ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานโครงการสำคัญ
ภายใต้การกำกับดูแลให้สัมฤทธิ์ผล สุวัฒน์ เจียระคงมั่น รองอธิบดีกรมการข้าว 8 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี
2
การแบ่งส่วนราชการ อธิบดี รองอธิบดี รองอธิบดี
กองวิจัยและพัฒนาข้าว (27 ศวข.) กองเมล็ดพันธุ์ข้าว (23 ศมข.) กองพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว สำนักบริหารกลาง สำนักส่งเสริมการผลิตข้าว กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว กองตรวจสอบและรับรองมาตรฐานข้าว ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าวแห่งชาติ กองประสานงานโครงการพระราชดำริ สำนักผู้เชี่ยวชาญ
3
การขับเคลื่อนของกรมการข้าว
มาตรฐาน-แปรรูป-ส่งเสริม และถ่ายทอด สสข./กพภ./ กรข. ปลายน้ำ กลางน้ำ พัฒนาเทคโนโลยี กวข./กมข. ต้นน้ำ ข้อมูลและนวัตกรรม สวช./ศสส.
4
งานตามนโยบาย (Agenda)
5
Agenda กข/กษ ปี 2560 Agenda กข/กษ ปี 2560 ศพก. แปลงใหญ่
Zoning by Agri-map คุณภาพมาตรฐานสินค้าข้าว เกษตรอินทรีย์ ตลาดเกษตรกร Smart Farmer เกษตรทฤษฎีใหม่ ธนาคารสินค้าเกษตร ยึดคืน/จัดสรร พื้นที่ ส.ป.ก บริหารจัดการน้ำ Smart Officer ยกระดับสหกรณ์ กข/กษ สสข./กสก. ศสส./พด. สสข.&กรข./มกอช. สสข.&กพภ./กวก กพภ./กสก.&กสส. กคร./สป.กษ. กมข./กสส. - /ส.ป.ก - /ชป. สนย./สป.กษ. - /กสส. ปี 2560 8,820 ศูนย์ (พัฒนา 1:10) 1,175 แปลง ข้าว ? ไร่ (S1 S2 S3) ข้าว ? ราย (แปลงใหญ่) 300,000 ไร่ ข้าว ? แห่ง ข้าว ? ราย 211,050 ไร่ 100,000 ไร่ 31.95 ล้านไร่ 2,000 ราย
6
งานกรมการข้าว (Flag Ship)
7
Flag Ship หน่วยงาน ปี 2560 Agenda กข/กษ ปี 2560
ศูนย์ข้อมูลข้าวและชาวนา ศูนย์ข้าวชุมชน งานระบบวิจัย งานผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ งานต่างประเทศ งานปรับโครงสร้างกรมการข้าว กข/กษ ศสส./สวช. สสข. กวข. กมข./กวข. สนย. กพร. ปี 2560 1 เล่ม/1 war-room 3,000 ศูนย์ ข้าว ?
