งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
บันได 3 ขั้นของการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย

2 เกณฑ์การรับรองคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย PHCA แบ่งเป็น 3 ขั้น ดังนี้
บันไดขั้นที่ 1 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในทุกหน่วยงานมีการทบทวนความเสี่ยงที่สำคัญ มีความตระหนักในการจัดการความเสี่ยงและวางแผนแนวทางแก้ไข ได้ครอบคลุมและปฏิบัติได้ตามมาตรการ/ระบบงานที่วางไว้ เป้าหมายบันไดขั้นที่ 1 สร้างองค์กรให้มีหลักคิดในการดำเนินงาน เมื่อองค์กรผ่าน บันไดขั้นที่ 1 จะแสดงพฤติกรรมองค์กร คือ “ทำงานประจำให้ดี มีอะไรคุยกัน ขยันทบทวน”

3 ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 1 ดังนี้
จัดทำ Organization Profile ที่แสดงลักษณะ/บริบทขององค์กร อย่างชัดเจน 2. ประเมินตนเองโดยศึกษาบริบท / สถานการณ์ของศูนย์บริการสาธารณสุข พัฒนากระบวนการคุณภาพใน 4 มิติ คือ • การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) • การป้องกันและควบคุมโรค (Prevention and control of Disease) • บริการตรวจรักษาโรคในระดับปฐมภูมิ (Primary Health Care) • การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation)

4 โดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ตามหลัก 3 P ในทุกมิติ
Purpose คือ การกำหนดวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดของการพัฒนาคุณภาพอย่าง ชัดเจน 2. Process คือ การจัดทำกระบวน/จัดกิจกรรมเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดที่ได้กำหนด 3. Performance คือ การประเมินผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดและนำผลลัพธ์ที่ได้มาใช้ในการ คาดการณ์ แนวโน้ม ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาต่อเนื่อง

5 ศูนย์บริการสาธารณสุขนำเสนอเอกสาร สรุปผลการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) เพื่อประกอบการตรวจประเมินตามตัวชี้วัดบันไดขั้นที่ 1 ประกอบด้วย Organization Profile เอกสารสรุปผลการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) ใน 4 มิติ

6 บันไดขั้นที่ 2  มีการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ (อย่างน้อย 6 เดือน)
เชื่อมโยงสู่การวางระบบงานที่เหมาะสม สอดคล้องกับเป้าหมายและบริบท ขององค์กร  มีการติดตามตัวชี้วัดที่สำคัญของทุกหน่วยงาน ทุกระบบงาน และแสดงให้เห็นการใช้ประโยชน์จากการติดตามตัวชี้วัดดังกล่าว มีการปฏิบัติตามมาตรฐาน PHCA ใน 6 ระบบ • Risk Management • การพัฒนาสิ่งแวดล้อม • การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในบริการด้านการรักษาพยาบาล • การพัฒนาระบบยา • การพัฒนาระบบเวชระเบียน • การพัฒนาระบบการให้บริการในชุมชน

7 เป้าหมายบันไดขั้นที่ 2 สร้างองค์กรให้มีหลักคิดในการดำเนินงาน
เมื่อองค์กรผ่าน บันไดขั้นที่ 2 จะแสดงพฤติกรรมองค์กร คือ “เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด”

8 ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 2 ดังนี้
1. ทบทวน Organization Profile ทุกระบบงานให้เป็นปัจจุบัน 2. ประเมินตนเอง โดย การทบทวนระบบงานสำคัญ ใน 6 ระบบดังต่อไปนี้ Risk Management การพัฒนาสิ่งแวดล้อม การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในบริการ ด้านการรักษาพยาบาล การพัฒนาระบบยา การพัฒนาระบบเวชระเบียน การพัฒนาระบบการให้บริการในชุมชน

9 โดยใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ตามหลัก 3 P
ในระบบงานสำคัญ 6 ระบบ โดยแต่ละระบบกำหนดวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด จัดทำกระบวนการ / กิจกรรมและวิธีการประเมินผล

