งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ
ปีงบประมาณ 2561 วันที่ 22 กันยายน 2559 โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก

2 ประชุมคณะทำงานจัดทำ(ร่าง)กรอบการบริหารจัดการ กรอบเกณฑ์ชี้วัด และกำหนดค่าคะแนน
วันที่ 18 กันยายน 2560 องค์ประกอบคณะทำงาน ประกอบด้วย 1. ประธาน รองประธาน และผู้แทนคณะทำงานการบริการสุขภาพสาขาปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ 2. ผู้แทนแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว (รองผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ) 3. ผู้แทนผู้อำนวยการโรงพยาบาล 4. ผู้แทนระดับสาธารณสุขอำเภอ 5. ผู้แทนระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และผู้แทนสมาคมหมออนามัย 6. ผู้รับผิดชอบงานด้านพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ ระดับจังหวัด ๆ ละ 1 ท่าน 7. ผู้รับผิดชอบงานด้านส่งเสริมสุขภาพ, งานควบคุมและป้องกันโรค ระดับจังหวัด ๆ ละ 1 ท่าน 8. ผู้รับผิดชอบงานจากศูนย์วิชาการในเขต (ศูนย์อนามัย ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค ศูนย์สุขภาพจิต) 9. ผู้แทนจากสำนักงานเขตสุขภาพที่ 2 10.ผู้แทนคณะทำงานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศสาธารณสุขเขต 2 11.ผู้แทนคณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 2 พิษณุโลก 12.ผู้แทนคณะอนุกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุขระดับเขตพื้นที่ เขต 2 พิษณุโลก รวม 30 คน

3 งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561
งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561 วัตถุประสงค์ สร้างแรงจูงใจให้หน่วยบริการมีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน และจัดบริการที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สร้างกลไกการจัดการทางการเงินตามผลงานที่มีคุณภาพ (Quality outcome performance) เพื่อส่งเสริมการยกระดับคุณภาพ และการควบคุมกำกับคุณภาพบริการของหน่วยบริการ เพื่อพัฒนาคุณภาพของระบบข้อมูลสุขภาพในพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านนโยบายบริการสาธารณสุขของรัฐ

4 งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561
งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561 กลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการปฐมภูมิ, หน่วยบริการประจำ ผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่ต้องการ หน่วยบริการมีผลการดำเนินงานที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด และประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน

5 กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561
กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561 แนวทางการดำเนินงาน งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561 1. กลไกการดำเนินงานร่วมกับทุกภาคส่วน คำสั่ง สปสช. 15/2560 ลงวันที่ 6 ก.พ. 60 แต่งตั้ง “คณะทำงานพัฒนาแนวทางบริหารงบบริการจ่ายตามคุณภาพผลงานบริการ” 2. กลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการประจำและหน่วยบริการปฐมภูมิในเครือข่าย 3. งบประมาณ งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ งบ OP 9 บาท/ผู้มีสิทธิ ( ล้านคน) งบ PP 9 บาท/ปชก.ไทย (65.7 ล้านคน) งบบริการจ่ายตามคุณภาพผลงานบริการ 2 บาท/ผู้มีสิทธิ์ ( ล้านคน)

6 กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561
กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561 4. การ จัดสรร จัดสรรรายเขต ตาม จน.ปชก. จ่าย Global budget ระดับเขต จ่ายลง CUP ครั้งเดียว ภายใน ส.ค. 61 ตามคุณภาพ ผลงานบริการที่เกิดขึ้นจริงเฉพาะหน่วยบริการที่ผ่านเกิน เป้าหมายตามแนวทางที่สปสช.กำหนด สปสช.เขต กำหนด แนวทางการจัดสรรงบจ่ายตาม เกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ : ค่าเป้าหมาย น้ำหนัก คะแนน เกณฑ์การให้คะแนนของตัวชี้วัดคุณภาพผลงาน บริการ และสัดส่วนงบที่จะจัดสรรให้หน่วยบริการ โดย อาศัยกลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง และผ่านความ เห็นชอบของ อปสข. กรณีที่งบเหลือจาก Global budget ระดับเขตของแต่ละ เขต กำหนดจ่ายให้หน่วยบริการประจำตามจำนวนผู้ ลงทะเบียนสิทธิ โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข.

