ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยHorace Peters ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ (รอบ 5 เดือนแรก: 1 ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2560) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย กพร.กรมอนามัย ระหว่างวันที่ มิถุนายน ณ โรงแรมไมด้าเดอ ซี หัวหิน (Mida De Sea Hua Hin) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
2
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 3 คะแนน 2. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับ การคัดกรองพัฒนาการ และพบ พัฒนาการสงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) 16 คะแนน
3
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 3. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือนได้รับการคัดกรอง พัฒนาการ และพบพัฒนาการ สงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) ได้รับการติดตามกระตุ้น พัฒนาการ 16 ภาพรวม คะแนน ศอ.12 ยะลา คะแนน 4. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 19 คะแนน 3 หน่วยงาน คะแนน
4
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 5. ร้อยละของตำบลที่มีระบบ การส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ 19 คะแนน 6. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน 3 หน่วยงาน 7. อัตราการคลอดมีชีพในหญิง อายุ ปี 16
5
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 8. ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน อายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ 13 2 หน่วยงาน คะแนน 9. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนา อนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital 17 ภาพรวมคะแนน 8 หน่วยงาน คะแนน 10. ร้อยละของตำบลต้นแบบบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และ อนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์ 24 3 หน่วยงาน
6
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 11. ร้อยละของกลุ่มเครือข่ายบริการ ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster : PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้าน สุขภาพช่องปากและโภชนาการ 3 คะแนน 12. ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอด ตัวชี้วัดระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล 36 32 หน่วยงาน
7
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 13. ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสของ บุคลากรในหน่วยงานสังกัด กรมอนามัย 36 33 หน่วยงาน คะแนน 14. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานใน สังกัดกรมอนามัย (เฉพาะหลักฐาน เชิงประจักษ์) (EBIT) 13 หน่วยงาน
8
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 15. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ 36 25 หน่วยงาน คะแนน 16. ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ที่ถูก นำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง 27 16 หน่วยงาน 17. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน เฝ้าระวังด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม 11 7 หน่วยงาน
9
สรุปข้อมูลผลงานจากการประเมินผลคะแนนคำรับรองฯ
ชื่อตัวชี้วัด จำนวนหน่วยงาน ที่จัดทำตัวชี้วัด ผลงาน ทุกหน่วยงาน ไม่ทุกหน่วย 18. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน เพื่อสนับสนุนกรมอนามัยสู่องค์กร HPO ตามแนวทาง PMQA 36 6 หน่วยงาน คะแนน 19. ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับ นานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ F. ตัวชี้วัด Functional Based (เพิ่มเติม) 17 7 หน่วยงาน ทุกตัวชี้วัดเพิ่มเติม
12
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
