ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยZdzisław Kot ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
นายศักดิ์ณรงค์ สอนคง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
3
“ นกน้ำเพลินตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานป๋า ศูนย์ค้าแดนใต้ ”
4
บทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
การเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในส่วนของยาเสพติดและโรคเอดส์ การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค วางแผนการดำเนินงาน การดำเนินงานตามแผนงานกิจกรรม การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การสรุปผลการดำเนินงาน การนำเสนอผลงาน
5
การติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในหน่วยบริการ จังหวัดสงขลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ฝ่ายพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
6
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลสิงหนคร โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่
โรงพยาบาลจะนะ โรงพยาบาลธัญรักษ์สงขลา สิงหนคร เมืองสงขลา หาดใหญ่ จะนะ
7
ผู้มารับบริการในคลินิกบำบัดยาเสพติด จังหวัดสงขลา ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556
ผู้ใช้ยาเสพติดที่รับบริการทั้งสิ้น 402 ราย IDU = 220 ราย (54.7%) และ Non IDU = 182 ราย (45.3%)
8
ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ
%
9
ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ จำแนกตามกลุ่มอายุ และวิธีการใช้ยา/สารเสพติด
% มีอายุตั้งแต่ 14 – 66 ปี ปี ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 35.4 ปี (14-66 ปี) โดยเฉลี่ยผู้ใช้/สารเสพติดเริ่มใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดครั้งแรกเมื่ออายุ 21 ปี และฉีดมาเป็นระยะเวลานานประมาณ 17 ปี
10
ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้
ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้ % แบ่งภาคก่อนนะ ทำเป็นกราฟดีกว่าอ่ะ 63% ของ IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด 17% ของ Non IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด (4x100, สุรา)
11
พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้ยา/สารเสพติด
N (89.3%) (57.5%) (31.7%)
12
ร้อยละของพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ และ การใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด
%
13
ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีที่ตอบได้ถูกต้อง ของผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการ
%
14
สถานการณ์เอชไอวีในผู้ใช้ยา/สารเสพติด ในหน่วยบริการ จังหวัดสงขลา
% เติม N
15
ร้อยละของผู้ใช้ยา/สารเสพติดด้วยวิธีฉีดที่ได้รับบริการ
การบริการที่ได้รับ IDU (N = 220) จำนวน ร้อยละ MMT 171 77.7 การแลกเปลี่ยนเข็ม และกระบอกฉีดยาใหม่ 36 16.4 การสอน/สนับสนุนอุปกรณ์ในการ ทำความสะอาดเข็ม 60 27.3 การสนับสนุนถุงยางอนามัย 77 35.0
16
การตรวจคัดกรองสุขภาพของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 Screen IDU (N = 220) Non-IDU (N = 182) จำนวน ร้อยละ Screen TB 69 31.4 1 0.5 TB infected 6 8.7 100 Screen STI 65 29.5 2 1.1 STI infected 1.5 Screen HBV 79 35.9 3 1.6 HBV infected Screen HCV 34 15.5 HCV infected 2.9 50
17
ข้อมูลเฝ้าระวังกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (IDUs) จังหวัดสงขลา ดำเนินเฝ้าระวัง พ.ศ. 2555
จำนวนกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีดที่เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 173 คน เก็บข้อมูลในพื้นที่อำเภอจะนะ , หาดใหญ่ , เทพา , สิงหนคร , ระโนดและอำเภอเมือง เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามและการเจาะเลือด ดำเนินการเก็บข้อมูลในช่วงเดือน ตุลาคม – มกราคม 2556
18
ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555
ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 จำนวน 173 ตัวอย่าง
19
ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555
ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 หมายเหตุ ผู้ใช้สารเสพติดบางคนใช้สารเสพติดมากกว่า 1 ชนิด
20
ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555
ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 การติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 71 คน
21
ร้อยละของการติดเชื้อ HIV กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ. ศ
แทรก Slide ไตเติ้ลการเฝ้าระวังในปะชากรกลุ่มต่าง ๆ
22
ความรู้ ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555
23
การบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลผ่านผู้บริหารระดับจังหวัดเพื่อกำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน การสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดทั้งในกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอื่น ๆ วางแผนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและเอดส์ทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ เพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการดำเนินงานของคลินิกยาเสพติด เพื่อติดตามการดำเนินงานระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ ทราบขนาดของปัญหา เพื่อวางแผนในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
24
ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน
ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน ผู้บริหารจะให้ความสำคัญในเรื่องของการแก้ปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นนโยบายหลักของรัฐบาล การให้ความสำคัญของการดำเนินงานเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด ยังมีน้อยเนื่องจากปัญหาความซับซ้อนทั้งในเรื่องของแบบ พสต./Harm Reduction การดำเนินงานเอดส์และยาเสพติด มีการแยกเป็น 2 ฝ่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบยาเสพติดของโรงพยาบาลมีภารกิจมาก
25
ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน
ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน การเก็บข้อมูลฯ มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบมีมาก การนำเข้าข้อมูลทั้ง พสต./Harm Reduction มีความล่าช้า ปัญหาในเรื่องการเบิกจ่ายงบประมาณ (บางเรื่อง)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.