7 กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561
กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561 แนวทางการ ดำเนินงาน งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561 5. ค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด สปสช.เขต กำหนดค่าเป้าหมายจากผลงานบริการ ในระดับพื้นที่ โดยให้พิจารณาความเหมาะสม สอดคล้องกับค่าเป้าหมายระดับประเทศร่วมด้วย และอาศัยกลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้องใน พื้นที่ โดยผ่านความเห็นชอบของ อปสข. จากมติการประชุมติดตามงบจ่ายตามเกณฑ์ปี 60 กำหนดกรอบปี 61 สคม. & PM 7 ส.ค. 60

8 กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561
กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงาน บริการ ปีงบประมาณ 2561 แนวทางการดำเนินงาน งบบริการจ่ายตามคุณภาพผลงานที่เพิ่มขึ้น ปีงบประมาณ 2561 6. ข้อมูลที่นำมาใช้ ข้อมูล สปสช. (OP-PP individual, OP e-claim และผู้ป่วยใน (IP e-claim) ) เน้นการดำเนินการร่วมกับพื้นที่ โดยอาจใช้ข้อมูลจาก HDC ร่วมด้วย ข้อมูลบริการไตรมาส 3, 4 ปีงบประมาณ 60 และ ไตรมาส 1, 2 ปีงบประมาณ 61 IT ประมวลผลข้อมูลตัวชี้วัดกลาง (Date sent 30 เม.ย. 61) และส่งให้ สปสช. เขต ภายในสิ้นเดือน พ.ค. 61 สปสช.เขต ตรวจสอบความถูกต้องข้อมูล แจ้งกลับ IT ภายใน 30 มิ.ย. 61 สปสช.เขต ประมวลผลตมตัวชี้วัด จ่ายให้หน่วยบริการ ภายใน 31 ส.ค. 61 สปสช.เขต กำชับหน่วยบริการในพื้นที่เกี่ยวกับการส่งข้อมูลตามช่วงเวลาที่กำหนด 7. ตัวชี้วัดที่ใช้ ตัวชี้วัดกลาง 6 ตัว ตามรายการเดิมของปี 60 (ยกเลิก 1.2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน และ 2.2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง) ตัวชี้วัดระดับเขต ไม่เกิน 5 ตัว

9 รายการ ตัวชี้วัดกลาง งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561
รายการตัวชี้วัดกลาง แหล่งข้อมูล ตัวชี้วัดที่ 1*: ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด สปสช. IP/OP//PP e-claim ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ . ตัวชี้วัดที่ 2** : ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ปี ภายใน 5 ปี ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก ฐานข้อมูล OP/PP Individual Data 5.1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) ตัวชี้วัดที่ 6 : การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension) IP e Claim *ยกเลิก 1.2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน **ยกเลิก 2.2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นความดันโลหิตสูง)

10 ตัวชี้วัดระดับเขต งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพปี 2561 (เกณฑ์เดิมปี 60)
ตัวชี้วัดระดับเขต งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพปี (เกณฑ์เดิมปี 60) เกณฑ์จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ แหล่งข้อมูล 7. น้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม HDC จังหวัด 8.1 คัดกรองพัฒนาการล่าช้า เด็กพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการ 9. สัดส่วนการใช้บริการที่ รพสต./รพ 10. ร้อยละผู้ป่วยวัณโรครักษาสำเร็จ ศคร.เขต 2 11. อัตราผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพก่อนและ หลังจาหน่าย สปสช. IP/OP// E-claim ฐานข้อมูลการเบิกอุปกรณ์คนพิการ

11 Template และ เกณฑ์คะแนนงบจ่ายตาม เกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2561

12 1.ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน
1.ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็นเบาหวาน 1.1ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรอง เบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด

13 A= ประชากร UC อายุ ปี นับในช่วง 1 เมษายน มีนาคม ที่ยังมีชีวิตอยู่จากฐานทะเบียน จำแนกตามหน่วยบริการประจำ B= กลุ่ม A ผู้ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อน 1 เมย. 60 ว่าเป็น DM โดยตรวจสอบจากแฟ้ม CHRONIC, DIAG ใน OP IP รหัส ICD =E10-E14 C= กลุ่ม B ที่ได้รับการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดจากแฟ้ม NCDSCREEN โดย BSTEST= 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 และ ดู BSL ที่>0 D= กลุ่ม C ที่มีผล BSL ที่>100 E = กลุ่ม D ที่ยังมีชีวิตอยู่หลังมีผล ว่าได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ นำ PID ไปตรวจสอบจากแฟ้ม DIAG + CHRONIC (ICD =E10-E14) ตรวจสอบวันคัดกรอง (DATESERV) ว่าต้องมาก่อนข้อมูลในแฟ้ม Diag +Chronic A POP yrs B ไม่เคยเป็นเบาหวานมาก่อน C เจาะน้ำตาลในเลือด D BSL>100 E ได้รับการวินิจฉัย คัดกรอง DM = Cx100/B

14 เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561
KPI 1 (กลาง) ร้อยละของประชากรไทยอายุ ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย 90 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 =<50.00% = 0 คะแนน =<60.00% = 0 คะแนน % = คะแนน % = 1 คะแนน % = คะแนน % = 2 คะแนน % = คะแนน % = 3 คะแนน % = คะแนน % = 4 คะแนน 90 % ขึ้นไป = 5 คะแนน 80 % ขึ้นไป = 5 คะแนน

15 ตัวชี้วัด 2. ร้อยละผู้ที่ได้รับการคัดกรองและวินิจฉัยเป็น ความดันโลหิตสูง
2.1 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรอง ความดันโลหิตสูง

16 A= POP UC ปี นับในช่วง 1 เมษายน มีนาคม 2561 ที่ยังมีชีวิตอยู่จากฐานทะเบียน จำแนกตามหน่วยบริการประจำ B= กลุ่ม A ผู้ไม่เคยได้รับการวินิจฉัยมาก่อนหน้า 1 เมย. 60 ว่าเป็น HT โดยตรวจสอบจากแฟ้ม CHRONIC, DIAG ใน OP IP รหัส ICD =I10-I15, C= กลุ่ม B ที่ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต โดยดูจากแฟ้ม NCDSCREEN (SBP1>30 mmHg. และDBP1>20 mmHg D= กลุ่ม C ที่มีผล SBP1>=140 mmHg. และ/หรือ DBP1>=90 mmHg E = กลุ่ม D ที่ยังมีชีวิตอยู่หลังมีผล ว่าได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ นำ PID ไปตรวจสอบจากแฟ้ม Diag +Chronic ( ICD =I10-I15, I674, H350) ตรวจสอบวันคัดกรอง (DATESERV) ว่าต้องมาก่อนข้อมูลในแฟ้ม DIAG + CHRONIC A POP yrs B ไม่เคยเป็นความดันโลหิตสูงมากก่อน C วัดความดันโลหิต D SBP >= 140 mmHg. และ/หรือ DBP >= 90 mmHg E ได้รับการวินิจฉัย = Cx100/B คัดกรอง HT

17 เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561
KPI 2 (กลาง) ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย 90 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 =<50.00% = 0 คะแนน =<60.00% = 0 คะแนน % = คะแนน % = 1 คะแนน % = คะแนน % = 2 คะแนน % = คะแนน % = 3 คะแนน % = คะแนน % = 4 คะแนน 90 % ขึ้นไป = 5 คะแนน 80 % ขึ้นไป = 5 คะแนน

18 ชื่อตัวชี้วัด 3 ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์
A=จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายในหน่วยบริการที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก โดยอายุ ครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ที่ได้รับบริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561 B = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกทั้งหมดที่ได้รับ บริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม ในหน่วยบริการ ทั้งหมด สูตร A/B * 100 นับ PID จากแฟ้ม ANC (นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรกของการตั้งครรภ์ครั้ง นั้น) โดยหญิงที่มาฝากครรภ์เป็นครั้งแรกของครรภ์นี้นับในช่วงที่ได้รับบริการ ภายในวันที่ 1 เมษายน 2560 ถึง 31 มีนาคม (โดยตรวจสอบการฝาก ครรภ์ย้อนหลังไป 9 เดือนทุกรายของผู้รับบริการในช่วงที่กำหนด เพื่อตัดรายที่ เคยมาในช่วง 9 เดือนย้อนหลังออกก่อน หากมี PID ซ้ำ ให้เลือก GRAVIDA ที่ไม่ซ้ำ) ให้นับเฉพาะวันที่บริการครั้งแรกใน min(DATE_SERV) และ min (GA) กรณีพบซ้ำให้เลือกหน่วยบริการแรกหน่วยบริการเดียว นับ จำนวนคน จากเลขประจำตัว 13 หลัก ที่มี GA <=12 wks และตัด PID error

