ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
RDU & AMR Policy & Key Success Factors
3
การพัฒนาเครือข่าย ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Service Plan RDU เขตสุขภาพที่ 1
4 DIMENSIONS
4
เป้าหมาย (Health Outcome)
Service plan RDU เป้าหมาย (Health Outcome) ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยด้านยา ค่าใช้จ่ายด้านยาลดลง การติดเชื้อดื้อยาลดลง
5
วัตถุประสงค์หลัก 1. สร้างต้นแบบ (model) ของโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลภาครัฐทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทุกระดับ เช่น โรงพยาบาล ในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHOSNET) โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน รวมถึงโรงพยาบาล ภาคเอกชนที่ สนใจเข้าร่วม 2. พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยา อย่าง สมเหตุผลให้เกิดขึ้นในสถานพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรม 3. พัฒนาเครือข่าย (network) เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลใน โรงพยาบาลระดับต่างๆ อย่างเป็นระบบ 4. พัฒนากลวิธีในการสร้างความตระหนักรู้ ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของบุคลากรทางการแพทย์และผู้รับบริการเพื่อนำไปสู่การใช้ยา อย่าง สมเหตุผลที่ยั่งยืนในสังคม
6
P L E A S E กุญแจสำคัญ 6 ประการ
กุญแจดอกที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการ บำบัด (Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening) กุญแจดอกที่ 2 การจัดทำฉลากยาฉลากยาเสริม และข้อมูลยาสู่ประชาชน (Labeling and Leaflet for Patient Information) กุญแจดอกที่ 3 การจัดทำหรือจัดหาเครื่องมือจำเป็นที่ช่วยให้เกิดการสั่งใช้ยา อย่างสมเหตุผล (Essential RDU Tools) กุญแจดอกที่ 4 การสร้างความตระหนักรู้ของบุคลากรทางการแพทย์และ ผู้รับบริการต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients) กุญแจดอกที่ 5 การดูแลด้านยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุ่มพิเศษ (Special Population Care) กุญแจดอกที่ 6 การส่งเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทย์ ในการสั่งใช้ยา (Ethics in Prescription) P L E A S E
7
เป้าหมายการดำเนินการ Service Plan RDU
ภายในระยะเวลา 5 ปี (ปี 2560 – 2564) ประเด็น 2560 2561 2562 2563 2564 RDU 1 KPI 1-18 รพ. RDU ขั้นที่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของ รพ.ทั้งหมด รพ.RDU ขั้นที่ 1 ทุกแห่งและ ขั้นที่ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของ รพ.ทั้งหมด รพ. RDU ขั้นที่ 1 ทุกแห่ง และ ขั้นที่ 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ รพ.ทั้งหมด รพ. RDU ขั้นที่ 2 ทุกแห่ง และขั้นที่ 3 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของ รพ.ทั้งหมด รพ. RDU ขั้นที่ 2 ทุกแห่ง และ ขั้นที่ 3 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของ รพ.ทั้งหมด AMR - รพ.ระดับ A, S และ M1 มีแผนปฏิบัติการการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในโรงพยาบาล - มีข้อมูล (Baseline Data) ของอัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลงร้อยละ 10 จาก Baseline Data อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลง ร้อยละ 20 จาก Baseline Data อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลงร้อยละ 30 จาก Baseline Data อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดลดลงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 จาก Baseline Data RDU 2 CUP RUA 2 KPI (URI AD) ≤ ร้อยละ 20 ≥ ร้อยละ 40 ของสถานบริการใน CUP ทั้งหมด ≥ ร้อยละ 60 ร้อยละ 100
8
Service Plan RDU&AMR
9
ตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 1 จำนวน 5 ตัวชี้วัด
ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ 1 ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ รพ.ระดับ A ≥ ร้อยละ 75 S ≥ ร้อยละ 80 M1-M2 ≥ ร้อยละ 85 F1-F3 ≥ ร้อยละ 90 2 ประสิทธิผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำสื่อสาร และส่งเสริมเพื่อนำไปสู่การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระดับ 3 3 การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และเอกสารข้อมูลยาใน 13 กลุ่ม ที่มีรายละเอียดครบถ้วน รายการยา 13 กลุ่ม 4 รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล ≤ 1รายการ 5 การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและส่งเสริมการขายยา
10
ตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 2 จำนวน 9 ตัวชี้วัด
ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ 1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก ≤ ร้อยละ 20 2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 3 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ≤ร้อยละ 40 4 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด ≤ร้อยละ 10 5 ร้อยละของผู้ป่วยที่ใช้ glibenclamideในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 65 ปี หรือมีeGFRน้อยกว่า 60 มล./นาที/1.73 ตารางเมตร ≤ ร้อยละ 5 6 ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับยา NSAIDs 7 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ ยา warfarin*, statins, ergots เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์แล้ว (*ยกเว้นกรณีใส่ mechanical heart valve) 0 คน 8 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20 ร้อยละ 100 9 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่ายที่มีอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน ≤ ร้อยละ 20
11
ตัวชี้วัด RDU ขั้นที่ 3 จำนวน 6 ตัวชี้วัด
ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ 1 ร้อยละของผู้ป่วยความดันเลือดสูงทั่วไป ที่ใช้ RAS blockade (ACEI/ ARB/ Renin inhibitor) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันเลือดสูง ร้อยละ 0 2 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ใช้ยา metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้ามใช้ (ห้ามใช้หาก eGFR< 30 มล./นาที/1.73 ตร.ม.) ≥ ร้อยละ 80 3 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช่ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน ≤ ร้อยละ 5 4 ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid 5 ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ ที่ใช้ยากลุ่ม long-acting benzodiazepine ได้แก่ chlordiazepoxide, diazepam, dipotassiumchlorazepate 6 ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ครอบคลุมโรคตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI) และได้รับยาต้านฮิสตามีนชนิด non-sedating ≤ ร้อยละ 20 7 อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดต่อผู้ป่วยที่ส่งตรวจ (แบคทีเรียดื้อยา ได้แก่ Acinetobacterbaumannii, Pseudomonas aeruginosa, Klebsiellapneumoniae, Staphylococcus aureus, Escherichia coli, Salmonella sppl, Enterococcus faeciumและ Streptococcus pneumonia) ตัวชี้วัด Antimicrobial Resistance : AMR สำหรับ รพ. ระดับ A, S และ M1 ลดลงร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับ baseline
14
การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ : ยุทธศาสตร์ ที่ 3