10 ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 2 ดังนี้
3. ศูนย์บริการสาธารณสุขจัดทำแนวทางการพัฒนาคุณภาพ ตามตัวชี้วัดใน 6 ระบบงานสำคัญ 4. ศูนย์บริการสาธารณสุข ทบทวนผลการดำเนินงาน เปรียบเทียบตัวชี้วัดใน 6 ระบบงานสำคัญ 5. ศูนย์บริการสาธารณสุข สรุปผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA)

11 ศูนย์บริการสาธารณสุขนำเสนอเอกสาร สรุปผลการดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) เพื่อประกอบการตรวจประเมินตามตัวชี้วัดบันไดขั้นที่ 2 ประกอบด้วย Organization Profile ที่ทบทวนและเป็นปัจจุบัน รายงานการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) ตามตัวชี้วัด

12 บันไดขั้นที่ 3 มีการบูรณาการ การพัฒนาคุณภาพระบบงานและหน่วยงาน
มีการปฏิบัติตามมาตรฐาน PHCA อย่างครบถ้วน จนเป็นวัฒนธรรมคุณภาพ เป้าหมายบันไดขั้นที่ 3 สร้างองค์กรให้มีหลักคิดในการดำเนินงาน เมื่อองค์กรผ่าน บันไดขั้นที่ 3 จะแสดงพฤติกรรมองค์กร คือ “ผลลัพธ์ดี มีวัฒนธรรม นำมาตรฐานมาใช้”

13 ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการตามบันไดขั้นที่ 3 ดังนี้
1. ทบทวน Organization Profile ทุกระบบงานให้ป็นปัจจุบัน 2. ประเมินตนเอง ในการพัฒนาคุณภาพระบบงานบริการ ทุกระบบ ของศูนย์บริการสาธารณสุข ตามมาตรฐาน PHCA อย่างครบถ้วน เน้นการบูรณาการและการเชื่อมโยง • มีการกำหนดวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด • มีการจัดทำกระบวนการหรือกิจกรรมที่ส่งผลต่อการบรรลุผล สำเร็จตามตัวชี้วัด • มีการประเมินผลตัวชี้วัดอย่างชัดเจน • มีการวิเคราะห์ผลเพื่อคาดการณ์และประเมินแนวโน้ม ในการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่องและรักษา

14 Organization Profile ที่ทบทวนและเป็นปัจจุบัน
ศูนย์บริการสาธารณสุขนำเสนอเอกสารสรุปผล การดำเนินงานกระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (PHCA) (ครบทุกระบบ) เพื่อประกอบการตรวจประเมิน ตามตัวชี้วัดบันไดขั้นที่ 3 ประกอบด้วย Organization Profile ที่ทบทวนและเป็นปัจจุบัน

15 2. รายงานที่แสดงถึงการบูรณาการณ์และการเชื่อมโยง
การพัฒนาคุณภาพระบบงานและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐาน PHCA อย่างครบถ้วน แสดงขอบเขตการวัดผลการดำเนินงาน 7 ด้าน ด้านการบริการ รักษาพยาบาล แบบผสมผสาน และการฟื้นฟูสภาพ(ภายในศูนย์) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคตามกลุ่มประชากร (ในชุมชน) ด้านการเรียนรู้ของชุมชน ด้านการมุ่งเน้นผู้รับบริการ / ผู้รับผลงาน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลกระบวนการ ด้านการนำ

16 ตัวชี้วัดกลยุทธ์หลัก
ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ร้อยละของจำนวนโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุข สังกัดกรุงเทพมหานครให้บริการครบทั้งการรักษาพยาบาล ป้องกันโรค ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพ โดยแต่ละด้านมีคุณภาพเทียบได้กับมาตรฐานสากล ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน PHCA บันไดขั้นที่ 1 ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 90 ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน PHCA บันไดขั้นที่ 2 ศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ผ่านการรับรอง มาตรฐาน PHCA บันไดขั้นที่ 3

17 ตารางกำหนดส่งผลงานตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ 2557

18 Thank You


ดาวน์โหลด ppt แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google