งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภิญญดา ทันวัน นักสังคมสงเคราะห์ ชำนาญการ โรงพยาบาลสวนปรุง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภิญญดา ทันวัน นักสังคมสงเคราะห์ ชำนาญการ โรงพยาบาลสวนปรุง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภิญญดา ทันวัน นักสังคมสงเคราะห์ ชำนาญการ โรงพยาบาลสวนปรุง
ผลกระทบ และการเยียวยาทางจิตใจ ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวและผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ภิญญดา ทันวัน นักสังคมสงเคราะห์ ชำนาญการ โรงพยาบาลสวนปรุง

2 ภิญญดา ทันวัน นักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก และ เยาวชนชายบ้านกาญจนาภิเษก กรมพินิจฯ กระทรวงยุติธรรม นักสังคมสงเคราะห์หน่วยประสานงานเพื่อต่อต้าน การค้ามนุษย์ ภาคเหนือตอนบน TRAFCORD 2550 – ปัจจุบัน นักสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลสวนปรุง

3 ทำความรู้จักกันเพิ่มขึ้น
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

4 โรงพยาบาลสวนปรุง

5 โรงพยาบาลสวนปรุง http://www.suanprung.go.th วิสัยทัศน์
เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้านการแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ของประเทศและพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในเขตสุขภาพที่ 1 และ 2 พันธกิจ - พัฒนาองค์กรให้เป็นเลิศด้านการแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ - พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับผู้ป่วยจิตเวชยุ่งยาก ซับซ้อน - สนับสนุนเสริมพลัง และกำกับติดตามระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชใน เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 1 และ 2 เพื่อให้สามารถให้บริการประชาชนได้อย่าง มีประสิทธิภาพ

6 ผู้ป่วยจิตเวชยุ่งยาก ซับซ้อน
ผู้กระทำ ผู้ถูกกระทำ คนไข้จิตเวชคลุ้มคลั่ง อาละวาด มีมีดเป็นอาวุธ ไล่ฟันเด็กเสียชีวิต 5 ราย และผู้บาดเจ็บเป็นหญิงตั้งครรภ์ 1 ราย คนไข้จิตเวชโหด ฆ่าพ่อบังเกิดเกล้าไม่นาน แม่ตายด้วยหัวจุ่มหม้อน้ำขนมจีน คนไข้จิตเวชคุ้มคลั่ง ฆ่าคนแก่ข้างบ้าน เหตุขอเงิน 50 บาท ไม่ได้ คนไข้จิตเวช ฆ่าหลาน 4 ขวบ คนไข้จิตเวชผู้หญิง 45 ปี หลังบำบัดรักษาสุราเมา ไม่อยากกลับบ้าน คนไข้เด็ก 9 ขวบ ชอบช่วยเหลือตัวเอง เข้าหาผู้ชายเพื่อขออมอวัยวะเพศผู้ชาย คนไข้จิตเวชผู้หญิง 36 ปี ขออยู่โรงพยาบาลตลอดชีวิต คนไข้ 13 ปี กินเลือดตนเอง และเลือดของเพื่อน พกอาวุธไปเรียน

7 ท่านคือใคร?

8 ฉายา Positive Negative

9 ค่าคะแนน

10 ซัมซุง ฮีโร่ ซัมซุง S8

11

12

13

14

15 ผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว ผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศ

16 ส่งโรงพยาบาลสวนปรุง เมื่อได???
เมื่อมีอาการทางจิต พูดไม่รู้เรื่อง “บ้า” เมื่อคลั่ง อาละวาท เมื่อฆ่าคน เมื่อถูกล่วงละเมิด เมื่อเป็นคดี