National Integrated AMR Management System (ครอบคลุมสถานพยาบาลในทุกสังกัดรัฐและเอกชน) Service plan AMR-RDU AMR : ครอบคลุม รพ.ระดับ A, S, M1 ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 125 แห่ง เขต 1 จำนวน 11 แห่ง : ประกอบด้วย 1.รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ 2.รพ.แพร่ รพ.พะเยา 4.รพ.น่าน รพ.นครพิงค์ 6.รพ.ศรีสังวาล์ รพ.ลำปาง รพ.ลำพูน รพ.เชียงคำ รพ.จอมทอง 11.รพ.ฝาง ขอบเขตงาน AMR ใน Service Plan กำหนดนโยบายและมาตรการโดยคณะกรรมการ AMR เฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ ควบคุม กำกับ ดูแลการใช้ยาต้านจุลชีพ เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล โดยคณะกรรมการ AMR ของโรงพยาบาล นำไปสู่เป้าประสงค์ การป่วยจากเชื้อดื้อยาลดลง ปริมาณการบริโภคยาต้านจุลชีพลดลง
15
เกณฑ์การประเมิน AMR : ปี 2561
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน โรงพยาบาลมีการวางแผนระบบการจัดการ AMR โรงพยาบาลมีการเริ่ม ดำเนินการระบบการจัดการ AMR ร้อยละ 40 ของโรงพยาบาลมีระบบการจัดการ AMR ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาลมีระบบการจัดการ AMR
18
ส่วนประกอบของแบบประเมิน : ด้านเภสัชกรรม RDU
ประเด็นการประเมิน ระดับ 5 การใช้ยาอย่างปลอดภัยและมีความสมเหตุผล มีการส่งมอบยาให้ผู้ป่วยอย่างถูกต้องและเหมาะสม 1. มีการส่งมอบยาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน 2. ยาที่ส่งมอบมีข้อมูลครบถ้วนระบุสถานที่บริการ ชื่อผู้ป่วยวันที่จ่ายยา ชื่อยา วิธีใช้ข้อควรระวังในการใช้ยา 3. มีการบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยา(Medication Error) 4. มีแนวทางป้องกันความคลาดเคลื่อนทางยาใน รพ.สต. 2. มีการจัดทำเครื่องมือเพื่อส่งเสริมการใช้ยาของผู้ป่วยให้ถูกต้องปลอดภัย 1. ฉลากยาเป็นไปตามมาตรฐานคือเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลได้แก่ มีฉลากยาภาษาไทย และมีฉลากยาเสริม
2. มีฉลากช่วยในการใช้ยา
3. มีสื่อส่งเสริมการใช้ยาที่ปลอดภัย 3. มีการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 1. มีการดำเนินงานส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลตามเกณฑ์ระดับ 4ทุกข้อ และมีข้อต่อไปนี้ทุกข้อ
1.1 ร้อยละของการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อทางเดินหายใจไม่เกินร้อยละ 20
1.2 ร้อยละของการใช้ปฏิชีวนะในโรคในโรคท้องร่วงเฉียบพลัน ไม่เกินร้อยละ 20 4. มีการติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่บ้าน 1. มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการติดตามการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพโรคเรื้อรังของผู้ป่วย 2. มีการติดตามเยี่ยมและแนะนำการใช้ยาโรคเรื้อรังและผลิตภัณฑ์สุขภาพต่อเนื่องที่บ้านโดยเภสัชกรทีมสหวิชาชีพร่วมกับทีม รพ.สต. 3. มีการบันทึกข้อมูลการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยในFamily folderหรือ วิธีการอื่นใด
19
แผน RDU เขตสุขภาพที่ 1 Regi on 1 Boar d Service plan RDU : Action plan KPI การตรวจราชการและนิเทศงาน CIPO RDU : บูรณาการ KPI service Excellent & Governance Excellent Plan Provi ncial Boar d กำหนดให้คณะกรรมการ RDU ระดับจังหวัดเป็นทีมขับเคลื่อนตัวชี้วัดสอดคล้องกับเขต ติดตาม รวบรวมข้อมูลรายงานทุก 3 เดือน Hos pita l Boa rd กำหนดให้ PTC เป็นทีมขับเคลื่อนตัวชี้วัดสอดคล้องกับจังหวัด/เขต พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงาน PLEASE โรงพยาบาลระดับ A จัดทำแผนปฏิบัติการ AMR รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน CUP Boa rd กำหนดมาตรการ RUA ในโรค URI, AD (ASU เดิม) เฝ้าระวังการจำหน่าย ABO/Steroid/NSAIDs ในร้านชำ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจประชาชน
20
สรุปผลการดำเนินงานและความสำเร็จ ปี 2561 เขตบริการสุขภาพที่ 1
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน RDU ขั้นที่ 1 60% RDU ขั้นที่ 1 70% RDU ขั้นที่ % RDU ขั้นที่ % RDU ขั้นที่ 2 10% RDU ขั้นที่ % RDU ขั้นที่ % ร้อยละ 40 ของ โรงพยาบาล มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ ร้อยละ 70 ของโรงพยาบาล มีระบบการจัดการ AMR อย่างบูรณาการ เป้าหมาย ปี 2561 ภาพรวม 8 จังหวัด ไตรมาส 3 เขตบริการสุขภาพที่ 1 9 Months ผลการประเมิน ร้อยละ สรุปการประเมินระดับขั้น RDU โรงพยาบาล (แห่ง) RDU ขั้น 0 15 15.00 RDU ขั้น 1 76 76.00 80.00 85.00 RDU ขั้น 2 9 9.00 RDU ขั้น 3 0.00 รวม 100