(รอบ 5 เดือนหลัง) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย กพร.กรมอนามัย ระหว่างวันที่ มิถุนายน ณ โรงแรมไมด้าเดอ ซี หัวหิน (Mida De Sea Hua Hin) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
13
หลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดรอบที่ 2
ประเด็นนำเสนอ หลักเกณฑ์และวิธีการรายงาน เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดรอบที่ 2 ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (รอบ 5 เดือนหลัง) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของเครือข่าย กพร.กรมอนามัย ระหว่างวันที่ มิถุนายน ณ โรงแรมไมด้าเดอ ซี หัวหิน (Mida De Sea Hua Hin) อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
14
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของกรมอนามัย ระดับหน่วยงาน รอบระยะเวลาในการประเมินผล รอบที่ 1 เดือนตุลาคม - เดือนกุมภาพันธ์ ของปีถัดไป รอบที่ 2 เดือนมีนาคม - เดือนกรกฎาคม ของปีเดียวกัน อังคาร 28 ก.พ.60 เข้าระบบวันสุดท้าย จันทร์ 31 ก.ค.60 เข้าระบบวันสุดท้าย
15
วิธีการประเมินผลปฏิบัติงาน ๒ ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 : คณะอนุกรรมการบริหารผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย ทำหน้าที่กลั่นกรองและเสนอความเห็นเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานระดับหน่วยงานต่อคณะกรรมการบริหารระดับสูงของกรมอนามัย กรณีผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดีเด่น ให้มีการสุ่มประเมินหน่วยงานและผู้มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่น เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาด้วย ขั้นตอนที่ ๒ : คณะกรรมการบริหารระดับสูงของกรมอนามัย ซึ่งได้แก่ อธิบดี และรองอธิบดีกรมอนามัย เป็นผู้ให้ดุลพินิจ โดยใช้ข้อมูลในขั้นตอนที่ ๑ ประกอบการพิจารณา และหรือสามารถใช้วิธีการอื่น เช่น การสัมภาษณ์เชิงลึก ฯลฯ โดยต้องเป็นวิธีเดียวกัน เพื่อประกอบการพิจารณา และสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมินด้วย
16
การรายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่อกรมอนามัย
หลังจากหน่วยงานได้บันทึกผลการปฏิบัติงาน ลงในระบบ DOC กรมอนามัย (ระบบติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย หรือไปที่เว็บไซต์ โปรแกรม จะประมวลผลข้อมูล และจัดเก็บเป็นฐานข้อมูลสำหรับ ใช้ดำเนินการบริหารค่าตอบแทนต่อไป สำหรับหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานในระดับดีเด่น ข้าราชการซึ่งอยู่ในหน่วยงานดังกล่าว กรมฯ จะดำเนินการสุ่มสำรวจ เพื่อการทวนสอบระดับความสำเร็จข้าราชการในกลุ่ม ดังต่อไปนี้ - กลุ่มหัวหน้าฝ่าย/กลุ่มงาน และหรืองาน - กลุ่มองค์กรแพทย์ - กลุ่มทันตสาธารณสุข กลุ่มการพยาบาล ฯลฯ - กลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่ผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานมีความสำคัญต่อการบรรลุเป้าประสงค์ ทั้งนี้โดยใช้วิธี ขอให้จัดส่งสำเนาแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้กองการเจ้าหน้าที่ เพื่อติดตามผลดำเนินการด้วย ใช้วิธีการอื่นๆ ประกอบการประเมินผลปฏิบัติงาน เช่น สัมภาษณ์เชิงลึก / สนทนากลุ่ม ฯลฯ
17
การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับหน่วยงาน
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร-->รายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเฉพาะคะแนนประเมินผลการปฏิบัติราชการ ซึ่งคะแนนดังกล่าวได้ผ่านการความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการบริหารระดับสูงตามลำดับ โดยมีอธิบดีกรมอนามัยและหรือรองอธิบดีที่ได้รับมอบหมาย ลงลายมือชื่อกำกับ แจ้งให้หน่วยงานผู้รับการประเมินทราบ โดยให้ลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมินในแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมอนามัย การประกาศผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ให้ประกาศรายชื่อหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติราชการเฉพาะกลุ่มระดับดีเด่น ลงนามโดยอธิบดีกรมอนามัย หลังกรมอนามัยได้มีประกาศอัตราร้อยละของการเลื่อนเงินเดือนและค่าตอบแทนแล้วในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน เพื่อเป็นการยกย่อง ชมเชยและสร้างแรงจูงใจ ให้พัฒนาผลการปฏิบัติงานในรอบการประเมินในรอบต่อไปให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงนำไปใช้ประกอบการพิจารณาในการบริหารองค์การ / พัฒนาทรัพยากรบุคคลในเรื่องต่างๆต่อไป
18
ระบบการจัดเก็บผลการประเมินและ หลักฐานแสดงความสำเร็จของงาน
ให้หน่วยงานบันทึกผลการประเมินการรายงานผลปฏิบัติงานระดับหน่วยงาน ลงในระบบ DOC กรมอนามัย ให้หน่วยงานมีระบบการจัดเก็บผลการประเมินและหลักฐานแสดงความสำเร็จของงาน เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาในรูปแบบที่สามารถสืบค้นข้อมูลย้อนหลัง และสามารถจัดทำสรุปวิเคราะห์ผลในภาพรวมของระดับหน่วยงานได้
19
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รอบที่ 2 ให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก โดยผู้รับผิดชอบการรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด PA เข้า ระบบ DOC กรมอนามัย เพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานและให้คะแนน ลักษณะข้อมูลในรายงาน 1) ตัวเลข ร้อยละ อัตรา ระดับความสำเร็จ 2) อรรถาธิบาย ข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น KPI16 : ผลงานวิชาการ-วิจัย KM KPI18 : HPO –> PMQA “Lean” KPI19 : ผลงานโดดเด่น ฯลฯ การสรุปผลการประเมิน 1) โดยการให้คะแนน 2) จัดทำบทสรุป – ไม่เกิน 1 หน้า ในลักษณะ การวิเคราะห์ผล ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ 2.1 โดยรวม 2.2 ตามกรอบการจัดกลุ่ม หน่วยงาน 4 กลุ่ม
20
เกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ ของหน่วยงาน รอบที่ 2
(5 เดือนหลัง : 1 มีนาคม- 31 กรกฎาคม 2560) ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สำนักส่งเสริมสุขภาพ) 83 84 85 86 87 2. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ทุกคน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบพัฒนาการ สงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) สำนักส่งเสริมสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-13) 20 24 28 32 36 3. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน สงสัยล่าช้า (ตรวจครั้งแรก) ได้รับการติดตาม กระตุ้นพัฒนาการ 60 70 80 90 95
21
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน สำนักโภชนาการ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 47 48 49 50 51 รอบ 5 เดือนหลัง ศูนย์อนามัยที่ 1-13 1 - ร้อยละ 100 ของจังหวัดมีนโยบาย ฯ - ร้อยละ 50 ของจังหวัดมีตำบลส่งเสริมเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย อย่างน้อยอำเภอละ 1 ตำบล - มีรายงานสรุปผลการประเมินตำบลส่งเสริมฯ อย่างน้อยร้อยละ 30 ของตำบลที่ผ่านเกณฑ์ประเมินของจังหวัด - มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานส่งเสริมฯ และจัดทำข้อเสนอแนะฯ 1.6 2 - ร้อยละ 50 ของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัย - มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานจัดบริการฯ และข้อเสนอแนะ 0.7 3-5 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้นจากค่า baseline 2.7 คะแนน 0.9 1.8 2.7 ร้อยละ 1 2 3
22
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สำนักโภชนาการ กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม และ ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 35 37 40 45 50
23
นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน สำนักโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 65 65.5 66 66.5 67 ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ...... นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่
24
นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่
ตัวชี้วัดที่ 7 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ สำนักส่งเสริมสุขภาพ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 46 45 44 43 42 ศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ...... นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่
25
นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของประชาชนวัยทำงานอายุ ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโภชนาการ กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 52 53 54 55 56 ศูนย์อนามัยที่ 1-13: ศูนย์อนามัยที่ ศูนย์อนามัยที่ 8-13 (เนื่องจาก ศูนย์อนามัยที่ รับการประเมินตัวชี้วัดที่ 16 งานวิจัย/วิชาการ) รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ...... นำค่าเป้าหมายในเล่ม รายละเอียดตัวชี้วัดมาใส่
26
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง 50 60 65 70 75
27
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของตำบลต้นแบบบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อมผ่านเกณฑ์ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กองกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ และศูนย์อนามัยที่ 1-13 รอบ 5 เดือนหลัง ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ร้อยละของตำบลเป้าหมายผ่านเกณฑ์ตำบลต้นแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อมตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป 20 40 60 80 100
28
ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ ช่องปากและโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข และ สำนักโภชนาการ รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง มี PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 20 ของ PCC ทั้งหมด จัดบริการฯ ร้อยละ 30ของ PCC ทั้งหมด จัดบริการฯ ร้อยละ 40ของ PCC ทั้งหมด จัดบริการฯ ร้อยละ 50ของ PCC ทั้งหมด รายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและเชิงนโยบาย
29
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 12-14 รอบ 5 เดือนหลัง ทุกหน่วยงาน ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 12. ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด ระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1-2 ขั้นตอนที่ 1-3 ขั้นตอนที่ 1-4 ขั้นตอนที่ 1-5 13. ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของบุคลากรในหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย 60 65 70 75 80 14. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (EBIT) 85 90
30
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
รอบ 5 เดือนหลัง ทุกหน่วยงาน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 15 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวม (น้ำหนัก 0.6) 77 78 79 80 81 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน (น้ำหนัก 0.4) 67 68 69 70 71 หน่วยงานที่ไม่มีงบลงทุน ให้นำน้ำหนักไปรวมกับงบรายจ่ายภาพรวม
31
2. กรณีผลงานวิชาการ/ ผลิตภัณฑ์/ นวัตกรรม
