งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เกรียงไกร ยอดเรือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เกรียงไกร ยอดเรือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เกรียงไกร ยอดเรือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่
มาตรฐาน การบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด “สมัครใจ” “บังคับบำบัด” “ต้องโทษ” ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมกรีนเลค รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ เกรียงไกร ยอดเรือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

2 ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี 2558 - 2562
การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยว ข้องกับยาเสพติด หน่วยงานหลัก : ศธ. / มท. / แรงงาน หน่วยงานสนับสนุน : สธ. / ป.ป.ส. / พม. /กห. การแก้ไขปัญหา ผู้เสพผู้ติดยาเสพติด หน่วยงานหลัก : สธ. / ยธ. / มท. หน่วยงานสนับสนุน : ป.ป.ส. / กห. / ตร. / พศ. / เอกชน ภาคประชาสังคม การสร้างและพัฒนา ระบบรองรับการคืน คนดีให้สังคม หน่วยงานหลัก : สธ. / มท. หน่วยงานสนับสนุน : ป.ป.ส./ ศธ./ พม./แรงงาน /เอกชน ภาคประชาสังคม การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด หน่วยงานหลัก : ตร. / ยธ. / กห. /มท./สธ./กอ.รมน./ก.คลัง/ICT หน่วยงานสนับสนุน : อัยการสูงสุด/ ตท. ความร่วมมือระหว่างประเทศ หน่วยงานหลัก : ตท./ป.ป.ส./กห./มท./สธ. หน่วยงานสนับสนุน : ยธ./ ศธ./ พม./แรงงาน /ก.คลัง/ตร./สำนักนายกฯ สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันปัญหา ยาเสพติด หน่วยงานหลัก : มท. หน่วยงานสนับสนุน : ป.ป.ส./ พม./ ตร./วธ./ICT /ท่องเที่ยว/พศ./ประชาสังคม การมีส่วนร่วม ภาคประชาชน หน่วยงานหลัก : มท./ป.ป.ส. หน่วยงานสนับสนุน : ศธ./ พม./แรงงาน/วธ./ ก.ท่องเที่ยว/สำนักนายกฯ/ สื่อ/ภาคประชาสังคม การบริหารจัดการ อย่างบูรณาการ หน่วยงานหลัก : ป.ป.ส./มท./ กห./สธ./กอ.รมน. หน่วยงานสนับสนุน : ยธ./ศธ./ พม./แรงงาน/คลัง/ สำนักนายกฯ/ตร.

3 เป้าหมาย ลดจำนวนผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดในพื้นที่
โดยนำเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่มีมาตรฐาน และมีความเหมาะสมกับสภาพผู้เสพ ผู้ติด

4 ปี 2560 มีเป้าหมายบำบัดยาเสพติด 6,103 ราย
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ 3,772 ราย 1,611 ราย 720 ราย สถานพยาบาล 2,972 ค่ายปรับเปลี่ยนฯ 800 ควบคุมตัว 952 ไม่ควบคุมตัว 659 กรมราชทัณฑ์ 600 กรมพินิจ 120

5 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดฯ แยกตามระบบ
1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560 แผนงาน ร้อยละ 1. สมัครใจ 119.70 - สถานบำบัด 111.31 - ค่ายศูนย์ขวัญฯ 150.88 2. บังคับบำบัด 122.10 - ไม่ควบคุมตัว 160.25 - ควบคุมตัว 95.70 3. ต้องโทษ 128.47 - กรมราชทัณฑ์ 121.50 - กรมพินิจฯ 163.33 รวม 121.37

6 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด แยกตามผลการจำแนกผู้ป่วย
(1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560) จำนวน(ราย) ไม่ระบุผลการจำแนกผู้ป่วย 124 ราย ผู้บำบัดในระบบต้องโทษ และ บังคับบำบัด ส่วนใหญ่บำบัดยาบ้า โดยระบบต้องโทษมีผู้บำบัดยาบ้าร้อยละ บังคับบำบัดมีผู้บำบัดยาบ้าร้อยละ 87.14 แต่ผู้บำบัดในระบบสมัครใจ มีผู้บำบัดยาบ้าเพียงร้อยละ ส่วนใหญ่มาบำบัดฝิ่น เฮโรอีน

7 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด จำแนกตามประเภทสารเสพติด
(1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560) จำนวน(ราย) ไม่ระบุสารเสพติด ที่ใช้ 146 ราย ผู้บำบัดในระบบต้องโทษ และ บังคับบำบัด ส่วนใหญ่บำบัดยาบ้า โดยระบบต้องโทษมีผู้บำบัดยาบ้าร้อยละ บังคับบำบัดมีผู้บำบัดยาบ้าร้อยละ 87.14 แต่ผู้บำบัดในระบบสมัครใจ มีผู้บำบัดยาบ้าเพียงร้อยละ ส่วนใหญ่มาบำบัดฝิ่น เฮโรอีน