19 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย > 60 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 น้อยกว่า 40 % = 0 คะแนน น้อยกว่า 52 % = 0 คะแนน % = คะแนน % = 1 คะแนน % = คะแนน % = 2 คะแนน % = คะแนน % = 3 คะแนน % = คะแนน % = 4 คะแนน 80 % ขึ้นไป = 5 คะแนน 60 % ขึ้นไป = 5 คะแนน

20 1) ฐานข้อมูลจาก Pap Registry
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ปี ภายใน 5 ปี แหล่งข้อมูล 1) ฐานข้อมูลจาก Pap Registry 2) ข้อมูล 21/43 แฟ้ม (แฟ้ม DIAGNOSIS_OPD รหัส Z014 หรือ Z124) 3) SPECIAL PP รหัส 1B30 หรือ 1B40 หรือ 1B004 4) ฐานข้อมูลประชากรไทยทุกสิทธิ รายการข้อมูล 1 A= จำนวนสตรีอายุ ปีทุกสิทธิ ที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกรายใหม่สะสม ตั้งแต่ 1 เมษายน มีนาคม จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน เงื่อนไขรายการข้อมูล 1 จำนวนหญิงไทยทุกคน (ที่เกิดในช่วง 1 เมษายน 2500 ถึง 30 มีนาคม 2530 ) ในแต่ละหน่วยลงทะเบียนที่มี PID ปรากฏในฐาน Pap screening รวมกับ PID ที่อยู่ในแฟ้ม SPECIAL PP รหัส 1B30 หรือ 1B40 หรือ 1B004 และ PID ที่อยู่ใน DIAGNOSIS_OPD ที่มีรหัส DIAGCODE = Z014, Z124 ตั้งแต่ปี แล้วนำมาแจงนับรวมกันโดยตัด PID ที่ซ้ำของ 3 ฐานออก แล้วตัดผู้ที่เสียชีวิตก่อนการคัดกรอง รวมทั้ง PID error ทั้งหมด ก่อนจำแนกตามหน่วยลงทะเบียน รายการข้อมูล 2 B = จำนวนหญิงไทยทุกคน ที่เกิดในช่วง 1 เมษายน 2500 ถึง 30 มีนาคม 2530 จัดกลุ่มตามหน่วย ลงทะเบียน สูตรการคำนวณ ตัวชี้วัด (A/B) X 100

21 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ปี ภายใน 5 ปี ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย >= 80 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 น้อยกว่า 40 % = 0 คะแนน น้อยกว่า 45 % = 0 คะแนน % = คะแนน % = 1 คะแนน % = คะแนน % = 2 คะแนน % = คะแนน % = 3 คะแนน % = คะแนน % = 4 คะแนน 80 % ขึ้นไป = 5 คะแนน 65 % ขึ้นไป = 5 คะแนน

22 รายการข้อมูล 2 B: จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด
5.1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระ ร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) รายการข้อมูล 1 A: จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ รายการข้อมูล 2 B: จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด สูตรการคำนวณตัวชี้วัดย่อยที่ 5.1 (A/B) x 100

23 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย =< 40 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 > 40.01 = 0 > 40.00 = 1 = 3 ≤ 20 = 5 หมายเหตุ เกณฑ์ให้คะแนนเหมือน ปี 60

24 รายการข้อมูล 2 B: จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด
5.1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระ ร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) รายการข้อมูล 1 A: จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่ได้รับยาปฏิชีวนะ รายการข้อมูล 2 B: จำนวนใบสั่งยาผู้ป่วยอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั้งหมด สูตรการคำนวณตัวชี้วัดย่อยที่ 5.1 (A/B) x 100