8
ข้อจำกัดของกรมการข้าว
โครงสร้างยังไม่เอื้อเท่าที่ควรเพราะยังไม่มีราชการส่วนภูมิภาคที่ ช่วยในงานส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ภารกิจตามโครงสร้างปัจจุบันยังไม่ครบวงจรโดยเฉพาะเรื่องตลาด ที่ส่วนใหญ่ยังอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงพาณิชย์ ขาดงานวิจัยบางสาขา เช่น เครื่องจักรกลการเกษตร และการแปร รูปข้าวโดยเฉพาะการต่อยอดเชิงพาณิชย์ ภายใต้ข้อจำกัดดังกล่าว ทางออกขณะนี้ก็คือปรับกระบวนการ ทำงาน เพื่อให้การพัฒนาข้าวไทยเป็นไปตามความคาดหวังของทุก ฝ่ายให้มากที่สุด
9
ประเด็นท้าทายของกรมการข้าว
ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของไทยต่ำเกือบที่สุดในโลกทั้งๆที่เป็นผู้ส่งออก ข้าวอันดับต้นๆ ของโลก ชาวนาไทยยังยากจนอยู่มาก เมื่อเทียบกับอาชีพการเกษตรอื่น ๆ และคนรุ่นหลังไม่อยากจะทำนา แม้การผลิตข้าวโดยรวมจะมีเหลือเฟือก็ตามแต่คนไทยบางกลุ่มใน บางพื้นที่ยังขาดแคลนข้าวที่จะบริโภค ผู้บริโภคต้องการอาหารรวมทั้งข้าวที่มีความปลอดภัยและมี คุณภาพดี เพราะห่วงใยในสุขภาพของตนเอง การแข่งขันทางการค้าข้าวทวีความรุนแรงมากขึ้น การผลิตข้าวที่มี คุณภาพดีและต้นทุนต่ำเท่านั้นจึงจะสู้ได้ ฝนแล้งน้ำท่วมมีบ่อยขึ้น โลกจะร้อนขึ้นอย่างรวดเร็ว
10
โลกของเราวันนี้ โลกไร้พรมแดน เทคโนโลยีเติบโตแบบก้าวกระโดด
ผู้หญิงมีบทบาทมากขึ้น ใส่ใจสิ่งแวดล้อม Lifestyle ของคนรุ่นใหม่เปลี่ยนไป การเปลี่ยนโครงสร้างพลังงาน สังคมผู้สูงอายุ Climate Change เสรีภาพของคนมีมากขึ้น
11
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี (2560-2579)
การสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างคน การสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ความมั่นคง วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” “มั่นคง” เป้าหมาย - พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ระดับสูง - เป็นประเทศพัฒนาแล้ว - สร้างความสุขของคนไทย - สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม - ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ “มั่งคั่ง” “ยั่งยืน” “ความมั่นคง” “ความมั่งคั่ง” “ความยั่งยืน” การมีความมั่นคงปลอดภัยในทุกมิติ เศรษฐกิจมีความสามารถในการ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตร (สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม การเมือง แข่งขันสูง มีการขยายตัวอย่าง กับสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้ทรัพยากร ความมั่นคงทางอาหาร พลังงานและน้ำ) ต่อเนื่อง ธรรมชาติเกินพอดี
12
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ 20 ปี (2560-2579)
วิสัยทัศน์ “เกษตรกรมั่นคง ภาคการเกษตรมั่นคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน” หลักการ/แนวคิด 1. ใช้สหกรณ์ในการขับเคลื่อน ปรับใช้ศาสตร์พระราชา 2. ยกระดับสินค้าสินค้าเกษตรมีคุณภาพ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร 3. นำนวัตกรรมมาพัฒนาการเกษตร ยุทธศาสตร์การพัฒนา 1. สร้างความเข้มแข็งเกษตรกร 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต /ยกระดับมาตรฐาน 3. เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม 4. จัดการทรัพยากรเกษตรอย่างสมดุล 5. พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ เป้าหมาย - รายได้เฉลี่ย 390,000 บาท - เกษตรกร เป็น Smart Farmer - สถาบันเกษตรกร เข้มแข็งในระดับมาตรฐาน - GDP เกษตร เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี - สถานประกอบการได้รับมาตรฐาน - แปลงใหญ่มีจำนวน 90 ล้านไร่ - งานวิจัยได้รับการต่อยอดร้อยละ 80 - เกษตรกรเข้าถึงและนำเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ - พื้นที่เกษตรยั่งยืน 10 ล้านไร่ - พื้นที่เกษตรได้รับการฟื้นฟู ปีละ 2 ล้านไร่ - พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น ล้านไร่ - พัฒนา Smart Officer - ปรับปรุงโครงสร้าง - ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย
13
ทิศทางการปฏิบัติงานตามนโยบาย Smart Agricultural Curve
Growth ปี ปีแห่งการเดินหน้า เร่งเครื่อง สู่เกษตร 4.0 (Marching and Accelerating toward Agriculture 4.0) ปี 2561 ปีแห่งการพัฒนาคน และยกระดับ การบริหารจัดการ (The year of developing human resources and enhancing management capability) เป้าหมาย (ทำน้อยได้มาก) ลดช่องว่างระหว่างเกษตร 1.0 เกษตร 2.0 เกษตร 3.0 เกษตร 4.0 2. เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึ้น 3. เกษตรกร/สถาบันเกษตรกรมีความเข้มแข็ง พึ่งพาตัวเองได้ และมีความมั่นคง 4. การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตร (ดิน น้ำ) และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน แนวคิด ขยายผลนโยบาย A4 Plus + ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. สร้าง Demand ให้มากกว่า Supply ด้วยการ Promote สินค้าเกษตรไทยให้กว้างขวาง ในต่างประเทศ 3. มีการบริหารจัดการแบบธุรกิจเกษตร บริหาร การตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อเนื่องหรือเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) 4. สร้างการรับรู้โดยเน้น Information Operation (IO) 5. เน้นการทำงานแบบบูรณาการ นโยบาย นโยบายกระดาษ A4 + บริหารจัดการสินค้าเกษตร ครบวงจร + เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ ตัวชี้วัด ดัชนีความผาสุกของเกษตร รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตร GDP ภาคการเกษตร จำนวนงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ ทรัพยากรการเกษตรที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย เน้นการบริหารจัดการด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยี ความสมดุลของ Demand และ Supply มูลค่าสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น (คุณภาพ ราคาและจำนวนผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูป) แนวคิด บริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญแบบครบวงจรใช้เทคโนโลยีนวัตกรรม องค์ความรู้ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนา Smart Production (High quality, Safety and Competitive) ออกสู่ตลาด 3. พัฒนา Smart Farmer, Smart Officer ให้เป็นมืออาชีพ รองรับเกษตร 4.0 4. สร้างการรับรู้โดยเน้น Information Operation (IO) 5. เน้นการทำงานแบบบูรณาการ นโยบายยกกระดาษ A4 บวก (A4 PlusPolicy) นโยบายกระดาษ A4 + การบริหารจัดการสินค้าเกษตรครบวงจร + เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ ตัวชี้วัด จำนวนงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ ความสมดุลของ Demand และ Supply สินค้าเกษตร ดัชนีรายได้เกษตรกร นโยบาย ศพก. แปลงใหญ่ Zoning by Agi- Map เกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์ นโยบาย ยกกระดาษ A4 ปี 2560 ปีแห่งการยกระดับมาตรฐานการเกษตรสู่ความยั่งยืน (คุณภาพ ประสิทธิภาพ) ปี 2559 ปีแห่งการลดต้นทุน และ เพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร August 2558 October 2559 October 2560 October 2561 – September 2564 Times
14
แผนปฏิบัติการของกรมการข้าว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประเภท หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนงาน/โครงการ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) ด้วยเครื่องมือแผนที่เกษตร เพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) แผนการผลิตและการตลาดข้าวครบวงจร ปี 2559/60 มาตรฐานสินค้าเกษตร เกษตรอินทรีย์และยโสธรโมเดล สสข. ศสส. สนย. กรข. กพภ. Agenda Flagship 1. ศูนย์ข้อมูลข้าวและชาวนา ศสส. 1. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 2. Smart Farmer Function สสข.