17 สัญญาณเตือนที่บ่งชี้ว่าบุคคลต้องได้รับการช่วยเหลือจากจิตแพทย์ หรือบุคลากรสุขภาพจิต ดังนี้
1. มีความสับสนรุนแรงรู้สึกราวกับว่าโลกนี้ไม่มีอยู่จริง เหมือนกำลังฝันไป ล่องลอย 2. รู้สึกถึงเหตุการณ์นั้นอยู่ซ้ำๆ บ่อยๆ หยุดไม่ได้ จำแต่ภาพโหดร้ายได้ติดตา ฝันร้าย ย้ำคิดแต่เรื่องเดิมๆ 3. ตื่นกลัวเกินเหตุฝันร้ายน่ากลัว ควบคุมตนเองให้มีสมาธิไม่ได้ กลัวว่าจะตาย 4. วิตกกังวลมากเกินไปจนทำอะไรไม่ได้ หวาดกลัวรุนแรง มีความคิดฝังใจ ประสาทมึนชา 5. ซึมเศร้าอย่างรุนแรงรู้สึกว่าตัวเองไร้ค่า ท้อแท้ ตำหนิตัวเอง หมดความสนใจในสิ่งที่ชอบ อยากตาย 6. มีอาการทางจิตหลงผิด ประสาทหลอน ฯลฯ 7. มีการเปลี่ยนแปลงทาง อารมณ์/จิตใจอย่างเฉียบพลัน 8. มีอาการทางจิตมากขึ้นเมื่อถูกกระทำซ้ำๆ มีอาการหวาดกลัว หวาดผวา แม้เหตุการณ์สิ้นสุดมาเป็นเวลานานแล้วแต่สภาพจิตใจยังได้รับผลกระทบอยู่

18 พฤติกรรมบ่งชี้ เพิ่มเติม
ปัญหาอารมณ์ พฤติกรรม เช่น อารมณ์เศร้า เครียด จะไม่ค่อยมีสมาธิในการเรียน เหม่อลอย คิดหมกมุ่นอยู่กับปัญหา แยกตัว ไม่เล่นกับใคร ร้องไห้ง่าย บางคนอาจมีอาการทางกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดท้อง ใจสั่น หายใจหอบถี่ มือเกร็งจีบ ความต้องการการตอบสนองเรื่องความรักและการยอมรับที่มากขึ้น ซึ่งอาจเชื่อมโยงไปหาเรื่องเพศ ทำให้บางคนมีความต้องการทางเพศที่สูงขึ้น เข้าหาเพศตรงข้าม มีลักษณะ เสพติดทางเพศ sex addict

19 ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเด็กที่ถูกทารุณกรรม (เปิดเข้าหน้าเว็บนะคะ)
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเด็กที่ถูกทารุณกรรม (เปิดเข้าหน้าเว็บนะคะ)

20 ระดับของความรุนแรง คนไข้ 13 ปี กินเลือดตนเอง
และเลือดของเพื่อน พกอาวุธไปเรียน คนไข้จิตเวชผู้หญิง 45 ปี หลังบำบัดรักษาสุราเมา ไม่อยากกลับบ้าน เด็กผู้ชาย 15 ปี จะกระโดดตึกที่ รร. คนไข้เด็ก 9 ขวบ ชอบช่วยเหลือตัวเอง เข้าหาผู้ชายเพื่อขออมอวัยวะเพศผู้ชาย

21 Patch Adams

22 การแบ่งระดับความ “รุนแรง” มาจาก
กฎหมาย/ระเบียบปฏิบัติ/วิชาชีพ บาดแผลทางกาย และทางจิตที่ได้รับการตรวจประเมิน วัตถุพยาน พฤติกรรมแห่งคดี + + ทัศนะคติ - - ฯลฯ

23 + + ทัศนะคติ - - ความคิด ความเชื่อ ประสบการณ์ในอดีต ระดับการศึกษา
การเลี้ยงดู เพศ อาชีพ อายุ ฯลฯ

24 ประเด็นฝากจากสวนปรุง
การมองปัญหาของท่าน และการตัดสินใจของท่านมีผลต่อกันและกัน การช่วยเหลือ การเพิกเฉย กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ต่อหน้าท่าน วางแผนไม่ได้ คิดไม่ออก ไม่รู้ทำอย่างไร จะทำดีหรือไม่ “ทีม” การเพิ่มทางเลือกให้กับกลุ่มเป้าหมาย

25 ภิญญดา ทันวัน กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลสวนปรุง
ภิญญดา ทันวัน กลุ่มงานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลสวนปรุง ต่อ ID line : kaii1923


ดาวน์โหลด ppt ภิญญดา ทันวัน นักสังคมสงเคราะห์ ชำนาญการ โรงพยาบาลสวนปรุง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google