21
สรุปผลการดำเนินงานและความสำเร็จ ปี 2561 เขตบริการสุขภาพที่ 1
22
สรุปผลการดำเนินงาน AMR ปี 2561 เขตบริการสุขภาพที่ 1
23
ปัญหา-อุปสรรค ปี 2561 RDU ขั้นที่ 1 ยังมีจุดอ่อนที่เกณฑ์ PTC และ ASU ใน รพ.สต. RDU ขั้นที่ 2 การใช้ยาปฏิชีวนะ 4 กลุ่มโรค ยังไม่ผ่านเป้าหมาย โดยเฉพาะการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสด แพทย์และบุคลากรมีการหมุนเวียนบ่อย บาง รพ. มีพยาบาลตรวจแทนแพทย์นอกเวลาราชการ มีการสั่งใช้ antibiotic ค่อนข้างสูง มีการดำเนินการ RDU ในโรงพยาบาลสำเร็จตามเป้าหมาย แต่ใน ชุมชนยังไม่ค่อยมีการดำเนินการ
24
กำหนดปัญหาและแนวทาง การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ ปี 2562
1. การพัฒนา RDU ในโรงพยาบาลและเครือข่ายบริการ พัฒนา RDU โดยกำหนดต้องไม่มีโรงพยาบาลในเขต 1 ที่ยังอยู่ RDU ขั้น 0 พัฒนาโรงพยาบาล RDU ขั้น 1 ให้ผ่าน RDU ขั้น 2 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 พัฒนาโรงพยาบาล RDU ขั้น 2 ให้ผ่าน RDU ขั้น 3 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 วิเคราะห์ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ระดมความคิด หาวิธีการ เพื่อพัฒนาสู่ RDU ขั้น 3 โดยให้มีการรายงานข้อมูล RDU&AMR ให้แก่คณะกรรมการบริหารของ โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ถ้าพบปัญหาหรือดำเนินการแก้ไขไม่ได้ ให้ประสาน ผ่านประธาน RDU จังหวัด 2. พัฒนา RDU ชุมชน สร้างเครือข่ายปฐมภูมิให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เฝ้าระวังการใช้ยา ไม่สมเหตุผลในชุมชน จัดอบรมให้ความรู้ สนับสนุนสื่อ ประชาสัมพันธ์ การใช้ยาอย่างสม เหตุผล ให้แก่สถานพยาบาล เช่น คลินิก และร้านยาในจังหวัด รวมถึง ร้านค้าชุมชนที่มีการจำหน่ายยา
25
กลวิธีในการดำเนินการ สาขา RDU&AMR เขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2562
1. การจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผ่านการประชุมวิชาการ RDU&AMR ระดับเขตระดับจังหวัดและระดับเครือข่ายของโรงพยาบาลระดับอำเภอ 2. การจัดการประชุมชี้แจงและฝึกอบรมบุคลากรที่เกี่ยวข้อง RDU&AMR ผ่านระบบ teleconference ของเครือข่ายในทุกระดับ 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ ในการรายงานผลการดำเนินงาน RDU&AMR ทั้งในระดับเครือข่ายโรงพยาบาลอำเภอ เครือข่ายระดับจังหวัด โดยประสานความร่วมมือกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 4. ติดตามรายงานผ่านระบบ HDC ของกระทรวงสาธารณสุข และระบบรายงานตัวชี้วัด RDU ผ่านระบบรายงาน RDU ของ กบรส.
26
กลวิธีในการดำเนินการ สาขา RDU&AMR เขตบริการสุขภาพที่ 1 ปี 2562
5. จัดระบบการสื่อสารข้อมูลและระบบการรายงายข้อมูล RDU&AMR ผ่านระบบ LINE กลุ่มในระดับเขต ระดับจังหวัด และเครือข่ายระดับอำเภอ จนกระทั่งถึงระบบหน่วยงานย่อยและผู้สั่งใช้ยาเป็นรายบุคคล 6. จัดให้ระบบการรายงานข้อมูล RDU&AMR ในคณะกรรมการ กวป. Service Provider Board คณะกรรมการ คปสอ. PTC และคณะกรรมการบริหารของโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง 7. พัฒนา RDU สู่ชุมชน สร้างเครือข่ายปฐมภูมิให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 8. จัดอบรมให้ความรู้ สนับสนุนสื่อ ประชาสัมพันธ์ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ให้แก่สถานพยาบาล เช่น คลินิก และร้านยาในจังหวัด รวมถึงร้านค้าชุมชนที่ มีการจำหน่ายยา 9. มีต้นแบบโรงพยาบาลที่ผ่าน RDU ขั้น 3 แนะนำแนวทางกลยุทธ์ วิธีปฏิบัติ การ จัดการเพื่อเป็นตัวอย่างให้แก่ รพ.อื่นๆ ที่ยังไม่ผ่าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.