25 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection :RI) ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย =< 40 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 > 40.01 = 0 = 1 = 3 ≤ 20 = 5 หมายเหตุ เกณฑ์ให้คะแนนเหมือน ปี 60

26 ตัวชี้วัดที่ 6 การลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควร ควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC)
ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ACSC: ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT) รายการข้อมูล A: จำนวนครั้งที่ผู้ป่วยสิทธิ UC อายุ ปี ที่ลงทะเบียนของหน่วยบริการประจำ (Hmain OP) เข้ารักษาในโรงพยาบาลในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT) ตามคำนิยาม A1 = ข้อมูล A ระหว่าง 1 ตค.59 – 31 มีค.60 A2 = ข้อมูล A ระหว่าง 1 ตค.60 – 31 มีค.61 B1: จำนวนประชากรสิทธิ UC อายุ ปี ของหน่วยบริการประจำ ณ 1 ม.ค.60 B2: จำนวนประชากรสิทธิ UC อายุ ปี ของหน่วยบริการประจำ ณ 1 ม.ค.61 สูตรคำนวณ X1 = อัตราการนอนรพ.ด้วย ACSC ต่อแสนประชากร 1 ตค มีค.60 = (A1/B1)x100,000 X2 = อัตราการนอนรพ.ด้วย ACSC ต่อแสนประชากร 1 ตค มีค.61 = (A2/B2)x100,000 Y = อัตราลดลง = X2-X1

27 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 การลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC: ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT) ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย =< 40 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 >= 0 = 0 คะแนน 0 – (-23.99) = 1 คะแนน 0 – (-32.59) (-24) – (-69.99) = 2 คะแนน (-33) – (-64.99) (-70) – (-99.99) = 3 คะแนน (-65) – (-97.49) (-100) – ( ) = 4 คะแนน (-97.5) – ( ) < (-130) = 5 คะแนน หมายเหตุ เกณฑ์ให้คะแนนเหมือน ปี 60

28 สูตรการคำนวณตัวชี้วัด A/B
ตัวชี้วัดที่ 7.สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล รายการข้อมูล 1 A=จำนวนครั้งผู้มีสิทธิ์UC ในเขตรับผิดชอบ ที่ใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ระหว่าง 1 เมษายน 2560 – 31 มีนาคม 2561 รายการข้อมูล 2 B=จำนวนครั้งผู้มีสิทธิ์UC ในเขตรับผิดชอบ ที่ใช้บริการที่โรงพยาบาล ระหว่าง 1 เมษายน 2560 – 31 มีนาคม 2561 สูตรการคำนวณตัวชี้วัด A/B

29 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 7.สัดส่วนการใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิต่อการใช้บริการที่โรงพยาบาล ผลงานปี 60 = 1.5 % เป้าหมาย =< % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 < 1.00 ไม่มีผลงาน = 0 คะแนน =< (1.3) = 0 คะแนน ตั้งแต่ 1.00 – = คะแนน 1.3 – 1.49 = 1 คะแนน ตั้งแต่ = 5 คะแนน – 1.69 = 2 คะแนน – 1.89 = 3 คะแนน – 2.09 = 4 คะแนน > = 2.10 = 5 คะแนน หมายเหตุ ปี 61 เครือข่ายหน่วยบริการประจำที่ไม่มีลูกข่าย (สัดส่วนการใช้บริการ = 1 ) ได้ 1 คะแนน

30 ตัวชี้วัด 8. อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค
คำนิยาม อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค หมายถึง ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภทที่ได้รับการรักษาหายและครบรวมกัน ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภท (New M+ / New M- / Relapse / EP ) ที่ขึ้นทะเบียนรักษาตั้งแต่วันที่ 1 เมย.2559 – 30 ก.ย.2560 แหล่งข้อมูล จาก TB Data Hub Web Application ของ สปสช., สคร.เขต 2 รายการข้อมูล 1 A=จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภทที่ได้รับการรักษาหายและครบรวมกัน รายการข้อมูล 2 B=จำนวนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภทที่ขึ้นทะเบียนรักษาในช่วงเวลาเดียวกัน สูตรคำนวณตัวชี้วัด (A / B) X 100

