งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร
* พรานกระต่าย โกสัมพี * โกสัมพี 12 ปี ฟันผุ<50% 60 ปีขึ้นไป มีฟัน 4 คู่สบ 3 ปี ฟันผุ < 50%

2 สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร
เด็กอายุ 12 ปี ฟันดี(cavity free) มากกว่า 65% ปี 2559 สถานการณ์ฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี เป้าหมายไม่ควรเกินร้อยละ 50 พบว่ามีอัตราลดลงทุกปีตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ ผุมากขึ้นจากปี 2557 แต่ยังไม่เกินค่าเป้าหมาย ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร

3 สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร
ฟันแท้ผุกลุ่ม 12 ปี ≤ 50% ปี 2560 สถานการณ์ฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี เป้าหมายไม่ควรเกินร้อยละ 50 พบว่ามีอัตราลดลงทุกปีตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ ผุมากขึ้นจากปี 2557 แต่ยังไม่เกินค่าเป้าหมาย ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร

4 สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร
ฟันน้ำนมผุกลุ่มอายุ 3 ปี ≤ 50% ปี 2560 สถานการณ์ฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี เป้าหมายไม่ควรเกินร้อยละ 50 พบว่ามีอัตราลดลงทุกปีตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ ผุมากขึ้นจากปี 2557 เกินเป้าหมายมาร้อยละ 0.82 ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร

5 เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free
KPI* เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free PI หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 เด็กอายุ 0-3 ปี เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 เด็กอายุ 0-2 ปี ที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 30 ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการสอนและสาธิตการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 50 เด็กอายุ 6-12 ปี เด็กอายุ 6 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ ร้อยละ 40 การยึดติดของสารเคลือบหลุมร่องฟันในเด็กอายุ 6 ปี ร้อยละ 70 เด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 45 เด็กอายุ 12 ปี ฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 40

6 ที่ รายการข้อมูล เป้าหมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุวรลักษบุรี คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ทรายทองฯ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพีนคร จังหวัด 1 หญิงตั้งครรภ์ตรวจสุขภาพช่องปาก 70 38.68 76.04 56.51 63.75 68.51 52.38 45.38 79.28 78.21 89.29 71.93 73.14 57.13 2 จำนวนเด็กอายุ ปีตรวจสุขภาพช่องปาก 72.96 87.99 67.94 93.95 72.08 70.17 70.50 100 90.96 84.25 3 จำนวนเด็กอายุ ปีทาฟลูออไรด์ 30 58.04 96.70 56.81 65.82 79.57 73.36 79.56 87.83 86.61 69.79 74.70 4 จำนวนเด็กอายุ ปีฝึกทักษะการแปรงฟัน 92.89 78.16 93.10 79.22 80.34 83.87 89.76 94.50 5 เด็กอายุ3ปี ฟันน้ำนมผุ < 50 40.25 33.59 30.89 56.86 46.87 32.25 32.74 34.12 35.16 49.33 46.24 60.17 40.44

7 จังหวัด 40 70 45 <50 เด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุม ร่องฟัน 18.68
ที่ รายการข้อมูล เป้าหมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุวรลักษบุรี คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ทรายทองฯ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพี นคร จังหวัด 6 เด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุม ร่องฟัน 40 18.68 41.31 55.76 72.22 24.48 36.07 13.11 56.14 51.27 84.69 28.47 31.51 37.42 7 การยึดติดของสารเคลือบหลุมร่องฟันเด็ก6ปี 70 48.48 54.46 50.25 86.46 70.55 64.25 79.17 66.89 48.0 84.05 56.34 62.14 63.33 8 เด็ก 6-12ปีได้รับบริการทันต กรรม 45 45.89 64.56 51.89 63.47 66.96 46.47 30.33 70.24 45.18 61.03 44.75 48.59 53.36 9 จำนวนเด็ก อายุ 12ปีฟันผุ <50 42.45 35.74 36.86 49.51 33.28 39.44 22.03 34.69 44.09 43.63 36.63 58.99 39.74

8 ผลพฤติกรรมทันตสุขภาพเด็กอายุ 12 ปี จังหวัดกำแพงเพชร ปี2560
2559

9 ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำอัดลม จ.กำแพงเพชร ปี 2559
ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำอัดลม จ.กำแพงเพชร ปี 2559 2559 2560

10 ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำหวาน จ.กำแพงเพชร ปี 2559
ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำหวาน จ.กำแพงเพชร ปี 2559 2559 2560

11 สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร
ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ ≥ 60% ปี 2560 สถานการณ์การมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ มากขึ้นตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 ลดลงอยู่ที่ร้อยละ มีอำเภอคลองลาน และทุ่งโพธิ์ทะเลที่ผ่านเป้าหมายร้อยละ 60 ซึ่งจะได้เน้นการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในวัยก่อนสูงอายุและการรณรงค์การใส่ฟันเทียมเพิ่มมากขึ้นต่อไป สำหรับปี 2559 สภาวะสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัยยังอยู่ในช่วงการสำรวจจะได้ผลในเดือนกรกฎาคม ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากกำแพงเพชร

12 KPI ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบฟันหลังใช้งานได้อย่างน้อย 4 คู่สบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 PI ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (คน) ร้อยละ 80 ของเป้าหมายจากกระทรวงที่ตั้งไว้ ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมทั้งปาก (CD) และมากกว่า16ซี่ รายงานในโปรแกรมฟันเทียมพระราชทาน (จำนวน 725 ราย)

13 ที่ รายการข้อมูล เป้าหมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุวรลักษบุรี คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ทรายทองฯ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพีนคร จังหวัด 1 ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจช่องปาก 60 29.53 62.32 57.93 43.98 55.01 65.20 49.77 66.96 43.90 50.94 61.37 43.83 48.29 2 ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมตามเป้าหมาย 80 163.33 167.50 107.50 125 120 284 197.50 160 190 155 233.33 148 150.72

14 รพ.สต./ศสม.บริการสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพร้อยละ 60
ปี 2560

15 KPI ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากในรพ.สต./ศสม.ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ภายใต้การสนับสนุนของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอ หรือDistrict Health Broad ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 PI รพ.สต./ศ.ส.ม.จัดบริการสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่า 200 คนต่อพันประชากร ร้อยละ 60 รพ.สต./ศ.ส.ม.จัดบริการสุขภาพช่องปากครบ 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม ร้อยละ 60

16 จังหวัด CUP บริการครบ 200 คน/1000ประชากร 60 52.94 64.71 92.86 87.5 90
เป้า หมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุฯ คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางฯ บึงสามัคคี ทรายทอง โกสัมพี จังหวัด บริการครบ 200 คน/1000ประชากร 60 52.94 64.71 92.86 87.5 90 77.78 33.33 100 83.33 87.50 72.73 ครอบคลุม 14 กิจกรรม 85.29 94.12 93.75 44.44 88.64 รพ.สต.คุณภาพ 58.82 71.97

17 การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ≥ 35% ปี2559 และ2560
สถานการณ์การมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ มากขึ้นตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 ลดลงอยู่ที่ร้อยละ มีอำเภอคลองลาน และทุ่งโพธิ์ทะเลที่ผ่านเป้าหมายร้อยละ 60 ซึ่งจะได้เน้นการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในวัยก่อนสูงอายุและการรณรงค์การใส่ฟันเทียมเพิ่มมากขึ้นต่อไป สำหรับปี 2559 สภาวะสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัยยังอยู่ในช่วงการสำรวจจะได้ผลในเดือนกรกฎาคม

18 KPI อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในพื้นที่ ร้อยละ 35 PI ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของเด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของเด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของเด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35

19 CUP เป้า หมาย เมือง ขาณุฯ คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางฯ บึงสามัคคี ทรายทอง โกสัมพี ทุ่งโพธิ์ จังหวัด หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม 35 34.52 72.12 55.39 59.90 58.13 49.52 36.92 70.27 76.92 88.10 64.91 61.46 52.28 0-2ปี ได้รับบริการทันต กรรม 69.29 79.48 62.93 75.9 73.95 77.86 71.92 80.97 82.90 88.52 86.22 89.67 74.88 3-5 ปี ได้รับบริการทันต กรรม 53.09 75.83 59.74 73.94 57.95 57.15 53.01 65.44 62.39 82.71 67.29 54.24 62.10 6-12 ปี ได้รับบริการทันต กรรม 46.37 46.47 51.89 63.47 64.43 30.33 70.24 45.18 61.03 52.27 44.75 53.36 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับบริการทันต กรรม 43.43 66.11 65.15 57.14 63.44 71.06 58.83 74.52 52.46 59.62 53.41 67.57 57.78 ผู้สูงอายุได้รับบริการทันตกรรม 28.70 26.83 30.74 41.03 29.96 36.10 34.14 64.93 32.66 39.26 35.19 34.30 33.14

20 KPI : เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free
สถานการณ์ ปี และ ร้อยละ และ ตามลำดับ ผ่านเกณฑ์เป้าหมายทุกอำเภอ สาเหตุปัญหา พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การทำความสะอาดช่องปาก การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก มาตรการ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ประสานเครือข่าย พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร และเครือข่าย พัฒนาเครื่องมือ/ครุภัณฑ์ทันตกรรม พัฒนาสารสนเทศ กิจกรรมหลัก อำเภอ : ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพช่องปาก ให้ทันต สุขศึกษา ฝึกแปรงฟัน เคลือบหลุมร่อง ฟัน ศพด./รร.อ่อนหวาน รร.เครือข่าย เด็กไทยฟันดี จังหวัด : นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน รร.เครือข่าย สุ่มการติด แน่นสารเคลือบหลุมร่องฟัน สำรวจสภาวะสุขภาพช่อง ปากระดับจังหวัด อบรมวิชาการแก่ทันตบุคลากร จัดเวทีนำเสนอผลงานวิชาการ

