งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินคุณภาพการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินคุณภาพการพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินคุณภาพการพยาบาล
กุลดา พฤติวรรธน์ ประธานคณะกรรมการประกันคุณภาพการพยาบาล

2 การประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล ตามมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาลปี 2550

3 การประเมินคุณภาพการพยาบาล
การประเมินคุณภาพภายใน - เพื่อนำไปสู่การปรับปรุง พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการพยาบาล - โดยบุคคลภายในสถานพยาบาล ในหน่วยงาน/ต้นสังกัด การประเมินคุณภาพภายนอก - เพื่อการพัฒนาคุณภาพและการรับรองคุณภาพมาตรฐาน - โดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสังกัด/หน่วยงานภายนอก

4 การประเมินคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์ ติดตามความก้าวหน้า วิเคราะห์ผลการพัฒนางาน พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงระบบการประกันคุณภาพทั้งระบบของสถานบริการสาธารณสุขเพื่อสนองพันธกิจ นโยบาย นำผลมากำหนดแนวทางพัฒนา คิดค้นนวัตกรรม ฯลฯ

5 การประเมินคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล
ประโยชน์ องค์กรพยาบาลใช้เป็นข้อมูลตัดสินใจ วางแผนงาน การจัดบริการมีมาตรฐาน บุคลากรมีศักยภาพ การทำงานมีประสิทธิภาพ

6 การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลภายหลังอบรม
ไม่ปฏิบัติ นำมาตรฐานในรพ. (2550) สู่การปฏิบัติ ทำความเข้าใจมาตรฐานและนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ ปฏิบัติ ทำความเข้าใจและสือสารการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในให้ทั่วองค์กร วางแผนดำเนินงานประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน ปฏิบัติ

7 ระดับของมาตรฐาน ระดับชาติ ได้แก่ มาตรฐานการพยาบาลของสภาการพยาบาล (มาตรฐานบริการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ) ระดับสถาบัน ได้แก่ มาตรฐานของสำนักการพยาบาล มาตรฐานหรือแนวทางจากหน่วยงานกลาง (สำนักควบคุมโรค สำนักอนามัย) ระดับหน่วยงาน ได้แก่ มาตรฐานปฏิบัติการพยาบาล (การดูแลผู้ป่วยโรคเอดส์)

8 มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล:MBNQA / TQA / PMQA
ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคลากร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

9 การแบ่งเกณฑ์ 7 หมวด ส่วนที่เป็นกระบวนการ (หมวด 1-6)
สามารถแบ่งตามลักษณะการปฏิบัติการได้ 3 กลุ่มย่อย ดังนี้ 1.1 กลุ่มการนำองค์กร ได้แก่ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ และหมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.2 กลุ่มปฏิบัติการ ได้แก่ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล และหมวด 6 การจัดการกระบวนการ 1.3 กลุ่มพื้นฐานของระบบ ได้แก่ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 2. ส่วนที่เป็นผลลัพธ์ (หมวด 7)

10 มาตรฐานการบริหารการพยาบาล มาตรฐานการบริการพยาบาล
ลักษณะสำคัญขององค์กร 4. การวัด วิเคราะห์ การจัดการสารสนเทศ และความรู้ 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ด้านคุณภาพการให้บริการพยาบาล ด้านประสิทธิภาพการปฏิบัติการพยาบาล ด้านการพัฒนาองค์กร 7. ผลลัพธ์ 1. การนำองค์กร การให้การบริการพยาบาล 3. การให้ความสำคัญ กับผู้ใช้บริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 1. กระบวนการพยาบาล 1.1 การประเมินการพยาบาล 1.2 การวินิจฉัยการพยาบาล 1.3 การวางแผนการพยาบาล 1.4 การปฏิบัติการพยาบาล 1.5 การประเมินผลการพยาบาล 2. การดูแลต่อเนื่อง 3. การสร้างสุขภาพ 4. การคุ้มครองสุขภาพ 5. การให้ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ 6. การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย มาตรฐานการบริการพยาบาล มาตรฐานบริการพยาบาล และการผดุงครรภ์ระดับ ทุติยภูมิและตติยภูมิ กระบวนการพยาบาล การพยาบาลองค์รวม มาตรฐานการพยาบาล ในโรงพยาบาล พ.ศ. 2550 ชุติกาญจน์ หฤทัย

11 มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล
การประเมินคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล การบริหารการพยาบาล การบริการพยาบาล 9 งาน OPD ER IPD ICU สูติกรรม (และฝากครรภ์) OR วิสัญญี Csg. IC การบริหารการพยาบาล การบริการพยาบาล 10 งาน OPD ER IPD ICU LR ANC OR วิสัญญี Csg. IC

12 มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล
ระดับองค์กร (กลุ่มการพยาบาล) มาตรฐานการบริหารระดับองค์กร 14 มาตรฐาน ระดับหน่วยงาน (10 งาน) ส่วนที่ 1 มาตรฐานบริหารระดับหน่วยงาน ส่วนที่ 2 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล:หมวด 6 (10 งาน) 1. OPD LR 2. ER OR 3. IPD Anes 4. ICU Counselling 5. ANC IC

13 สาระสำคัญของมาตรฐานการพยาบาล
มาตรฐานบริหารการพยาบาล ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กรพยาบาล ส่วนที่ 2 เนื้อหามาตรฐานการพยาบาล (หมวด 1-6) ส่วนที่ 3 เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการพยาบาลในภาพรวมขององค์กรพยาบาล (4 ด้าน) (หมวด 7) มาตรฐานบริการพยาบาล ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญของงานบริการพยาบาล ส่วนที่ 2 มาตรฐานการบริหารงานบริการพยาบาล (หมวด 1-6) ส่วนที่ 3 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล (หมวด 6) ส่วนที่ 4 เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการพยาบาล (4 ด้าน) (หมวด 7)