31 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 อัตราความสำเร็จการรักษาของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ผลงานปี 60 = % เป้าหมาย =< 85 % เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2560 เกณฑ์ให้คะแนน ปี 2561 < 80 % = 0 คะแนน < % = 1 คะแนน 80.00 – % 79.00 – 80.99 = 2 คะแนน 82.00 – % 81.00 – 82.99 = 3 คะแนน 83.00 – % 83.00 – 84.99 = 4 คะแนน 84.00 – % ขึ้นไป = 5 คะแนน >=85 %

32 ตัวชี้วัดที่ 9 อัตราการน้ำหนักทารกแรกเกิด < 2,500 กรัม
เกณฑ์เป้าหมาย น้อยกว่าร้อยละ 7 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย เด็กทารกแรกคลอดในช่วงเวลากำหนด 1 เมษายน 2560 – 31 มีนาคม 2561 แหล่งข้อมูล ฐานข้อมูล E-claim /OP/PP รายการข้อมูล 1 A= จำนวนทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม รายการข้อมูล 2 B= เด็กเกิดมีชีพ สูตรการคำนวณตัวชี้วัด ( A/B)X100

33 เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561
ตัวชี้วัด 9. อัตราการน้ำหนักทารกแรกเกิด < 2,500 กรัม เกณฑ์เป้าหมาย น้อยกว่าร้อยละ 7 ผลงาน ปี เกณฑ์คะแนน ปี 2560 ปี 2561 15.00 % ขึ้นไป = 0 คะแนน >= 8.00 % = 0 คะแนน 12.00 – = คะแนน 7.50 – 7.99 % = 1 คะแนน % = คะแนน 7.00 – 7.49 % = 2 คะแนน % = คะแนน % = 3 คะแนน - 5.99% = คะแนน 6.00 – 6.49% = 4 คะแนน <3 = 5 คะแนน < = 5 คะแนน

34 เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561
ตัวชี้วัด 10 ร้อยละของเด็กพัฒนาการล่าช้า เข้าถึงบริการการรักษา วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความครอบคลุมได้รับการรักษาของเด็กที่มี พัฒนาการล่าช้า เด็กไทย อายุครบ 9,18,30, 42 เดือน ทุกสิทธิ) รายการ ข้อมูล 1 A=จำนวนเด็กอายุครบ 9, 18, 30, 42 เดือนที่อยู่ในพื้นที่ ในแต่ละหน่วยลงทะเบียน B=จำนวนเด็กอายุครบ ฯ ได้รับการคัดกรอง (รหัส 1B260 +รหัส 1B261 + รหัส 1B262 ) C = จำนวนเด็กอายุครบ ครบ ฯ ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า รหัส 1B261 D = เด็กอายุทุกสิทธิที่มีอายุครบ ฯ ที่มีพัฒนาการล่าช้า รหัส 1B260 + การติดตามอย่างน้อย 1 ตัวหรือด้านใดด้านหนึ่ง (1B202, 1B212, 1B222, 1B232, 1B242) ไม่เกิน 30 วัน นับจากพบสงสัยล่าช้า (1B261) สูตรการ คำนวณ 1.อัตราคัดกรองเด็กพัฒนาการล่าช้า (B/A) X100 ( น้อยกว่า 80 % ไม่คิดคะแนน) 2.คัดกรองพบเด็กพัฒนาการล่าช้าไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (C/B) X100 3. เด็กพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการรักษา (D/C) X100

35 เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561
2.คัดกรองพบเด็กพัฒนาการล่าช้าไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 3. เด็กพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการรักษา < 14 % = 0 คะแนน < 75 % = 0 คะแนน 14.0 – % = 1 คะแนน 75.0 – 79.9 % = 1 คะแนน 17.0 – %= 2 คะแนน 80.0 – 84.9 %= 2 คะแนน 20 – % = 3 คะแนน 85.0 – 89.9 % = 3 คะแนน 23.0 – % = 4 คะแนน 90.0 – 94.9 % = 4 คะแนน 26 % ขึ้นไป = 5 คะแนน 95 % ขึ้นไป = 5 คะแนน เหมือน ปี 2560 ปรับ พัฒนาการล่าช้าเข้าถึงรักษา < 75 % = 0 คะแนน เดิม 0.5