21 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ
หญิงตั้งครรภ์ - การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์ : บริการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ฝึกแปรงฟัน อย่างน้อย ๑ ครั้ง ในช่วงฝากครรภ์ ครั้งที่ ๑ - การให้การดูแลรักษา : ช่วงฝากครรภ์ครั้งที่ ๑ หรือ ๒ (อายุครรภ์ไม่เกิน ๖ เดือน) - บริการเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : แนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็ก พร้อมกับการเยี่ยมบ้านโดยสหสาขาวิชาชีพ

22 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย
เด็กเล็กอายุ 0-5 ปี บริการตรวจสุขภาพช่องปากและการทาฟลูออไรด์วาร์นิช เพื่อการป้องกันฟันน้ำนมผุในเด็กอายุ ๙-๖๐ เดือน โดยทาฟลูออไรด์วาร์นิชเด็กกลุ่มเสี่ยง อายุ ๙,๑๘,๒๔,๓๖ ทุก ๖ เดือน และติดตามเด็กจนถึงอายุ ๖๐ เดือน ๑-๒ ครั้งต่อปี บริการเยี่ยมบ้าน/ชุมชน : ฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็ก พร้อมกับการเยี่ยมบ้านโดยสหสาขาวิชาชีพ รณรงค์ศพด.อ่อนหวาน

23 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย
เด็กเล็กอายุ 6-12 ปี คัดกรองสุขภาพช่องปากในโรงเรียน ในเด็ก ป.๑-ป.๖ (อายุ ๖-๑๒ ปี) อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี โดยการตรวจสุขภาพช่องปากและแนะนำในโรงเรียน โดยครู/จพง.ทันตสาธารณสุข/ทันตแพทย์ รวมทั้งส่งต่อเพื่อรักษากรณีที่จำเป็น เคลือบหลุมร่องฟัน ในเด็กโตและวัยรุ่น (อายุ ๖-๒๐ ปี) สำหรับฟันกรามถาวรซี่ที่ ๖,๗,๔,๕ โดยวัสดุเคลือบหลุมร่องฟัน (sealant) ซี่ละ ๑ ครั้ง ถ้าหลุดให้ดำเนินการเคลือบใหม่ ทุกโรงเรียนประถมศึกษาให้มีทันตบุคลากรดูแลรับผิดชอบ

24 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ
เด็กเล็กอายุ 6-12 ปี เคลือบฟลูออไรด์ โดยบริการเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ ทุก ๖ เดือน พร้อมกับให้คำแนะนำในการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง รณรงค์โรงเรียนอ่อนหวาน และเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทย ฟันดี

25 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ
วัยทำงาน ปี บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป : ตรวจสุขภาพช่องปาก ประเมินพฤติกรรมความเสี่ยง การคัดกรองที่จำเป็น การให้สุขศึกษา คำปรึกษา แนะนำ ซักถามและตอบคำถาม บริการเคลือบฟลูออไรด์ในกลุ่มเสี่ยง ทุก ๖ เดือน พร้อมกับให้คำแนะนำในการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่าง น้อยวันละ ๒ ครั้ง ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขศึกษา และบริการรักษาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยง : ผู้มีภาวะน้ำลายแห้ง เหงือกร่น รากฟันโผล่ ยากต่อการทำความสะอาด

26 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ
ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป : ตรวจสุขภาพช่องปาก ประเมินพฤติกรรมความเสี่ยง การคัดกรองที่จำเป็น คัดกรองมะเร็งช่องปาก การให้สุขศึกษา คำปรึกษา แนะนำ ซักถามและตอบคำถาม บริการเคลือบฟลูออไรด์ในกลุ่มเสี่ยง เป็นการใช้ฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงเฉพาะที่ ในกลุ่มเสี่ยงต่อ การเกิดโรคฟันผุ โดยให้บริการทาฟลูออไรดวาร์นิช พร้อมกับให้คำแนะนำในการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่าง น้อยวันละ ๒ ครั้ง บริการรักษา ฟื้นฟู โดยเฉพาะการขูดหินน้ำลาย และฟันเทียม รณรงค์ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 1 อำเภอเพิ่ม 1 ชมรม / LTC กลุ่มเสี่ยง : ผู้มีภาวะน้ำลายแห้ง เหงือกร่น รากฟันโผล่ ยากต่อการทำความสะอาด

27 มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับจังหวัด
นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพช่องปาก ประเมินโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทย ฟันดี สำรวจการติดแน่นของสารเคลือบหลุมร่องฟัน คัดเลือกผู้สูงอายุ 80 และ 90 ปี ฟันดี ประเมินคลินิกทันตกรรมคุณภาพใน รพ.สต. อบรมพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร และการนำเสนอผลงานวิชาการ จัดทำแผนทันตบุคลากร/ยูนิตทันตกรรมให้มีความครอบคลุม


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google