ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข ปี 2560
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
2
นโยบาย CIO กระทรวงสาธารณสุข
ปี 2560 คือปีแห่งคุณภาพข้อมูล ด้านสาธารณสุข นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3
การติดตามข้อมูล 43 แฟ้มกระทรวงสาธารณสุข
โดย นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข เดือนละ 1 ครั้ง ช่วงสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน ข้อมูลที่ติดตาม - การส่งข้อมูล 43 แฟ้ม ( ปัจจุบัน คิดจากแฟ้ม service ) - ความครอบคลุมการรับวัคซีนพื้นฐาน เด็ก 1 ปี , 2 ปี, 3 ปี , 5 ปี - ข้อมูลผิดปกติ ปัจจุบัน ติดตามเรื่อง ค่าน้ำหนัก ความสูง ใน NCDscreen , สถานะพระภิกษุ 3. ข้อมูลตัวชี้วัดตรวจราชการ ปี 2560
4
ความครอบคลุมวัคซีน พื้นฐาน ระดับประเทศ
5
ความครอบคลุมวัคซีน พื้นฐาน ระดับประเทศ
6
ความครอบคลุมวัคซีน พื้นฐาน จ.ศรีสะเกษ
สรุปความครอบคลุมวัคซีน ไตรมาศ 1/2560 (เด็กอายุครบ 1,2,3,5 ปี 31 ธค.59 )
7
ความครอบคลุมวัคซีน พื้นฐาน จ.ศรีสะเกษ
จำนวน Item >=90%
8
ความผิดปกติข้อมูล นน. ส่วนสูง แฟ้ม NCDscreen
9
สถานะพระภิกษุ
10
การรับบริการคนที่เสียชีวิต
11
แฟ้มอื่นๆ Person village death chronic nutrition
12
คณะทำงานพัฒนาคุณภาพข้อมูลระดับอำเภอ
13
บทบาทหน้าที่
14
คุณภาพข้อมูล ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา น่าเชื่อถือ คุณภาพ
15
ตรวจสอบข้อมูล http://ssk.hdc.moph.go.th/hdc/
ความทันเวลา การบันทึกข้อมูล การส่งข้อมูล การรายงาน ข้อมูลการบริการ OP,PP บันทึกให้เป็นปัจจุบัน ไม่ควรเกิน 1 สัปดาห์ (เกณฑ์ ranking) -ส่งข้อมูลที่บันทึกเสร็จทุกสัปดาห์ การส่งข้อมูลเพื่อแก้ไข / เพิ่มเติม ไม่เกินวันที่ 15 ของเดือนถัดไป - วันที่ 3,10,15 ประมวลผลข้อมูลบริการเดือนที่ผ่านมา ข้อมูลการบริการ IPD เร่งรัด Complete Chart บันทึกข้อมูลให้แล้วเสร็จภายใน 1 สัปดาห์ หลังจากComplete Chart ทั้งนี้ไม่ควรเกิน วันที่ 30 ของเดือนถัดไป วันที่ 20, 25 ประมวลผลข้อมูลบริการเดือนปัจจุบัน ข้อมูลวันที่ 25 นำเสนอ คปสจ. / เขตฯ ตรวจสอบข้อมูล
16
ความครบถ้วน แฟ้มที่ตรวจสอบ เกณฑ์ การรายงาน ข้อมูลบริการการคลอด
แฟ้ม LABOR (เกณฑ์ ranking) เปรียบเทียบกับข้อมูลรับรองการเกิด online ในหน่วยบริการ ไม่เกินร้อยละ 2 ระบบรายงานcockpit2560 ข้อมูลความครอบคลุมการให้บริการวัคซีนพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปี ความครอบคลุมตั้งแต่ร้อยละ90 ขึ้นไปในแต่ละวัคซีน (12 items) /ในแต่ละไตรมาศ ระบบรายงาน HDC
17
ความถูกต้อง แฟ้มที่ตรวจสอบ เกณฑ์ การรายงาน 1. โครงสร้างแฟ้ม person
ตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนด ระบบรายงาน HDC 2 เลข 13 หลักถูกต้อง (เกณฑ์ ranking) cid ถูกต้อง >=95% ระบบรายงานตรวจสอบข้อมูล 3. ประชาชนเขตรับผิดชอบซ้ำซ้อนระหว่างหน่วยบริการ (เกณฑ์ ranking) ไม่เกิน ร้อยละ 2 4 การตรวจสอบสถานะ เพศสมณะ , พระภิกษุ ไม่มีข้อมูลที่ผิดเงื่อนไขที่กำหนด
18
( PA กระทรวง) ความถูกต้อง แฟ้มที่ตรวจสอบ เกณฑ์ การรายงาน
5. แฟ้ม NCD SCREEN มีข้อมูลครบถ้วน และสามารถคำนวณ BMI ได้ ไม่มีข้อมูลที่ผิดเงื่อนไขที่กำหนด ระบบรายงานตรวจสอบข้อมูล (กำลังพัฒนา) 6. แฟ้มการให้รหัสโรค Diag (เกณฑ์ ranking) ถูกต้อง >=95% 7. สุ่มตรวจสอบคุณภาพการให้รหัสโรคโดยคณะกรรมการ 3 ครั้ง /ปี ( มค. ,เมย., กค.) ( PA กระทรวง) มากกว่าร้อยละ 80 จากรายงานผลการตรวจสอบ
19
ความน่าเชื่อถือ แนวการตรวจสอบ เกณฑ์ การรายงาน
ตรวจสอบข้อมูลบริการคนที่เสียชีวิตก่อนวันรับบริการ - เปรียบเลข 13 หลัก กับ ข้อมูลการตายที่ได้รับจาก สปสช. ข้อมูลบริการ ตั้งแต่ 1 ตค.2559 มีข้อมูลบริการคนที่เสียชีวิตก่อนวันมารับบริการ ไม่เกินร้อยละ 0.01 ระบบรายงานตรวจสอบข้อมูล
20
ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ สสจ.ศรีสะเกษ
ระบบข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการ Chronic link ระบบข้อมูล HDC ระบบข้อมูล DC สสจ.ศรีสะเกษ ระบบข้อมูล Cockpit
21
cockpit ระบบข้อมูลCockpit
ติดตามตัวชี้วัด PA,ตรวจราชการ, ตัวชี้วัดกระทรวง , Service Plan, QOF, อื่นๆ ข้อมูลจากการประมวลผล, บันทึกเพิ่มเติม จังหวัด ติดตาม วันที่ 20 ของเดือน เขตฯ ติดตาม วันที่ 26 ของเดือน
22
ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
ระบบรายงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน ของผู้รับผิดชอบงาน ข้อมูลรายบุคคล เป้าหมาย, ผลการดำเนินงาน พัฒนาเพิ่มเติมตามคำขอของผู้รับผิดชอบงาน โดยใช้ข้อมูลจากระบบ 43 แฟ้ม
23
HDC On cloud ระบบข้อมูล HDC ระบบรายงาน สารสนเทศ ด้านสุขภาพ พัฒนาโดยกระทรวงสาธารณสุข ใช้ข้อมูล จากระบบ 43 แฟ้ม, บันทึกเพิ่มเติม ใช้ประเมินตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข, PA, ตรวจราชการ 9 ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน , ข้อมูลรายบุคคล เป้าหมาย ที่กระทรวงติดตาม -
24
ตัวชี้วัดตรวจราชการที่ใช้ข้อมูล 43 แฟ้ม
25
ระบบฐานข้อมูลสุขภาพ สสจ.ศรีสะเกษ
- รับข้อมูลระบบ Automatic Online ระบบรายงานการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล เพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ข้อมูลที่ผิดพลาด
26
ระบบข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ
ระบบฐานข้อมูล ผู้ป่วยเรื้อรัง เพื่อประมวลผลการดำเนินงาน ส่งข้อมูลด้วยระบบ manual
27
Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.