14 หัวข้อมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาลส่วนที่ 2 (หมวด 6)
ตามกระบวนการพยาบาล 1. กระบวนการพยาบาล 1.1 การประเมินการพยาบาล 1.2 การวินิจฉัยการพยาบาล 1.3 การวางแผนการพยาบาล 1.4 การปฏิบัติการพยาบาล 1.5 การประเมินผลการพยาบาล 2. การดูแลต่อเนื่อง 3. การสร้างเสริมสุขภาพ 4. การคุ้มครองสุขภาพ 5. การให้ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ 6. การพิทักษ์สิทธิ์ 7. การบันทึกทางการพยาบาล ตามกระบวนการหลัก 1. กระบวนการหลัก 1.1 ก่อนการบริการการพยาบาล 1.2 ระหว่างการบริการการพยาบาล 1.3 หลังการบริการการพยาบาล 2. การดูแลต่อเนื่อง 3. การสร้างเสริมสุขภาพ 4. การคุ้มครองสุขภาพ 5. การให้ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ 6. การพิทักษ์สิทธิ์ 7. การบันทึกทางการพยาบาล

15 มาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาล(หมวด 6)
มาตรฐานการพยาบาลที่กำหนดตามกระบวนการพยาบาล มาตรฐาน ER, IPD, ICU, ANC, Csg, IC มาตรฐานการพยาบาลที่กำหนดตามกระบวนการหลัก มาตรฐาน OPD, OR, ดมยา, LR

16 องค์ประกอบของมาตรฐานปฏิบัติการพยาบาลแต่ละข้อ
มาตรฐานที่ หัวข้อมาตรฐาน เป็นข้อความที่แสดงถึงองค์ประกอบหลักของการปฏิบัติการพยาบาล ที่ครอบคลุมการปฏิบัติการพยาบาลในทุก ๆ ด้านของวิชาชีพการพยาบาล ข้อความมาตรฐาน เป็นข้อความที่ขยายความหัวข้อมาตรฐาน และแสดงถึงวัตถุประสงค์ของปฏิบัติการพยาบาลในประเด็นนั้น ๆ เป็นประเด็นสำคัญของมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติ เป็นกิจกรรมการพยาบาลที่กำหนดขึ้นเพื่อเป็น แนวทางสำหรับพยาบาลวิชาชีพในการปฏิบัติการพยาบาลในกระบวนการนั้น ๆ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง เป็นข้อความที่แสดงถึงผลที่ควรจะเกิดขึ้นกับ ผู้ใช้บริการและครอบครัว หลังจากได้รับการพยาบาลตามแนวทางที่กำหนด

17 ด้านผลลัพธ์ (ในทุกงาน)
ผลลัพธ์การดำเนินการงานบริหารและบริการพยาบาลซึ่งจะวัดใน 4 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านประสิทธิผล ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติการพยาบาล ด้านที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร

18 สาระสำคัญของแบบประเมินคุณภาพการพยาบาล
แบบประเมินงานบริการพยาบาล (10 งาน) ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาลระดับหน่วยงาน: มิติกระบวนการ (หมวด 1-6) ส่วนที่ 2 แบบประเมินคุณภาพการบริการพยาบาลงาน.: มิติกระบวนการ (หมวด 6) ส่วนที่ 3 แบบประเมินคุณภาพการบริการพยาบาลงาน : มิติผลลัพธ์ (หมวด 7) แบบประเมินงานบริหารพยาบาล ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล: มิติกระบวนการ (หมวด 1-6) ส่วนที่ 2 แบบประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล: มิติผลลัพธ์ (หมวด 7)

19 การประเมินคุณภาพการพยาบาลตามมาตรฐาน
ระดับองค์กร (กลุ่มการพยาบาล) มาตรฐานการบริหารระดับองค์กร 14 มาตรฐาน (30ข้อคำถาม) ระดับหน่วยงาน (10 งาน) ส่วนที่ 1 มาตรฐานบริหารระดับหน่วยงาน 14 มาตรฐาน (13 ข้อคำถาม) ส่วนที่ 2 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล (10 งาน) 1. OPD 9 มาตรฐาน (13 ข้อคำถาม) LR 8 มาตรฐาน (12 ข้อคำถาม) 2. ER 8 มาตรฐาน (12 ข้อคำถาม) OR 9 มาตรฐาน (13 ข้อคำถาม) 3. IPD 11 มาตรฐาน (15 ข้อคำถาม) Anes 9 มาตรฐาน (13 ข้อคำถาม) 4. ICU11 มาตรฐาน (15 ข้อคำถาม) Csg 9 มาตรฐาน(13 ข้อคำถาม) 5. ANC 11 มาตรฐาน (15 ข้อคำถาม) IC 9 มาตรฐาน (13 ข้อคำถาม)

20 ภาพรวมของการประเมิน และระบบการให้คะแนน

21 แนวทางการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน
มี 2 มิติ มิติกระบวนการ มิติผลลัพธ์

22 มิติกระบวนการ : 4 องค์ประกอบ (A/D/L/I)
Approach (A) มีแนวทาง/วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล Deployment (D) นำแนวทางที่กำหนดไปถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ Learning (L) มีการปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น Integration (I) ความสอดคล้อง (Aligned) กับข้อกำหนดในมาตรฐานหมวดอื่น ๆ

