งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
(Classroom Assessment) กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

2 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อวินิจฉัยผู้เรียน 2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เพื่อวินิจฉัยผู้เรียน

3 กิจกรรม

4 เกณฑ์การประเมิน

5 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ L (Learning) การจัดการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน/เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ :AL E (Evaluation) การประเมิน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง องค์ประกอบสำคัญของการจัดการเรียนรู้ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

6 มาตรฐานการเรียนรู้ คือ เกณฑ์คุณภาพสำคัญที่บ่งชี้ถึงระดับความรู้ความสามารถ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน

7 มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร
ตัวชี้วัด1 K P A มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด1 ตัวชี้วัด1 มาตรฐาน2 หลักสูตร ตัวชี้วัด1 มาตรฐาน3 มาตรฐาน4

8 องค์ประกอบของตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด เปรียบเทียบ และ เรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง สถานการณ์ หรือ บริบท คำสำคัญ (Key word)

9 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต - สังเกตและอธิบายลักษณะ หน้าที่และความสำคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพ - เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม

10 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต

11 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
สังเกตและอธิบายลักษณะ หน้าที่และความสำคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพ

12 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
- เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม

13 จุดประสงที่สำคัญของการเรียนการสอน เพื่อให้บุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางที่ต้องการ โดยแบ่งออกเป็น พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นหลังจากการมีประสบการณ์หรือการเรียนรู้ เป็นความสามารถของสติปัญญาในการคิดเกี่ยวสิ่งต่าง ๆ พฤติกรรมด้านจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมด้านความรู้สึกหรือจิตใจ แบ่งเป็นความสนใจ ความซาบซึ้ง เจตคติค่านิยม และการปรับตัว ในทางการเรียนการสอนต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้สึกทางด้านที่ดีเท่านั้น พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เป็นความสามารถทางการปฏิบัติอย่างมีประสิทธิภาพ

14 คำสำคัญระบุพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)

15 จำแนกคำถามตามขั้นการคิดของ Bloom’s
ความรู้/จำ ระบุ, จำ(ระลึก),อธิบาย,นิยาม,แจกแจง,แยกแยะ,จับคู่,ตั้งชื่อ,บอก ความเข้าใจ แปลความ,คาดการณ์,อธิบาย,ย่อความ,อธิบายความ,แปลความ,เปรียบเทียบ,จัดกลุ่ม, การให้ตัวอย่าง,ตั้งชื่อเรื่อง นำไปใช้ สาธิต, แก้ปัญหา,ใช้,ชี้แจง,เชื่อมโยง,ปรับแนวคิด,ทดลอง

16 จำแนกคำถามตามขั้นการคิดของ Bloom’s............(ต่อ)
วิเคราะห์ วิเคราะห์,อธิบาย,อนุมาน,แบ่งแยก,จัดลำดับความสำคัญ,เปรียบเทียบความเหมือน/ต่าง,ชี้แจงอย่างมีเหตุผล,ชี้แจงอย่างมีวิจารณญาณ,สรุป ประเมินค่า กำหนดค่า , ตัดสินค่า, ประเมินค่า สร้างสรรค์ ออกแบบ, สร้างสรรค์, แต่ง, ประพันธ์, สะท้อน, คาดการณ์, ตั้งสมมิฐาน, ย่อความ

17 คำสำคัญระบุพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)

18 คำสำคัญระบุพฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective Domain)

19 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน Process & Skill Knowledge Attribute

20 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน Process & Skill Knowledge Attribute

21 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต K

22 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
K K สังเกตและอธิบายลักษณะ หน้าที่และความสำคัญของอวัยวะภายนอกของมนุษย์ ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพ

23 จงวิเคราะห์คำสำคัญ/บริบทหรือสถานการณ์
K - เขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม

24 ใบความรู้ที่ 1.1

25 ผู้เข้าอบรมเลือกวิเคราะห์มาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คนละ 1 มฐ.
ใบงานที่ 1.1 เวลา 15 นาที 1.1 ผู้เข้าอบรมเลือกวิเคราะห์มาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คนละ 1 มฐ.