15
ระบบการทำงาน ปลายน้ำ ต้นน้ำ
เทคโนโลยี กลางน้ำ ปลายน้ำ ต้นน้ำ มาตรฐาน/แปรรูป /ส่งเสริมถ่ายทอดเทคโนโลยี ข้อมูล/นวัตกรรม ชาวนาพ้นความยากจน
16
ขั้นตอนในการปรับเปลี่ยน
1. ปรับแผนการดำเนินงานของตนเอง (รู้จักตนเอง) ต้นน้ำ กลางน้ำ สวช - ปรับแผนการทำงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ศสส - ปรับแผนการทำงานเพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (งาน งบ คน) สสข กพภ - ปรับแผนการทำงานเพื่อให้แล้วเสร็จตามจุดประสงค์ กรข ปลายน้ำ
17
ขั้นตอนในการปรับเปลี่ยน
2. ปรับแผนการดำเนินงานภายในกลุ่ม (รู้จักกลุ่ม) ต้นน้ำ กลางน้ำ สวช - ปรับแผนเพื่อบูรณาการการทำงานในงานที่เกี่ยวเนื่องกัน ศสส - ปรับแผนการทำงานเพื่อลดความซ้ำซ้อน - ปรับแผนการทำงานเพื่อให้ทุกฝ่ายมีทิศทางการทำงานไปในทางเดียวกัน สสข กพภ กรข ปลายน้ำ
18
ขั้นตอนในการปรับเปลี่ยน
3. ปรับแผนการดำเนินงานเพื่อเชื่อมโยงระหว่างต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ต้นน้ำ กลางน้ำ สวช - ปรับแผนเพื่อบูรณาการการทำงานในงานที่เกี่ยวเนื่องกันในต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ ศสส - ปรับแผนการทำงานเพื่อลดความซ้ำซ้อน สสข กพภ - ปรับแผนการทำงานเพื่อให้ทุกฝ่ายมีทิศทางการทำงานไปในทางเดียวกัน กรข ปลายน้ำ
19
ขั้นตอนในการปรับเปลี่ยน
4. ปรับยุทธศาสตร์ภาพรวมของกอง/สำนัก กลางน้ำ ปลายน้ำ ต้นน้ำ ปรับปรุงยุทธศาสตร์ของกลุ่ม ปรับปรุงยุทธศาสตร์ของกรมการข้าว สู่การขับเคลื่อนตามนโยบายของประเทศ เป้าหมาย ปี 62 ต.ค. แผนการทำงานภาพรวม
20
Road Map การดำเนินงาน ระยะที่3 พัฒนายุทธศาสตร์
ระยะที่2 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ระยะที่1 ปรับปรุงยุทธศาสตร์ เม.ย.60 มิ.ย.60 ก.ย.60 ธ.ค.60 มี.ค.61 มิ.ย.61 ก.ย.61 ประชุม ติดตาม ประชุม สรุป/วางแผน ประชุม ติดตาม ประชุม สรุป/วางแผน ประชุม ติดตาม ประชุม สรุป/วางแผน
21
การติดตาม ประเมินผล งานเชิงรับ/งานเชิงรุก - ปรับปรุงระบบการติดตาม
- แผนพัฒนายุทธศาสตร์ของหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน การติดตาม Morning talk ทุกวันศุกร์ (08:00-09:00) ประชุมย่อยแต่ละเดือน (เวียนกันเป็นเจ้าภาพ) ประชุมติดตาม ทุก 3 เดือน ประชุมสรุปขับเคลื่อนและวางแผน ทุก 6 เดือน
22
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของกรมการข้าว
ทุกคนตระหนักในความสำคัญของข้าว และชาวนา ยึดเกษตรกร/ชาวนา เป็นศูนย์กลางการทำงาน โดยดูแลเกษตรกรให้มี รายได้ที่เหมาะสมด้วยวิธีการต่างๆ ทำงานอย่างบูรณาการ โดยไม่มีพรหมแดนมากันระหว่างกรม/กอง ทำงานบนพื้นฐานของความรักสามัคคี มีความเป็นพี่เป็นน้อง ทำงานด้วยความขยันหมั่นเพียร มีความสำนึกรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความ โปร่งใส ไม่คอรัปชั่น สร้างกระบวนการผลิตสะอาดปลอดภัยได้มาตรฐานและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่ Smart Agriculture/Smart Officer/ Smart Farmer/Smart Services/Smart Laws
23
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.