23 มิติผลลัพธ์ : 4 องค์ประกอบ (Le/T/C/Li)
Performance Level (Le) หมายถึง ผลการดำเนินการปัจจุบันเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่หน่วยงาน/องค์กรกำหนด Trend (T) หมายถึง แนวโน้มของผลการดำเนินงาน เพื่อแสดงทิศทางของผลลัพธ์และอัตราการเปลี่ยนแปลง Comparison (C) หมายถึง การเปรียบเทียบผลลัพธ์การดำเนินงานในระหว่างหน่วยงานบริการพยาบาล/องค์กรที่มีภารกิจที่คล้ายคลึงกัน Linkage (Li) หมายถึง การพิจารณาผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาลโดยเชื่อมโยง กับผลการดำเนินการด้านต่างๆ

24 ระบบการให้คะแนน ประยุกต์จากระบบการให้คะแนนของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) โดยพิจารณาให้คะแนนทั้งมิติกระบวนการ (A, D, L, I) และมิติผลลัพธ์ (Le, T, C, Li) แบ่งออกเป็น 6 ช่วงคะแนน ดังนี้ 0 = No Evidence 1 = Beginning 2 = Basically Effectiveness 3 = Mature 4 = Advance 5 = Role Model

25 มิติกระบวนการ : A D L I องค์ประกอบ ความหมาย
A : Approach มีแนวทางปฏิบัติ/วิธีการที่ใช้เพื่อให้กระบวนการบรรลุผล ซึ่งแนวทางนั้นต้องสามารถนำไปใช้ซ้ำได้ ตอบสนองต่อข้อกำหนดของมาตรฐานและอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลสารสนเทศที่เชื่อถือได้ โดยประเมินจากการมีแนวทางปฏิบัติ/วิธีการที่ครบถ้วนหรือดีกว่าข้อกำหนดของมาตรฐาน D : Deployment มีการนำแนวทางที่กำหนดไปถ่ายทอดสู่การไปปฏิบัติ อย่างครอบคลุมและทั่วถึง เพื่อตอบสนองข้อกำหนดของมาตรฐาน โดยประเมินจาก การนำแนวทางไปดำเนินการครอบคลุมในกลุ่มของผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ ครอบคลุมหน่วยงานภายใน และขยายไปยังหน่วบงานภายนอกองค์กร ทุกคนที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามทุกขั้นตอนและอย่างจริงจัง

26 มิติกระบวนการ : A D L I องค์ประกอบ ความหมาย
L : Learning มีการปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น โดยใช้วงจรการประเมินและการปรับปรุง มีการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดดโดยใช้นวัตกรรมและการแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ในระดับหน่วยงาน/องค์กร ซึ่งเป็นความรู้หรือทักษะใหม่ที่ได้รับจากการประเมิน การศึกษา ประสบการณ์และนวัตกรรม การเรียนรู้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือการเรียนรู้ของหน่วยงานและของบุคลากร โดยประเมินจากการติดตามประเมินผลการใช้แนวทางไปปรับปรุงแนวทางให้ดีขึ้น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานภายในและภายนอกหน่วยงาน I : Integration ความสอดคล้อง (Aligned) กับผลลัพธ์ที่คาดหวังตามมาตรฐานนั้นและข้อกำหนดในมาตรฐานหมวดอื่น ๆ ของทีมสหวิชาชีพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งการใช้แนวทาง ตัวชี้วัด สารสนเทศ การวิเคราะห์ โดยประเมินจากระบบการปรับปรุงที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน เพื่อตอบสนองผลลัพธ์ที่คาดหวังของหน่วยงาน และองค์กร

27 ลักษณะของแบบประเมินคุณภาพการพยาบาล
ข้อ รายการ องค์ประกอบการประเมิน การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ผู้บริหารหน่วยงานบริการพยาบาล 1) 2) 3) A ไม่มีการกำหนด กำหนด1) กำหนด1)+2) กำหนดครบ... กำหนดดีกว่า... เป็นแหล่ง... D L I

28 แนวทางการให้คะแนน มิติกระบวนการ
ระดับ ความหมาย ไม่มีการดำเนินการ (ADLI) ตามข้อกำหนดของมาตรฐาน /ไม่มีหลักฐาน 1 มีการดำเนินการ(ADLI) ตามข้อกำหนดของมาตรฐาน เป็นส่วนน้อย(ต่ำกว่าร้อยละ 50) 2 มีการดำเนินการ(ADLI) ตามข้อกำหนดของมาตรฐาน เป็นส่วนใหญ่(มากกว่าร้อยละ 50) 3 มีการดำเนินการ(ADLI) ครบถ้วนตามข้อกำหนดของมาตรฐาน 4 มีการดำเนินการ(ADLI) มากกว่า/ดีกว่าข้อกำหนดของมาตรฐาน 5 และเป็นแนวทางที่พิสูจน์ได้ว่า นำสู่ความ เป็นเลิศ

29 Basically Effectiveness
A : APPROACH No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่มีแนวทาง การดำเนินการตามข้อกำหนดของมาตรฐาน มีแนวทางตามข้อกำหนดของมาตรฐานเป็นส่วนน้อย (น้อยกว่า 50 % ของข้อกำหนด) มีแนวทางที่ เป็นระบบตามข้อกำหนดของมาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50 % ของข้อกำหนด) มีแนวทางที่เป็นระบบตามข้อ กำหนดของมาตรฐานอย่างครบถ้วน มีแนวทางที่เป็นระบบซึ่งกำหนดเพิ่มขึ้นมากกว่าข้อกำหนดของมาตรฐาน มีแนวทางที่เป็นระบบมากกว่าข้อกำหนดของมาตรฐานและเป็นแนวทางที่พิสูจน์ได้ว่า นำสู่ความ เป็นเลิศ