26 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ L (Learning) การจัดการเรียนรู้ อิงมาตรฐาน/เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ :AL E (Evaluation) การประเมิน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง องค์ประกอบสำคัญของการจัดการเรียนรู้ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

27 การวัดและประเมินระดับชั้นเรียน
ดูความก้าวหน้าของผู้เรียนรายบุคคลด้านความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะ เพื่อทราบปัญหา/อุปสรรค ในการเรียนรู้ นำผลไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน /ปรับปรุงพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน

28 การวัดและประเมินระดับสถานศึกษา
ตรวจสอบ ผลการประเมิน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ประเมินคุณภาพผู้เรียน เก็บข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียน สรุปและรายงานผล

29 การวัดและประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ยกระดับคุณภาพ ประกันคุณภาพ ภายใน รองรับการ ประเมิน คุณภายนอก ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่ ตรวจสอบทบทวนคุณภาพผู้เรียน สรุปและรายงานผล สอบอ่าน/Pre O-NET

30 การวัดและประเมินระดับชาติ
ผู้รับผิดชอบ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) O-NET : Ordinary National Educational Testing การทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน สอบความรู้รวบยอด ( ป.6 ม.3 และ ม.6) สพฐ. NT (ป.3)

31 การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน (Classroom Assessment)
เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เกิดขึ้นตลอดเวลาของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน นับตั้งแต่ ก่อน ระหว่าง และหลังการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย

32 โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างรายวิชาเป็นการกำหนดขอบข่ายของรายวิชาเพื่อให้เห็นภาพรวมของแต่ละรายวิชาว่าประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้จำนวนเท่าใด มีสาระสำคัญอย่างไรบ้าง แต่ละหน่วยจะพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตัวชี้วัดใด ใช้เวลาเท่าไร และมีสัดส่วนการเก็บคะแนนระหว่างเรียนของตัวชี้วัดนั้นอย่างไร

33

34

35 สัดส่วนคะแนน 70:30 คะแนน ระหว่างภาคเรียน ตัวชี้วัด ปลายภาคเรียน
สัดส่วนคะแนน 70:30 คะแนน ระหว่างภาคเรียน ตัวชี้วัด ปลายภาคเรียน สื่อสาร คะแนน ทดสอบ 30 คะแนน สภาพจริง คะแนน ปฏิบัติ คะแนน แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

36 การออกแบบการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
องค์ประกอบสำคัญของการออกแบบการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1.สิ่งที่ต้องการวัด 2.วิธีการวัด

37 ขั้นตอนการออกแบบการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้

38 ของมาตรฐานและตัวชี้วัด
การจัด การเรียนรู้ ในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ ลักษณะพฤติกรรม ของมาตรฐานและตัวชี้วัด - ความรู้ - ทักษะกระบวนการ - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้อง

39

40

41 เวลา 15 นาที

42 การกำหนดแนวทางในการวัดและประเมิน (การเลือกวิธีการวัดที่เหมาะสมกับ สิ่งที่ต้องการวัด)

43 วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความรู้หรือความสามารถ ทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบแบบปรนัย -การทดสอบแบบอัตนัย -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การตรวจสอบผลงาน -การตรวจการบ้าน -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ (Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute)

44 วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความรู้หรือความสามารถ ทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ (Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute)

45 วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน
ความรู้หรือความสามารถ ทางสมอง (Knowledge) ทักษะกระบวนการ (Process Skill) -การรายงานตนเอง -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -การสนทนากลุ่ม -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การตรวจสอบประวัติ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute)

46 วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน (แบบปรนัย)
ความรู้หรือความสามารถ ทางสมอง (Knowledge) องค์ความรู้ตามตัวชี้วัด ถาม ทักษะกระบวนการ (Process Skill) ขั้นตอน/วิธีการ/หลักการ/กระบวนการตามตัวชี้วัด ถาม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute) พฤติกรรมที่แสดงออก ตามตัวชี้วัด ถาม

47 การกำหนดแนวทางในการวัดและประเมินผล (การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับ สิ่งที่ต้องการวัด)