ตัวชี้วัดที่ 16 ระดับความสำเร็จของหน่วยงานมีงานวิจัย หรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 เรื่อง รอบ 5 เดือนหลัง ส่วนกลางทุกหน่วยงาน และศอ. 1, 3, 6, 7 ศทป และศอช. ขั้นตอน 1. กรณีงานวิจัย คะแนน 2. กรณีผลงานวิชาการ/ ผลิตภัณฑ์/ นวัตกรรม 4 วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงานการวิจัย และสรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการวิจัย 3 ประเมินผลดำเนินงาน/ การใช้งานผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรม ที่ผลิต/ พัฒนา และแสดงข้อมูลเชิงประจักษ์ในการใช้ประโยชน์ได้จริง ประเมินความสอดคล้องกับนโยบาย ประเมินประสิทธิภาพและคุณภาพเพื่อการพัฒนาต่อยอด 5 โครงการผ่านการประเมินในระดับดีมาก (ร้อยละ 80) ก่อนการเผยแพร่ตามแบบฟอร์มที่กำหนด และนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ เช่น 5.1 ตีพิมพ์วารสาร (ระบุชื่อวารสาร) 5.2 นำเสนอในเวทีประชุมวิชาการ (โปรดระบุ) 5.3 นำผลงานวิชาการไปใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงทางวิชาการ การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ และการใช้ประโยชน์เชิงนโยบาย 2 สรุปถอดบทเรียนการดำเนินงาน และมีการรายงานผลในระบบศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย (DOC) คะแนนรวม
32
ตัวชี้วัดการเฝ้าระวัง ที่มีรอบจัดเก็บข้อมูล
ตัวชี้วัดที่ 17 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม สำหรับสำนัก/ กองวิชาการ สำนัก/กองวิชาการ ได้แก่ สำนักส่งเสริมสุขภาพ สำนักโภชนาการ สำนักทันตสาธารณสุข สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กองกิจกรรมทางการเพื่อสุขภาพ สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ สำนักอนามัยผู้สูงอายุ สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ รอบ 5 เดือนหลัง ระดับขั้นความสำเร็จ ตัวชี้วัดการเฝ้าระวัง ที่มีรอบจัดเก็บข้อมูล ราย 1 และ 3 เดือน คะแนน ราย 6 เดือน และ 1 ปี ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 / 0.5 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 1.5 ขั้นตอนที่ 5 1 ขั้นตอนที่ 6 คะแนนรวม 5 คะแนน
33
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 18 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัย สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง (HPO) ตามแนวทาง PMQA ทุกหน่วยงาน รอบประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือนหลัง ระดับ 1 ระดับ 1-2 ระดับ 1-3 ระดับ 1-4 ระดับ 1-5 ระดับ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 ดำเนินการหมวด 1 และหมวด 2 2 ดำเนินการระดับที่ 1 และหมวด 3 3 ดำเนินการระดับที่ 1-2 และหมวด 4 หมวด 5 4 ดำเนินการระดับที่ 1-3 และ หมวด 6 5 ดำเนินการระดับที่ 1-7 และผลการดำเนินงานสามารถแสดงผลลัพธ์เชิงประจักษ์ และมีส่วนร่วมต่อความสำเร็จระดับกรมในการส่งผลงานสมัครขอรับรางวัล เช่น รางวัล PMQA รายหมวด, รางวัล TPSA ฯลฯ หมายเหตุ การผ่านเกณฑ์ในแต่ละข้อ หน่วยงานจะต้องมีการดำเนินงานที่ครบถ้วนตาม ADLI และ R ซึ่งมีเกณฑ์น้ำหนัก ดังนี้ A=0.4 D=0.3 LI/R=0.3
34
ตัวชี้วัดที่ 19 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาผลงานที่มีความโดดเด่น
ระดับนานาชาติ/ ระดับชาติ และระดับพื้นที่ - หน่วยงานวิชาการ เสนอผลงานระดับระดับนานาชาติ/ระดับชาติ - ศูนย์อนามัยที่ เสนอผลงาน ระดับพื้นที่ - หน่วยงานสนับสนุน เสนอผลงานโดดเด่นของหน่วยงาน รอบ 5 เดือนหลัง ระดับ ประเด็นการประเมิน คะแนน 1 มีการอธิบายภารกิจ /บทบาท/ หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน 2 มีสภาพปัญหา/ความจำเป็นที่ดำเนินการเรื่องนี้ มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน/ยุทธศาสตร์ 3 มีกระบวนการดำเนินงานเพื่อบรรลุผล /มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน/ 4 มีผลงานที่เกิดจริง มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด /มีความก้าวหน้าตามแผนงาน/มีการแสดงตัวเลขมีความชัดเจน/มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม 5 - มีการนำผลไปใช้ หรือการขยายผล - มีการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน / มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/ รางวัลที่เคยได้รับ
35
ตัวชี้วัดที่ 19 ผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่