36 จำหน่ายในโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ผลงาน 67.2 % เป้าหมาย 80 %
เกณฑ์การให้คะแนนงบคุณภาพปี 2561 . อัตราผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ได้รับบริการกายภาพบำบัดเพื่อฟื้นฟูสภาพก่อนและหลัง จำหน่ายในโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ผลงาน 67.2 % เป้าหมาย 80 % สูตรการคำนวณ: = จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (คน) ที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ x 100 จำนวนผู้ป่วยใน (คน) โรคหลอดเลือดสมอง สิทธิ UC ทั้งหมด แหล่งข้อมูล : 1. ฐานข้อมูลการเบิกจ่ายชดเชยค่าบริการ (IP e-claim) 2. ฐานข้อมูลผู้ป่วยนอกรายบุคคล (OP individual) 3. ฐานข้อมูลการเบิกอุปกรณ์คนพิการที่ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในกิจกรรมการบริการภายภาพบำบัดของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปี 2560 ปี 2561 < ร้อยละ 40 = 0 คะแนน ร้อยละ 40 – = คะแนน ร้อยละ 50 – = คะแนน ร้อยละ 60 – = คะแนน ร้อยละ 70 – = คะแนน > ร้อยละ 80 = 5 คะแนน < ร้อยละ 60 = 0 คะแนน ร้อยละ 60 – = 1 คะแนน ร้อยละ 65 – = 2 คะแนน ร้อยละ 70 – = 3 คะแนน ร้อยละ 75 – = 4 คะแนน ร้อยละ 80 = 5 คะแนน

37 (ร่าง) สัดส่วนน้ำหนักคะแนนงบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพปี 2561 เขต 2 พล.
เกณฑ์จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ  สัดส่วน ปี 60 สัดส่วน ปี 61 1. อัตราของประชากรที่ได้รับการคัดกรองเบาหวาน 8 2. อัตราของประชากรที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิต 3. ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ 4. ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก 4.1 โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจช่วงบน (upper respiratory tract infections, URI) และหลอดลมอักเสบ เฉียบพลัน (acute bronchitis) 5 4.2 โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Ac.Diarrhea) 5. ร้อยละการลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC 10 6. ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี ปี ภายใน 5 ปี

38 เกณฑ์จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ
(ร่าง)สัดส่วนน้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดระดับเขต งบจ่าย ตามเกณฑ์คุณภาพปี 2561 เกณฑ์จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ สัดส่วน ปี 60 สัดส่วน ปี 61 7. น้ำหนักทารกแรกเกิดต่ำกว่า 2,500 กรัม 8 8.1 คัดกรองพัฒนาการล่าช้า เด็กพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการ 10 5 9. สัดส่วนการใช้บริการผู้ป่วยนอกที่ รพสต./รพ 10. ร้อยละผู้ป่วยวัณโรครักษาสำเร็จ 11. อัตราผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพก่อนและหลังจำหน่าย 12 ระดับจังหวัด 7 ระดับเครือข่าย รวม 100

39 กรอบการบริหารค่าบริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและ ผลงานบริการปฐมภูมิ ปีงบประมาณ 2561
งบ OP 9 บาท/ผู้มีสิทธิ ( ล้านคน) งบบริการจ่ายตามคุณภาพผลงานบริการ 2 บาท/ผู้มีสิทธิ์ ( ล้านคน) งบ PP 9 บาท/ปชก.ไทย (65.7 ล้านคน) 3% 80% 10% . CUP พื้นที่พิเศษ ทุกCUP CUP คะแนน >=65% 5% 2% CUP คะแนน>=60% CUP คะแนน>=70% CUP

40 มติ อปสข. พิจารณา 1.กำหนดสัดส่วนน้ำหนักคะแนนแต่ละตัวชี้วัด 2. เกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวชี้วัด 3.วิธีการจัดสรรเกณฑ์คุณภาพ ฯ ปี 2561 มติ อปสข. …อนุมัติ………

41 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt (ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google