48 รูปแบบข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ - แบบเลือกตอบ - แบบเขียนตอบ

49 ข้อสอบเขียนตอบ ข้อสอบเลือกตอบ BLOOM (ปรับปรุงใหม่) การจำ การเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การประเมินค่า การ สร้างสรรค์

50 รูปแบบข้อสอบเลือกตอบ
1. แบบคำตอบเดียว (Multiple choice: MC) 2. แบบหลายคำตอบ (Multiple-selection /Multiple Response: MS) 3. แบบเชิงซ้อน (complex multiple choice: CM) 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์(Responses related: RR) เลือกตอบ

51 1. แบบคำตอบเดียว (multiple choice)
อึ่งอ่างตัวหนึ่งอาศัยอยู่ริมบึง มันนึกว่าตัวเองเก่งกว่าใคร ๆ วันหนึ่งอึ่งอ่างขึ้นมานอนผึ่งแดดอยู่ริมบึง มันได้ยินเสียงผึ้งบินมา อึ่งอ่างอยากสู้กับผึ้งจึงดึง ใบบัวมาบังตัว พอผึ้งมากินน้ำที่ริมบึง มันก็แลบลิ้นจะทำร้ายผึ้ง ผึ้งรู้ว่าถูกอึ่งอ่างเล่นงาน จึงใช้เหล็กในต่อย อึ่งอ่างรู้สึกปวดลิ้นมาก มันสำนึกผิดที่คิดทำร้ายผึ้ง ผึ้งจึงช่วยดึงเหล็กในออกให้ อึ่งอ่างซาบซึ้งและไม่อวดเก่งอีกเลย 9. ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน สามารถนำไปใช้ในเรื่องใด 1) ถ้ามีภัยมาถึงตัวต้องยอมรับ 2) ถ้าจะสู้กับใครต้องมีความมั่นใจ 3) ถ้าถูกทำร้ายต้องป้องกันตัวเอง 4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข ตัวอย่างข้อสอบ NT ด้านภาษา (Literacy) คำตอบ ตัวเลือก 4

52 2. แบบเลือกหลายคำตอบ (Multiple-selection)
เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีข้อคำถามเอื้อให้คิดคำตอบได้หลากหลายคำตอบ มีคำตอบถูกมากกว่า 1 คำตอบ

53 2. แบบเลือกหลายคำตอบ (Multiple-selection)
ข้อสอบข้อที่ ๓๖. ข้อใดบ้างที่เป็นกีฬาบุคคลประเภทคู่ ๑. เปตองประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๒. แบดมินตันประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๓. เซปักตะกร้อประเภทชายคู่และหญิงคู่ ๔. วอลเลย์บอลชายหาดประเภทชายคู่และหญิงคู่ การให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิด ได้ -1 คะแนน

54 3. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (complex multiple choice)
เป็นลักษณะข้อสอบที่มีข้อคำถามย่อยรวมอยู่ในข้อเดียวกัน โดยข้อคำถามแต่ละข้อจะถามข้อคิดเห็นหรือข้อเท็จจริงหรือข้อสรุปจากเรื่องที่อ่าน  

55 3. แบบเลือกตอบเชิงซ้อน (complex multiple choice)
ครูสมศักดิ์วัดส่วนสูงนักเรียนชายหญิง ได้ค่าเฉลี่ยส่วนสูงของนักเรียนหญิงเท่า 155 ซม. ค่าเฉลี่ยส่วนสูงนักเรียนชาย 165 ซม. ต่อมามีนักเรียนมาเข้าใหม่ 2 คน แล้วนำมาวัดส่วนสูงแล้ว พบว่า คะแนนเฉลี่ยส่วนสูงนักเรียนหญิงและชายไม่เปลี่ยนแปลง ข้อสรุป ความเป็นไปได้ นักเรียนที่เข้ามาใหม่เป็นผู้ชายทั้งสองคน ได้ /ไม่ได้ นักเรียนชายที่เข้าใหม่ 2 คน มีส่วนสูง 160 และ 170 ซม. นักเรียนหญิงที่เข้าใหม่ 2 คน มีส่วนสูง 155 ซม. ทั้งสองคน นักเรียนที่เข้ามาใหม่เป็นผู้ชาย1คนสูง 165 ซม. และหญิง 1คน สูง 160 ซม.