30 Basically Effectiveness
D : DEPLOYMENT No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่ได้นำแนวทางที่กำหนดไปดำเนินการ นำแนวทางที่กำหนดไปดำเนินการเป็นส่วนน้อย (น้อยกว่า 50 % ของแนวทางและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย น้อยกว่า 50 %) นำแนวทางที่กำหนดไปดำเนินการเป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50 % ของแนวทางและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายมากกว่า 50 %) นำแนวทางที่กำหนดไปดำเนินการอย่างครบถ้วน ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมาย 100 % นำแนวทางที่กำหนดไปดำเนินการอย่างครบถ้วนครอบคลุมหน่วยงานที่สำคัญอื่นๆ ภายในองค์กร หน่วยงานการพยาบาลอื่นๆภายนอกองค์กรมีการนำแนวทางที่กำหนดไปดำเนินการ

31 Basically Effectiveness
L : LEARNING No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่ได้ทบทวนแนวทางที่กำหนด นำแนวทางที่กำหนดไปทบทวน ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะๆแต่ไม่สม่ำเสมอและไม่ ต่อเนื่อง นำ แนวทางที่กำหนดไปทบทวนปรับปรุงแก้ไขอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง นำ แนวทางที่กำหนดไปทบทวนปรับปรุงแก้ไขอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในหน่วยงาน นำแนวทางที่ผ่านการทบทวนปรับปรุงแก้ไขและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆภายในองค์กร นำแนวทางที่ผ่านการทบทวนปรับปรุงแก้ไขและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปคิดค้น/สร้างนวัตกรรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานอื่นๆภายนอกองค์กร

32 Basically Effectiveness
I : INTEGRATION No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model แนวทางการดำเนินการระดับหน่วยงาน/องค์กร ไม่มีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน /ไม่มีหลักฐาน แนวทางการดำเนินการมีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับการดำเนินการของหน่วยงาน/ผลลัพธ์ที่คาดหวัง แนวทางการดำเนินการมีความสอดคล้องกับพันธกิจ/เป้าหมายของหน่วยงาน แนวทางการดำเนินการมีความสอดคล้องกับพันธกิจ/เป้าหมายขององค์กร มีการบูรณาการแนวทาง การดำเนินการกับพันธกิจ/เป้าหมายขององค์กรและมาตรฐานของงานบริการสุขภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการบูรณาการแนวทาง การดำเนินการกับพันธกิจ/เป้าหมายขององค์กรและมาตรฐานคุณภาพอื่น ๆ เป็นอย่างดี

33 มิติผลลัพธ์ : Le T C Li องค์ประกอบ ความหมาย Le Performance Level ผลการดำเนินการปัจจุบันเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่หน่วยงาน/องค์กรกำหนด T Trend แนวโน้มของผลการดำเนินงาน เพื่อแสดงทิศทางของผลลัพธ์และอัตราการเปลี่ยนแปลงของการปรับปรุงผลของการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน C Comparison การเปรียบเทียบผลลัพธ์การดำเนินงานในระหว่างหน่วยงานบริการพยาบาล/องค์กรที่มีภารกิจที่คล้ายคลึงกัน และระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม แสดงผลลัพธ์เมื่อเปรียบเทียบกัน Li Linkage การพิจารณาผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาลโดยเชื่อมโยง กับผลการดำเนินการด้านต่างๆ ทั้งด้านบริการพยาบาล ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย กระบวนการและแผนปฏิบัติการที่สำคัญตามที่ได้ระบุไว้ในลักษณะที่สำคัญขององค์กรและในหัวข้อของมาตรฐานหมวดที่ แสดงถึงความครอบคลุมประเด็นหลัก สอดคล้องและความสำคัญของผลลัพธ์ต่อหน่วยงานบริการพยาบาล/องค์กรทั้งหมด

34 แนวทางการให้คะแนน มิติผลลัพธ์
ระดับ ความหมาย ไม่มีข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผล หรือไม่มีตัววัดใดบรรลุเป้าหมาย 1 มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัด ตามมิติของการประเมินผล (LeTCLi) ที่บรรลุเป้าหมายที่กำหนดร้อยละ 1 – 20 2 มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัด ตามมิติของการประเมินผล (LeTCLi) ที่บรรลุเป้าหมายที่กำหนดร้อยละ 21 – 40 3 มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัด ตามมิติของการประเมินผล (LeTCLi) ที่บรรลุเป้าหมายที่กำหนด ร้อยละ 41 – 60 4 มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัด ตามมิติของการประเมินผล (LeTCLi) ที่บรรลุเป้าหมายที่กำหนดร้อยละ 61 – 80 5 มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผล (LeTCLi) ที่บรรลุเป้าหมายที่กำหนดร้อยละ 81 – 100

35 Basically Effectiveness
Le : PERFORMANCE LEVEL No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่มีข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผล หรือไม่มีตัวชี้วัด ใดบรรลุเป้าหมายที่กำหนด มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผล และมีตัวชี้วัดบางส่วน (1 – 20 %) บรรลุเป้าหมายที่องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลกำหนด มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผลและมีตัวชี้วัดส่วนน้อย (21 – 40 %) บรรลุเป้าหมายที่องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลกำหนด มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผลและมีตัวชี้วัดประมาณครึ่งหนึ่ง (41 – 60 %) บรรลุเป้าหมายที่องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลกำหนด มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผลและมีตัวชี้วัดส่วนใหญ่ (61 – 80 %) ที่บรรลุเป้าหมายที่องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลกำหนด มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผลและตัวชี้วัดเกือบทั้งหมด (81 – 100 %) บรรลุเป้าหมายที่องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลกำหนด

36 Basically Effectiveness
T : TREND No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่มีข้อมูล/ตัวชี้วัดตามมิติของการประเมินผล หรือไม่มีตัวชี้วัดใดที่แสดงแนวโน้ม มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัด อย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป และมีตัวชี้วัด เพียงบางส่วน (1-20 %) ที่มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป และมีตัวชี้วัดเป็นส่วนน้อย (21-40 %) ที่มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป และมีตัวชี้วัดประมาณครึ่งหนึ่ง (41-60 %) ที่มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป และมีตัวชี้วัด ส่วนใหญ่ (61-80 %) ที่มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไป และมีตัวชี้วัดเกือบทั้งหมด ( %) ที่มีแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น

37 Basically Effectiveness
C : COMPARISON No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่มีรายงานข้อมูลการเปรียบเทียบ/ตัวชี้วัดทุกตัวที่รายงานมีผลลัพธ์ด้อยกว่ากลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบ มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดที่นำมา เปรียบเทียบ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานบางส่วน (1-20 %) มีผลลัพธ์ดีกว่า/เท่ากับกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบ มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดที่นำมา เปรียบเทียบ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานส่วนน้อย (21-40 %) มีผลลัพธ์ดีกว่า/เท่ากับกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบ มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดที่นำมา เปรียบเทียบ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานครึ่งหนึ่ง (41-60 %) มีผลลัพธ์ดีกว่า/เท่ากับกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบ มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดที่นำมา เปรียบเทียบ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานส่วนใหญ่ (61-80 %) มีผลลัพธ์ดีกว่า/เท่ากับกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบ มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดที่นำมา เปรียบเทียบ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเกือบทั้งหมด ( %) มีผลลัพธ์ดีกว่า/เท่ากับกลุ่มที่นำมาเปรียบเทียบ

38 Basically Effectiveness
Li : LINKAGE No Evidence 1 Beginning 2 Basically Effectiveness 3 Mature 4 Advance 5 Role Model ไม่มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดที่มีผลลัพธ์ที่แสดงถึงความสำเร็จในการตอบสนองพันธกิจของหน่วยงาน/องค์กร มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดบางส่วน (1-20 %) ที่แสดงถึงความ สำเร็จในการตอบสนองพันธกิจของหน่วยงาน/องค์กร/สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัด เป็นส่วนน้อย (21-40 %) ที่แสดงถึงความ สำเร็จในการตอบสนองพันธกิจ ของหน่วยงาน/องค์กร/สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดประมาณครึ่งหนึ่ง (41-60 %) ที่แสดงถึงความสำเร็จในการตอบสนองพันธกิจของหน่วยงาน/องค์กร /สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดส่วนใหญ่ (61-80 %) ที่แสดงถึงความสำเร็จในการตอบสนองพันธกิจของหน่วยงาน/องค์กร/สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง มีรายงานข้อมูล/ตัวชี้วัดเกือบทั้งหมด ( %) ที่แสดงถึงความสำเร็จในการตอบสนองพันธกิจของหน่วยงาน/องค์กร/สอดคล้องกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง

39 การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินคุณภาพการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 1 การพิจารณาให้คะแนน แบบประเมินมาตรฐานการบริหารการพยาบาล แบบประเมินมาตรฐานการบริการพยาบาล ( 10 งาน ) ขั้นตอนที่ 2 การคำนวณคะแนน ( ต้องทำครบทั้ง 2 ข้อ ) การคำนวณรายข้อ การคำนวณคะแนนภาพรวม ใช้หลักการเดียวกันทั้งงานบริหารการพยาบาลและบริการพยาบาลทั้ง 10 งาน

40 ขั้นตอนที่ 1 การพิจารณาให้คะแนน
แบบประเมินมาตรฐานการบริหาร/บริการพยาบาล การให้คะแนนมิติกระบวนการ ( หมวด 1 – 6) เริ่มที่ A ก่อนเป็นอันดับแรก หาก A = 0 คะแนน ไม่คิดประเมิน D , L , I ต่อ หาก A = 1 คะแนนขึ้นไป ให้ประเมิน D , L , I ต่อจนครบทุกรายการ แบบประเมินมาตรฐานการบริหาร/บริการพยาบาล การให้คะแนนมิติผลลัพธ์ ( หมวด 7) เริ่มที่ Le ก่อนเป็นอันดับแรก หาก Le = 0 คะแนน ไม่คิดประเมิน T , C , Li ต่อ หาก Le = 1 คะแนนขึ้นไป ให้ประเมิน T , C , Li ต่อจนครบทุกรายการ

41 ขั้นตอนที่ 2 การคำนวณคะแนน
การคำนวณรายข้อ คะแนนรายข้อมิติกระบวนการ = = X ใช้คะแนนของ X แต่หาก X > A ให้ใช้คะแนนของ A การคำนวณรายข้อ คะแนนรายข้อมิติผลลัพธ์ = = Y ใช้คะแนนของ Y แต่หาก Y > Le ให้ใช้คะแนนของ Le

42 ขั้นตอนที่ 2 การคำนวณคะแนน ( ต่อ )
2.2 การคำนวณคะแนนภาพรวม 1) รวมคะแนนทุกข้อรายการของแบบประเมินทั้งชุด 2) เทียบบัญญัติไตรยางศ์ให้เป็นค่าร้อยละ X 100 3 ) นำค่าร้อยละที่ได้ มาเทียบกับคำอธิบายลักษณะของระดับการพัฒนาคุณภาพหน่วยงาน

43 ตัวอย่าง : งานบริหารการพยาบาล
การแปลผลคุณภาพการพยาบาล ( ต่อ ) ตัวอย่าง : งานบริหารการพยาบาล เมื่อได้ผลการคำนวณค่าร้อยละขององค์กร / หน่วยงานบริการพยาบาลมาแล้ว ดำเนินการ ดังนี้ 1. นำค่าร้อยละไปเทียบตารางจะอยู่ในช่วง % 2. ดูคำอธิบายผลการประเมินองค์กร / หน่วยงานบริการพยาบาล 3. ถ้าคำอธิบายไม่ตรงกับลักษณะขององค์กร / หน่วยงานบริการ พยาบาลนั้น ๆ แสดงว่า ผลการประเมินคลาดเคลื่อน ควร ประเมินใหม่