ชื่อผลงาน 1. ภารกิจ/บทบาท /หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของส่วนราชการ (มีการอธิบายภารกิจ บทบาท หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ หรือนโยบายสำคัญของรัฐบาลที่กำหนดไว้) 2. ผลงานที่แสดงถึงการเป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ โดยผลงานนั้นอาจเทียบกับมาตรฐานสากล รางวัลที่เคยได้รับ รวมทั้งผลการประเมินจากองค์กรภายในหรือภายนอกประเทศ หรืออื่นๆ (การประเมินจะพิจารณาจากความพยายามในการดำเนินการเพื่อบรรลุผล โดยผลงานมีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน อธิบายผลงานที่เกิดจริงโดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด มีความก้าวหน้าตามแผนงาน มีการแสดงตัวเลขผลงานที่ชัดเจน มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม หรือการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/รางวัลที่เคยได้รับ)
36
ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กิจกรรม ระยะเวลา 1 หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยส่งรายงานผลการปฏิบัติราชการทางศูนย์ติดตามผลการปฏิบัติงานกรมอนามัย (DOC) พร้อมแนบเอกสารหลักฐานให้ครบถ้วนในระบบ DOC ภายใน 31 ก.ค.60 (ปิดระบบไม่รับหลักฐานเพิ่มเติม) 2 กพร. รวบรวมคะแนนตัวชี้วัด ส่งให้เจ้าภาพตัวชี้วัดประเมินผล ให้คะแนนฯ (ด่วนที่สุด ที่ สธ /ว 98 ลว. 1 มี.ค.60) 1-3 ส.ค.60 (3 วันทำการ) 3 เจ้าภาพตัวชี้วัดประเมินผลให้คะแนนฯ ส่งให้ กพร. ทั้งนี้ กพร.รายงานความก้าวหน้าการประเมินผลผ่าน Line Group เสนอต่ออธิบดีและรองอธิบดี (นพ.ธงชัย) รับทราบ ภายใน 10 ส.ค.60 (5 วันทำการ) 4 กพร. ประมวลผลคะแนน และจัดเกรดหน่วยงานตามกลุ่มร่วมกับกองการเจ้าหน้าที่ 11-15 ส.ค.60 5 กพร. ส่งสรุปคะแนนให้กองการเจ้าหน้าที่ (ด่วนที่สุด ที่ สธ /120 ลว. 15 มี.ค.60) กพร. เสนออธิบดีทราบลงนามแจ้งทุกหน่วยงานทราบ (ด่วนที่สุด ที่ สธ /2138,40,45-51, ,75-80 ลว. 17 มี.ค.60) 16 ส.ค.60 (1 วันทำการ)
37
ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กิจกรรม ระยะเวลา 6 - กองการเจ้าหน้าที่นำข้อมูลเข้าประชุมคณะกรรมการ PMS และสรุปมติ ส่งอธิบดี/ รองอธิบดีรับทราบ 17-18 ส.ค.60 (2 วันทำการ) 7 กรณีหน่วยงานอุทธรณ์คะแนนตัวชี้วัด ให้แจ้ง กพร. (แจ้งหน่วยงานทราบ ด่วนที่สุด ที่ สธ /2138,40,45-51, ,75-80 ลว. 17 มี.ค.60) ไม่เกิน 18 ส.ค.60 (2 วันทำการหลัง กพร.แจ้ง) 8 กพร.รวบรวมสรุปข้อมูลอุทธรณ์ส่งเจ้าภาพตัวชี้วัดพิจารณาอุทธรณ์/ ปรับคะแนน (ขอให้เจ้าภาพแจ้งผลอุทธรณ์คะแนนภายใน 22 มี.ค.60 ที่ สธ /ว 129 ลว.21 มี.ค.60) 21-22 ส.ค.60 9 เจ้าภาพตัวชี้วัดแจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์/ ปรับคะแนนให้ กพร.ทราบ (เชิญเจ้าภาพพิจารณาและส่งคะแนน ณ ห้องประชุม กพร. 20 มี.ค.60 เวลา น.) 23-24 ส.ค.60
38
ปฏิทินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (รอบ 5 เดือนหลัง) กิจกรรม ระยะเวลา 10 กพร.ตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาผลการอุทธรณ์/ ปรับคะแนนส่งให้กองการเจ้าหน้าที่ และประชุมคณะกรรมการ PMS - กพร.ปรับคะแนนทั้งหมดตามเจ้าภาพ 20 มี.ค.60 เวลา น. - ส่งสรุปคะแนนให้ กอง จ.เข้าประชุมคณะ PMS ประชุม 20 มี.ค.60 บ่าย (ส่งหนังสือตามภายหลัง ด่วนที่สุด ที่ สธ /132 ลว. 22 มี.ค.60) - กพร.เสนออธิบดีลงนามแจ้งผลอุทธรณ์ฯ ให้หน่วยงาน (ด่วนที่สุด ที่ สธ / ว 2343 ลว 24 มี.ค.60) 25-28 ส.ค.60 (2 วันทำการ) 11 คณะกรรมการ PMS สุ่มสำรวจหน่วยงานที่มีผลงานในระดับดีเด่น เพื่อทวนสอบและถอดบทเรียนความสำเร็จ 12 การประชุมสรุปบทเรียนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองฯ ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (รอบแรก คือการประชุมวันนี้ 28 เม.ย.60) 15 ก.ย.60 13 สรุปบทเรียน (ข้อ 11-12) เสนอต่อคณะกรรมการบริหารสูงสุดของกรมอนามัย (อธิบดี และรองอธิบดี)
39
กพร. กรมอนามัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.