56 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (Responses related)
เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบมากกว่า 1 ข้อ ที่มีเงื่อนไขให้คิดที่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน โดยคำตอบในข้อที่แรก จะต้องเป็นข้อมูลที่ใช้ในการตอบข้อคำถามต่อไป

57 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (Responses related :RR)
4.1 คำถามสัมพันธ์ 4.2 คำตอบสัมพันธ์

58 4.1 แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (โจทย์สัมพันธ์)
ข้อสอบข้อที่ 17. Situation: Ben tells Rose that he is going to a stationery shop. Rose: I need some writing paper. _A_ Ben: _B_ Rose: That’s all. Thanks. A. 1. Have you got some? 2. Do you buy some writing paper? 3. Can you buy me some, please? 4. Have you bought some writing paper? B. 1. All right. Anything else? 2. I think I can. Any more? 3. Sure, I should buy it. 4. Of course, I must buy some more. การให้คะแนน ตอบถูกทั้ง 2 ข้อ ถึงจะได้คะแนน ตอบถูกข้อใดข้อหนึ่งไม่ได้คะแนน

59 4.2 แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์ (คำตอบสัมพันธ์)
ข้อสอบข้อที่ ๕๐. ให้เลือกเทคนิคการโฆษณาให้สัมพันธ์กับตัวอย่างการโฆษณา (จับคู่ 5 คู่) เทคนิคการโฆษณา ตัวอย่างการโฆษณา 1. คนเด่นคนดัง เป็นคนแนะนำ 2. เปรียบเทียบแบบกำกวม 3. ใช้ตัวเลขสถิติสร้างความน่าเชื่อถือ 4. รับประกัน 5. ใช้หลักวิทยาศาสตร์มากล่าวอ้าง A ผงซักฟอก “ขาวบริสุทธิ์” ซักคราบไขมันและสิ่งสกปรกได้ดีกว่า B แบตเตอรี่ยี่ห้อ “ทนทาน” รับประกันตลอดอายุการใช้งาน หากไม่พอใจคุณภาพยินดีคืนเงิน C ทันตแพทย์ 4 ใน 5 คน แนะนำยาสีฟัน “ขาวสะอาด” D ภราดร ศรีชาพันธ์ ใช้แต่ผลิตภัณฑ์ของ Ecco E จากผลการวิจัยทางการแพทย์มากกว่า 15 ปี เพียงรับประทานผลิตภัณฑ์มะรุมก่อนอาหารครึ่งชั่วโมงอาหารที่คุณรับประทานเข้าไป จะไม่ทำให้น้ำหนักตัวคุณเพิ่มขึ้น การให้คะแนน ตอบถูก 2 คู่ ได้ 1 คะแนน ตอบถูก 3 คู่ ได้ 2 คะแนน ตอบถูก 4 คู่ขึ้นไป ได้ 3 คะแนน กลุ่มสาระการงานอาชีพฯ ม.3 ปี 2553

60 รูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบ (อัตนัย)
1. แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (restricted-response question) 4. แบบกลุ่มคำตอบสัมพันธ์( 2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (extended-response question) เขียนตอบ

61 (restricted-response question)
1.แบบจำกัดคำตอบ (restricted-response question) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้คิดและเขียนคำตอบภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด และมีขอบข่ายของคำตอบ ที่ชัดเจน (ออกยาก แต่ตรวจง่าย)

62 ตัวอย่างข้อสอบแบบจำกัดคำตอบ (restricted-response question)
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร …………………………………………………………………………………………… 2. การคิดวิเคราะห์ :วิเคราะห์หลักการ

63 2. แบบขยายคำตอบหรือไม่จำกัดคำตอบ (extended-response question)
เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้อิสระในการคิด โดยเปิดโอกาสให้คิดภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ต้องมีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจนพร้อมแนวคำตอบ (ออกง่าย แต่ตรวจยาก)