44 หลักการสำคัญของประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน
เปิดใจให้กว้าง มีความเป็นกลาง ไม่อคติ ไม่ลำเอียง ไม่เข้าข้างตัวเอง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ยึดเป้าหมายเพื่อการพัฒนา

45 องค์ประกอบสำคัญ ของการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน
ผู้ประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล เครื่องมือการประเมินคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาล การรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพ

46 1. ผู้ประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล
บทบาทสำคัญ : การรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานข้อเท็จจริงต่าง ๆ การให้ข้อมูล/ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงคุณภาพงานการพยาบาลของหน่วยงานที่ประเมิน คุณสมบัติ : ความรู้ ความสามารถในงานการพยาบาลที่ประเมิน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำ มีทักษะในการสื่อสารที่ดี มีความเป็นกลาง ไม่อคติ และสามารถเสริมพลังอำนาจให้แก่ผู้รับการประเมิน

47 1 ผู้ประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในโรงพยาบาล (ต่อ)
ประเภทของผู้ประเมิน หน้าที่ ผู้ประเมินคุณภาพการพยาบาลในหน่วยงาน หรือทีมQAภายในหน่วยงาน วิเคราะห์ ประเมินตนเองและนำผลการประเมินนั้นมากำหนดเป็นแผนการพัฒนาคุณภาพงานในหน่วยงาน ผู้ประเมินคุณภาพการพยาบาล องค์กรพยาบาล หมายถึง ทีมผู้นิเทศงาน QA ยืนยันผลการประเมินตนเองของแต่ละหน่วยงาน และหาโอกาสในการพัฒนา ในหน่วยงานที่รับการประเมิน ผู้ประสานงานประเมินคุณภาพ หมายถึง เลขานุการคณะกรรมการ QA และหรือคณะทำงานสารสนเทศทางการพยาบาล ประสานความร่วมมือ จัดระบบการประเมิน การรวบรวม วิเคราะห์ผล รายงานผล และนำผลมาวางแผนการพัฒนาต่อเนื่อง

48 2. เครื่องมือการประเมินคุณภาพการพยาบาล ในโรงพยาบาล
2. เครื่องมือการประเมินคุณภาพการพยาบาล ในโรงพยาบาล การบริหารการพยาบาล การบริการพยาบาล 10 งาน OPD ER IPD ICU LR ANC OR วิสัญญี Csg. IC ประเมินมิติกระบวนการ ประเมินมิติผลลัพธ์

49 3. การรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพ
แหล่งข้อมูล : ต้องเป็นข้อมูลที่มาจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ได้แก่ เอกสารต่าง ๆ ซึ่งหมายถึงนโยบาย กฎระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ คู่มือ แนวทางการปฏิบัติงาน แผนการพัฒนางาน ผลการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล รวมทั้งรายงานต่าง ๆ บุคคล ซึ่งหมายถึง บุคลากรทางการพยาบาล บุคลากร อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในโรงพยาบาล และผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ/ญาติผู้ป่วย

50 3. การรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินคุณภาพ (ต่อ)
วิธีการรวบรวมข้อมูลนั้น มาจาก 3 วิธีการ ดังนี้ การทบทวนและวิเคราะห์เอกสาร โดยดูความสมบูรณ์สอดคล้อง เชื่อมโยงกันของเอกสาร ระบบและกลไกการดำเนินงานต่าง ๆ การสัมภาษณ์/การสนทนา โดยใช้ทักษะในการสื่อสารที่ดี การสังเกต โดยเชื่อมโยงผลจากการสังเกตกับการทบทวนและวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์/การสนทนา

51 การประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในสู่การปฏิบัติ
ไม่ปฏิบัติ นำมาตรฐานในรพ. (2550) สู่การปฏิบัติ ทำความเข้าใจมาตรฐานและนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ ปฏิบัติ เตรียมการ เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน การประเมินคุณภาพการพยาบาลและนำผลการประเมินไปใช้ ปฏิบัติ

52 การเตรียมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน
ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ หลักการการประเมินคุณภาพการพยาบาลและแบบประเมินฯ ให้ครอบคลุมพยาบาลในทุกหน่วยงานย่อย แต่งตั้งผู้ประเมินคุณภาพการพยาบาลในหน่วยงาน องค์กรและผู้ประสานงานประเมินคุณภาพ (ทีมQA)

53 การเตรียมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน (ต่อ)
3. กำหนดระบบการประเมินคุณภาพภายใน และระบบการรายงานผลการประเมินโดยกำหนดให้มีผู้ประเมินครอบคลุมทุกหน่วยงานย่อย 4. กำหนดแผนการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายในและระยะเวลาของการประเมิน

54 การประเมินคุณภาพการพยาบาลและนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์
องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลประเมินคุณภาพภายใน พิจารณาผลการประเมินรายข้อ No Yes >3 วางแผนพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล อย่างต่อเนื่อง วางแผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพบริการพยาบาลให้ ก้าวสู่ความเป็นเลิศ รายงานผลการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน ภายในองค์กร : องค์กรพยาบาล ภายนอกองค์กร: 1) ระดับเขต : ประธานคณะกรรมการเครือข่ายระดับเขต 2) ส่วนกลาง : สำนักการพยาบาล

