.จำนวนอำเภออนามัยเจริญพันธ์ 11. จำนวนอำเภอทั้งหมด 12.จำนวน YFHS 13.สถานบริการทั้งหมด ( รพช./รพท./รพศ)
31
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.