64 เกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย
ตัวอย่างข้อสอบแบบขยายคำตอบหรือไม่จำกัดคำตอบ (extended-response question) 1. จงออกแบบระบบการบำบัดน้ำเสียในสถานศึกษาของเราที่มีลักษณะเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นในการตรวจ เกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เหมาะสมกับบริบทสถานศึกษา มีความเป็นไปได้

65 เกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ แบบ Analytic Scoring Rubrics
ดี (3 คะแนน) พอใช้(2คะแนน) ปรับปรุง(1 คะแนน) ๑. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๑. มีความคิดในการวาดภาพตามความคิดเห็นของกลุ่ม ๒. ไม่ลอกความคิดในการวาดภาพของคนอื่น ๓. ระบายสีอย่างสวยงามสอดคล้องกับเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ปฏิบัติได้ ๒  ใน ๓ ข้อ ปฏิบัติได้ ๑ ๒. ความสมบูรณ์ของชิ้นงาน ๓. การนำเสนอผลงาน

66 เกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ แบบ Holistic Scoring Rubrics
ดี (3 คะแนน) พอใช้(2คะแนน) ปรับปรุง(1 คะแนน) การวาดรูปเซล์พืชและเซลล์สัตว์ ผลงานของนักเรียนแตกต่างจากคนอื่นอย่างชัดเจน ชิ้นงานมีความสมบูรณ์ถูกต้องตามตามคำสั่ง และมีการนำเสนอผลงานเหมาะสม ผลงานของนักเรียนแตกต่างจากคนอื่นอย่างชัดเจน ชิ้นงานมีความสมบูรณ์ถูกต้องตามตามคำสั่ง ผลงานของนักเรียนไม่แตกต่างจากคนอื่นอย่างชัดเจน

67 ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics)
. กำหนดระดับหรือคุณภาพที่ต้องการให้คะแนน เช่น 2 ระดับ คะแนนเต็ม กับไม่ได้คะแนน 3 ระดับ คือ คะแนนเต็ม (2 คะแนน) ได้คะแนนบางส่วน (1 คะแนน) ไม่ได้คะแนน (0 คะแนน) 2. พิจารณาข้อคำถามสถานการณ์ แล้วกำหนดประเด็นสำคัญตามจุดประสงค์ของการวัดเพื่อนำไปเป็นประเด็นในแต่ละระดับให้ครบถ้วนและคลอบคลุม พยายามเรียงตามลำดับความสำคัญของประเด็นที่ต้องการวัด

68 ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics)
3. วิธีการเขียนคำอธิบายในแต่ละระดับสามารถเขียนได้ 3 รูปแบบ คือ แบบที่ 1 กำหนดคำอธิบายแบบลดลง หมายถึง การ เขียนเกณฑ์การให้คะแนนโดยเริ่มเขียนเกณฑ์ที่ ระดับคุณภาพสูงสุดหรือได้คะแนนเต็มก่อนแล้วลด คะแนนตามคุณภาพที่ลดลง แบบที่ 2 กำหนดคำอธิบายแบบบวกหรือเพิ่มขึ้น หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับคุณภาพต่ำสุดหรือ ไม่ได้คะแนนก่อนแล้วเพิ่มระดับคุณภาพตามระดับ คะแนนที่เพิ่มขึ้นไปตามลำดับ แบบที่ 3 กำหนดคำอธิบายแบบเพิ่มขึ้นและลดลง หมายถึง การเริ่มต้นที่ระดับคุณภาพกลาง(พึง พอใจ/ผ่านเกณฑ์) แล้วเพิ่มระดับคุณภาพตาม คะแนนที่เพิ่มขึ้น(ดี/ดีมาก) และลดระดับคุณภาพ ตามคะแนนที่ลดลง(ปรับปรุง)ไปตามลำดับ