55 การวางแผนพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
รวบรวมข้อรายการประเมินทุกข้อที่พบว่าผลการประเมินได้คะแนน < 3 คะแนนโดยจัดกลุ่มตามมิติของการประเมิน ตามตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 การรวบรวมข้อรายการประเมินมิติกระบวนการที่ได้คะแนน < 3 องค์ประกอบการประเมิน ข้อรายการประเมิน คะแนน 0 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 A 5, 17 11,12,13,15,16, 20,25,26,27,28 4,9,10,14,18,22, 23,24 1,2,3,6,7,8,19,21 D 5,17 4,15,16,19,20,22,25.26,27,28 8,9,10,11,12,13,14,18,21,23,24 1,2,3,6,7 L 1,5,6,17 8,10,11,12,13,14,15,16,18,19,21,25,26,27,28 2,3,4,7,9,20,22, - I 1,2,3,5,6,17,19,21 4,7,8,14,15,16,18,20,23,24,25,26,27,28 9,10,11,12,13,22

56 การวางแผนพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง(ต่อ) ตัวอย่าง 2 การรวบรวมข้อรายการประเมินมิติผลลัพธ์ที่ได้คะแนน < 3 องค์ประกอบการประเมิน ข้อรายการประเมิน คะแนน 0 คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 Le - 29 30,31 32 T 30 31 29,32 C 29,30,31,32 Li 29,31,32

57 การวางแผนพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง(ต่อ)
2. นำรายการประเมินที่รวบรวมได้ทั้งหมดจากข้อ 1 มาจัดลำดับความสำคัญ โดยพิจารณาข้อรายการประเมินที่ A, ข้อที่ Le ได้คะแนนต่ำสุด 3. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. บรรจุแผนงาน/โครงการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ในแผนปฏิบัติการประจำปี (หรือมากกว่า 1 ปี) มีเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลให้ผ่านการประเมินคุณภาพบริการพยาบาลที่ระดับ 3 คะแนนขึ้นไป 5. มอบหมายผู้รับผิดชอบการพัฒนาตามแผนงาน/โครงการที่กำหนด และมีการติดตาม กำกับ และสนับสนุนการพัฒนาให้มีความต่อเนื่อง และมีประสิทธิผล

58 การวางแผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพบริการพยาบาลให้ก้าวสู่ความเป็นเลิศ
องค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาลทุกงานพิจารณารายละเอียดของทุก ๆ ประเด็นพิจารณา แล้ววางแผนกำหนดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลให้เหนือกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ในมิติกระบวนการ เน้นการพัฒนาในเชิงลึกในส่วนของ A ให้เกิดกระบวนการทำงานที่เป็นระบบที่มีและนำสู่การปฏิบัติทุกพื้นที่ คือ D ที่ครอบคลุมทั้งแนวกว้างและแนวลึก ในมิติกระบวนการ ให้เพิ่มกิจกรรมของ L เน้นให้เกิดนวัตกรรมในกระบวนการให้บริการพยาบาล และเชื่อมโยงให้เห็น I ที่สอดคล้องและตอบสนองการดำเนินงานในทุกหมวด เกิดการบูรณาการมาตรฐานการพยาบาลทั่วทั้งองค์กร

59 การวางแผนพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพบริการพยาบาล ให้ก้าวสู่ความเป็นเลิศ (ต่อ)
4. ในมิติผลลัพธ์ เน้นการติดตามกำกับผลลัพธ์การบริการพยาบาลที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการขององค์กร/หน่วยงานบริการพยาบาล สถานบริการสุขภาพนั้น ๆ (Li) บรรลุเป้าหมายที่ท้าทายตามวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ (Le) มีแนวโน้มที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่มีแนวโน้มที่เป็นเชิงนิเสธ หรือไม่ชัดเจน (T) และมีผลลัพธ์ที่ดีกว่าค่าเปรียบเทียบที่เหมาะสม (C)

60 การรายงานผลการประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน
ระดับการรายงาน ข้อมูลที่รายงาน ระยะเวลา/ความถี่ ภายในองค์กร ทุกหน่วยงานบริการพยาบาลรายงานผลการประเมินไปยังองค์กรพยาบาล 1.คะแนนผลการประเมินรายข้อ 2.ร้อยละของภาพรวมหน่วยงาน 3.แผนพัฒนาคุณภาพหน่วยงาน ปีละ 1-2 ครั้ง - ครั้งที่ 1 เดือนเมษายน - ครั้งที่ 2 เดือนตุลาคม ภายนอกองค์กร ส่วนกลาง : สำนักการพยาบาล 1.ผลการประเมินคุณภาพภายในของงานบริหารการพยาบาลระดับองค์กร 2.ความต้องการการสนับสนุนจากส่วนกลาง ปีละ 1 ครั้ง - ช่วงเดือนพฤศจิกายน (รายงานผลของการดำเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมา) ระดับเขต : ประธานคณะกรรมการเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลระดับเขต 2.ความต้องการการสนับสนุนจากเครือข่ายระดับเขต (รายงานผลการดำเนินงานในปีงบประมาณที่ผ่านมา)

61 เกณฑ์การประเมินของสภาการพยาบาล
ระบบการวัดผลลัพธ์การดำเนินงาน กำหนดจากไหน เลือกตัวชี้วัดอย่างไร ตัวชี้วัดแสดงถึงผลลัพธ์ที่ต้องการคำตอบหรือไม่ ตัวชี้วัดสะท้อนผลลัพธ์ ด้านการพยาบาล ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล ด้านบริหารองค์กร ด้านบริการและความสัมพันธ์กับชุมชน

62 เกณฑ์การประเมินของสภาการพยาบาล
ครอบคลุม :- ผู้รับบริการ บุคลากร องค์กร ชุมชน

63 เกณฑ์การประเมินของสภาการพยาบาล
การวัดผลตรงประเด็น การเชื่อมโยงหน่วยงานเป็นทิศทางเดียวกัน มีแนวโน้มดีขึ้น อยู่ระดับแนวหน้า

