งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 5 ความยากจนและการกระจายรายได้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 5 ความยากจนและการกระจายรายได้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 5 ความยากจนและการกระจายรายได้
ความหมายและการวัดการกระจายรายได้ การกระจายรายได้ของประเทศไทยและของบางประเทศ ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

2 ความหมายและการวัดการกระจายรายได้
การกระจายรายได้ (Income distribution) เป็นการความเท่าเทียมกันในรายได้ของคนในสังคม ถ้าทุกคนในสังคมมีรายได้เท่ากันหมด เรียกว่ามีการกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกันแบบสมบรูณ์ (perfect equality) ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีคนเพียงคนเดียวที่มีรายได้ คนอื่นๆ ในสังคมไม่มีรายได้เลย เรียกว่ามีการกระจายรายได้อย่างไม่เท่าเทียมกันแบบสมบรูณ์ (perfect inequality) ความเท่าเทียมกันหรือไม่เท่าเทียมกันของรายได้วัดได้อย่างไร?

3 วิธีการคำนวณการกระจายรายได้ % รายได้รวมทั้งหมดสะสม
กลุ่ม รายได้รวม % รายได้รวมทั้งหมด % รายได้รวมทั้งหมดสะสม จนสุด 20% 10,000 10,000/274,000 = 3.6% 3.6 % ที่สอง 20% 24,000 8.8 % 12.4 % ที่สาม 20% 50,000 18.2 % 30.6 % ที่สี่ 20% 80,000 29.2 % 59.8 % รวยสุด 20% 110,000 40.2 % 100 % รวมทั้งหมด 274,000 -

4 Lorenz curve Line of perfect equality Lorenz curve Line of perfect inequality Note that providing that incomes (or whatever else is being measured) cannot be negative, it is impossible for the Lorenz curve to rise above the line of perfect equality, or sink below the line of perfect inequality. The curve must be increasing and convex to the y axis. Note: รายได้ติดลบไม่ได้ เพราะ Lorenz curve อยู่ต่ำกว่าเส้น perfect inequality ไม่ได้

5 Lorenz curve and Gini Index
Gini coefficient = Area A Area (A+B) A B

6 Gini coefficient and Gini index
ค่าสัมประสิทธิ์ Gini วัดความไม่เท่าเทียมกัน พัฒนาขึ้นโดยนักสถิติ ชาวอิตาเลียนที่ชื่อ Corrado Gini ค่าสัมประสิทธิ์ Gini มีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 ( 0 < Gini coefficient <1 ) Gini coefficient = 0 หมายความว่า มีการกระจายรายได้อย่างเท่าเทียมกัน (perfect equality) นั่นคือ ทุกคนมีรายได้เท่ากันหมด Gini coefficient = 1 หมายความว่า มีการกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกันอย่างสมบรูณ์ที่สุด (perfect inequality) นั่นคือ มีเพียงคนเดียวที่มีรายได้ นั่นคือ ค่า Gini ยิ่งมาก ความไม่เท่าเทียมกันยิ่งเพิ่มสูงขึ้น Gini Index คือ Gini coefficient คูณด้วย 100 เป็นการแสดงในรูปร้อยละ

7 การคำนวณ Gini coefficient โดยใช้สูตร
สูตรในการคำนวณ Gini ที่มีแบ่งกลุ่มเป็น n กลุ่ม รายได้ถูกเรียงจากน้อยไปหามาก หรือจนสุดไปรวยสุด โดยที่ Xi คือ 1/n หรือเปอร์เซ็นต์สะสมของประชากร (cumulative percentage of population) Yi คือ เปอร์เซ็นต์สะสมของรายได้ (cumulative percentage of income)

8 ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ในประเทศไทย
ปี Gini index Quintile1 Quintile 2 Quintile 3 Quintile 4 Quintile 5 2531 48.5 4.6 8.1 12.5 20.7 54.2 2533 52.4 4.2 7.3 11.5 19.2 57.8 2535 53.6 3.9 7.0 11.1 19.0 59.0 2537 53.7 4.0 7.2 11.6 19.9 56.7 2539 51.5 7.5 11.8 2541 51.1 7.6 11.9 19.8 56.5 ที่มา : ข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน  : ประมวลผลโดยกองประเมินผลการพัฒนา สศช.

9 ค่าสัมประสิทธิ์ Gini ของประเทศไทย ปี 1986-2002

10 ค่าสัมประสิทธิ์ Gini ของบางประเทศ
Gini coefficient India 0.249 Germany 0.283 Japan 0.325 France 0.327 Australia 0.352 United Kingdom 0.360 USA 0.408 China 0.447 Mexico 0.546 It is an interesting fact that while the most developed European nations tend to have values between 0.24 and 0.36, the United States has been above 0.4 for several decades. This is an approach to quantify the perceived differences in welfare and compensation policies and philosophies. from the United Nations Human Development Report 2004

11 ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
Kuznets (1955) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับการกระจายรายได้

12 ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ทดสอบข้อสมมุติฐานในปี 1950 กับ 3 ประเทศ คือ อังกฤษ เยอรมันนี อเมริกา พบว่าการกระจายรายได้เลวลงในระยะเริ่มต้นของการพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานจากสาขาที่มีประสิทธิภาพต่ำและมีความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายสูงไปสู่สาขาที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าและมีความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายต่ำกว่า ความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายระหว่างสาขาเศรษฐกิจ จะมีมากกว่าภายในสาขาเอง เช่น ระหว่างเกษตรกับอุตสาหกรรม

13 ความสัมพันธ์ของความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน กับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
Deininger and Squire (1998) สร้างงานวิจัยที่ใช้ฐานข้อมูลจาก 108 ประเทศ ซึ่งพบว่า มีถึงร้อยละ 90 ที่ไม่สนับสนุนข้อสมมุติฐานของ Kuznets ผลปรากฏว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจกับการเปลี่ยนแปลงของความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอาจจะก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของการกระจายรายได้เพิ่มขึ้นหรือลดลงก็เป็นไปได้

14 เปรียบเทียบอัตราการขยายตัวของ GNP และรายได้ของกลุ่มยากจนสุด 40%

15 ตัวอย่าง กรณีรายได้ติดลบ % รายได้รวมทั้งหมดสะสม
กลุ่ม รายได้รวม % รายได้รวมทั้งหมด % รายได้รวมทั้งหมดสะสม จนสุด 20% -10,000 -10,000/254,000 = -3.9% -3.9 % ที่สอง 20% 24,000 9.4 % 5.5 % ที่สาม 20% 50,000 19.7 % 25.2 % ที่สี่ 20% 80,000 31.5 % 56.7 % รวยสุด 20% 110,000 43.3 % 100 % รวมทั้งหมด 254,000 -


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 5 ความยากจนและการกระจายรายได้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google