69 ขั้นตอนการสร้างเกณฑ์การให้คะแนนแบบระดับคุณภาพ (Scoring Rubrics)
4. ตรวจสอบโดยคณะผู้มีส่วนร่วมหรือ ผู้เชี่ยวชาญทางการวัดผล 5. ทดลองใช้เกณฑ์ในการตรวจผลงานที่มีมาตรฐาน/คุณลักษณะ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 6. หาความสอดคล้องในการตรวจข้อสอบอัตนัยของกรรมการ ท่าน ในลักษณะของ inter rater reliability 7. ปรับปรุงเกณฑ์ที่ไม่ได้มาตรฐาน

70 ตัวอย่างการกำหนดสัดส่วน ผลการประเมินระหว่างเรียนกับปลายปี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สัดส่วนคะแนน 70:30 คะแนน ระหว่างภาคเรียน ตัวชี้วัด ปลายภาคเรียน สื่อสาร คะแนน ทดสอบ 30 คะแนน สภาพจริง คะแนน ปฏิบัติ คะแนน แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน

71 ว 13101 วิทยาศาสตร์ 3 รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โครงสร้างรายวิชา ว วิทยาศาสตร์ รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ เวลา 80 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก (คะแนน) 1. ครอบครัวเดียวกัน ว 1.2 ป.3/1-4 8 11 2. ธรรมชาติรื่นรมย์ ว 2.1 ป.3/1 ว 2.2 ป.3/1-3 10 13 3. วัสดุมหัศจรรย์ ว 3.1 ป.3/1-2 ว 3.2 ป.3/1-2 14 18 4. แรงแสนสนุก ว 4.1 ป.3/1-2 5. ไฟฟ้าน่ารู้ ว 5.1 ป.3/1-2 15 20 6. น้ำและอากาศ ว 6.1 ป.3/1-3 7. ดวงอาทิตย์เล่นกล ว 7.1 ป.3/1 5 7 รวม 76 100 ค่าน้ำหนัก = เวลา คูณด้วย 100 หารด้วย จำนวนชั่วโมงทั้งหมด

72 ตัวอย่าง แบบสรุปผลการประเมินการผ่านตัวชี้วัด
ชื่อ เด็กชายดี นามสกุล ใฝ่เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/2 หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จำนวน ตัวชี้วัด จำนวนตัวชี้วัด ที่ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน 1. ครอบครัวเดียวกัน ว 1.2 ป.3/1-4 4 - 2. ธรรมชาติรื่นรมย์ ว 2.1 ป.3/1 ว 2.2 ป.3/1-3 3. วัสดุมหัศจรรย์ ว 3.1 ป.3/1-2 ว 3.2 ป.3/1-2 4. แรงแสนสนุก ว 4.1 ป.3/1-2 2 5. ไฟฟ้าน่ารู้ ว 5.1 ป.3/1-2 6. น้ำและอากาศ ว 6.1 ป.3/1-3 3 7. ดวงอาทิตย์เล่นกล ว 7.1 ป.3/1 1 ว 8.1 ป.3/1-8 8 รวม 28 หมายเหตุ 1. มาตรฐาน ว 8.1 ตัวชี้วัดทั้ง 8 ตัว สามารถทำการวัดและประเมินผลร่วมกับตัวชี้วัดในหน่วยการเรียนรู้ที่ 1-7 ได้ทุกหน่วยการเรียนรู้ 2. ตัวชี้วัดใดที่ไม่ผ่านครูสามารถทำการซ่อมเสริมให้นักเรียนผ่านตัวชี้วัดได้ โดยนักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมที่จะปฏิบัติ เพื่อทำให้ผ่านตัวชี้วัดนั้น

73 ตัวอย่าง

74

75 ตัวอย่างการกำหนดสัดส่วน ผลการประเมินระหว่างเรียนกับปลายปี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วย การเรียนรู้ ที่ ตัวชี้วัดชั้นปี คะแนนระหว่างเรียน รวม (70%) การสื่อสาร ส่วนบุคคล (10%) การประเมินตามสภาพจริง (20%) การประเมินภาคปฏิบัติ(30%) แฟ้ม สะสมงาน 6 สำรวจและอธิบายสมบัติทางกายภาพของน้ำจากแหล่งน้ำในท้องถิ่นและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 9 15 20 53

76 ข้อสอบปลายปี/ภาค

77


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google