64 การวิเคราะห์ข้อมูล และการทบทวนผลการดำเนินงาน
วิธีวิเคราะห์ด้วยวิธีง่ายๆ ได้สารสนเทศที่มีความหมาย ใช้แนวโน้มข้อมูล นำมาวิเคราะห์ปัญหาเพื่อปรับปรุง มีการวิเคราะห์ปัจจัยความสัมพันธ์และนำมาปรับปรุงเป็นนโยบายสำคัญ วิเคราะห์ปรับปรุงจนได้นวัตกรรม

65 ผลลัพธ์ด้านผู้ป่วย 1. การติดเชื้อในโรงพยาบาล 2. การพลัดตก/หกล้ม และการบาดเจ็บที่เกิดจากการพลัดตก/หกล้ม 3. ความคลาดเคลื่อนทางยา 4. การเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาล 5. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการโดยรวม 6. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการบริการพยาบาล 7. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการให้ความรู้ของพยาบาล 8. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการบรรเทาปวด 9. การรับรู้ของผู้ใช้บริการเรื่องความปลอดภัย 10. ผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วยเฉพาะกลุ่ม

66 ผลลัพธ์ด้านพยาบาล 1. ระดับความผูกพันของพยาบาลต่อองค์กร 2. ระดับความพึงพอใจของพยาบาล 3. การลาออก โอน ย้าย ของบุคลากร 4. พยาบาลระดับปฏิบัติการที่ให้การดูแลโดยตรงที่มีประกาศนียบัตร 5. พยาบาลระดับบริหารที่มีประกาศนียบัตร 6. การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นกับบุคลากร 7. การรับรู้ของบุคลากรต่อวัฒนธรรมความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน 8. การรับรู้ของบุคลากรต่อโครงการปฐมนิเทศ และ/หรือประสิทธิผลของการศึกษาต่อเนื่อง 9. การเตรียมความรู้ของบุคลากร

67 ผลลัพธ์ด้านองค์กร ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
นวัตกรรม/ งานวิจัยด้านบริการพยาบาล บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ และนานาชาติ คลังความรู้ที่นำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนางาน และการบริการพยาบาล ผลกระทบของโครงการที่มีต่อชุมชน

68 ผลลัพธ์ด้านชุมชน อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตา/ไตในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาล งบประมาณ/โครงการที่ได้รับการสนับสนุน

69 การบริการพยาบาลตามมาตรฐานบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม โครงสร้าง ยุทธศาสตร์ นโยบายการบริหาร/พัฒนาบุคคลกร ระบบงาน สิทธิผู้ป่วย กระบวนการพยาบาล มาตรฐานการพยาบาล จริยธรรมวิชาชีพ ศาสตร์ทางการพยาบาล การจัด/บริหารองค์กร ทีมปฏิบัติ สมรรถนะ อัตรากำลัง ระบบการพยาบาล กระบวนการพยาบาล/การบันทึก พิทักษ์สิทธิ์/จริยธรรม ใช้ศาสตร์/ภูมิปัญญาท้องถิ่น Best practice การบริหารความเสี่ยง การประกันคุณภาพ การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล วางแผนจำหน่าย/ส่งเสริมสุขภาพ/ดูแลต่อเนื่อง การปฏิบัติการพยาบาล ผู้รับบริการ ความปลอดภัยจากความเสี่ยง การบรรเทาทุกข์ทรมานทั้งกาย จิต ความรู้ความสามารถในการดูแลสุขภาพ ความพึงพอใจ/ สิทธิที่พึงได้รับ ตัวชี้วัดเฉพาะโรค องค์กร/ระบบงาน CQI / นวตกรรม วิจัย บุคลากร ความรู้ ทักษะ เชี่ยวชาญ/ก้าวหน้า ความพึงพอใจ ความสุข ชุมชน พึงพอใจ/ความเชื่อมั่น/ไว้วางใจ ผลลัพธ์การพยาบาล สมรรถนะ นิเทศ / ติดตาม / กำกับ / ประเมินผล ผู้นำทีมการพยาบาล ทีมนำ IC, RM, HPH,QA, IM, HR สหวิชาชีพ

70 กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
Nursing Quality Organization หัวหน้าพยาบาล/หัวหน้างาน หัวหน้าหอ/หัวหน้าหน่วยงาน service Nursing Outcome ผู้รับบริการ ความปลอดภัยจากความเสี่ยง การบรรเทาทุกข์ทรมานทั้งกายจิต ความรู้ความสามารถในการดูแล สุขภาพ ความพึงพอใจ/ สิทธิที่พึงได้รับ ตัวชี้วัดการพยาบาลเฉพาะโรค บุคลากร ความรู้ ทักษะ เชี่ยวชาญ/ก้าวหน้า ความพึงพอใจ/ ความสุข องค์กร/ระบบงาน CQI / นวัตกรรม วิจัย องค์กรแห่งการเรียนรู้ ผลลัพธ์การพยาบาล หัวหน้าหอ/หน่วยงาน

71 Nursing Service Accreditation (NSA)
การพัฒนาบริการเพื่อการรับรองคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์ Nursing Service Accreditation (NSA) การประเมินจากสภาการพยาบาล (ตรวจเยี่ยม) คุณภาพบริการการพยาบาล กระบวนการ เรียนรู้/เข้าใจ มาตรฐาน การพัฒนาตนเอง การรับรองคุณภาพ การประเมินตนเอง หลักการ กำกับ ติดตามการปฏิบัติงานด้วยคุณธรรม จริยธรรมวิชาชีพ ใช้มาตรฐานเป็นแนวทางการปฏิบัติ กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภค วิเคราะห์และพัฒนาต่อเนื่อง

72 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การประเมินคุณภาพการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google