8 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด จำแนกตามประวัติกลุ่มอายุ
(1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560) จำนวน(ราย) อายุน้อยสุด 13 ปี อายุมากสุด 89 ปี ชาย % หญิง 14.5 % ต้องโทษ และบังคับบำบัด ส่วนใหญ่ เป็นกลุ่ม วัยรุ่น ถึงวัยกลางคน อายุ ปี สมัครใจ พบในทุกกลุ่มอายุ ไม่แตกต่างกัน

9 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด จำแนกตามภูมิลำเนา
(1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560) อำเภอ สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม แม่อาย 617 32 38 687 เมืองเชียงใหม่ 267 251 59 577 เชียงดาว 361 150 65 576 ฝาง 433 54 39 526 แม่แตง 212 145 50 407 สันทราย 94 197 37 328 จอมทอง 213 25 34 272 แม่ริม 147 63 43 253 ไชยปราการ 185 42 20 247

10 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด จำแนกตามภูมิลำเนา
(1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560) อำเภอ สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม สันป่าตอง 99 108 19 226 สันกำแพง 53 135 36 224 ดอยสะเก็ด 76 107 25 208 หางดง 75 105 20 200 สารภี 89 23 188 แม่แจ่ม 134 30 3 167 พร้าว 102 31 27 160 อมก๋อย 77 54 9 140 เวียงแหง 82 26 10 118

11 จำนวนผู้เข้ารับการบำบัด จำแนกตามภูมิลำเนา
(1 ตุลาคม 2559 – 30 กันยายน 2560) อำเภอ สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ รวม สะเมิง 76 11 3 90 ฮอด 48 24 15 87 ดอยเต่า 16 19 13 แม่วาง 23 5 47 ดอยหล่อ 6 44 แม่ออน 12 17 8 37 กัลยาณิวัฒนา 2 1 นอกจังหวัดเชียงใหม่ 1,001 216 317 1,534

12 ตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดทั้งหมด 10,988 คน พบสารเสพติดใน ปัสสาวะ 579 คน
ผลการตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดในผู้เข้ารับการตรวจเลือกทหารกองเกินเข้ารับราชการทหารกองประจำการ ปี 2560 ตรวจปัสสาวะหาสารเสพติดทั้งหมด 10,988 คน พบสารเสพติดใน ปัสสาวะ คน ร้อยละ

13 ผลการตรวจปัสสาวะ มากกว่าร้อยละ 10 ร้อยละ 5 - 10 ร้อยละ 2.5 - 5
ฝาง มากกว่าร้อยละ 10 เวียงแหง เชียงดาว พร้าว ร้อยละ แม่แตง สันทราย สะเมิง ร้อยละ แม่แจ่ม แม่วาง น้อยกว่าร้อยละ 2.5 จอมทอง ฮอด ดอยเต่า อมก๋อย

14 ระบบสมัครใจ 94.05 % ระบบบังคับบำบัด 98.63 % ระบบต้องโทษ 100 %
ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา (1 ตุลาคม กันยายน 2560) ระบบสมัครใจ % ระบบบังคับบำบัด % ระบบต้องโทษ % อัตราผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา ของจังหวัดเชียงใหม่ เท่ากับร้อยละ (2254/2365) โดยในระบบต้องโทษ หยุดเสพทุกราย (307/307) ระบบบังคับบำบัดหยุดเสพร้อยละ (288/292) ระบบสมัครใจ พบอัตราการหยุดเสพร้อยละ (1659/1764) รวม 3 ระบบ %

15 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่คงอยู่ในระบบการบำบัดรักษา
(1 ตุลาคม กันยายน 2560) ระบบสมัครใจ % ระบบบังคับบำบัด % ระบบต้องโทษ % อัตราผู้ป่วยยาเสพติดที่คงอยู่ในระบบการบำบัดรักษา (Retention rate) ของจังหวัดเชียงใหม่ เท่ากับร้อยละ (6283/7407) โดยในระบบต้องโทษ อยู่ในระบบทุกราย (925/925) ระบบบังคับบำบัดคงอยู่ในระบบร้อยละ (1703/1967) ระบบสมัครใจ พบอัตราคงอยู่ในระบบการบำบัดรักษาร้อยละ (3655/4515) รวม 3 ระบบ %

16 ทุกระบบ 210,700 คน เป้าหมายการบำบัดยาเสพติด ประเทศไทย 2561
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย ทุกระบบ 210,700 คน ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ 130,000 คน 60,500 คน 20,200 คน สถานพยาบาล ค่ายศูนย์ขวัญฯ กรมราชทัณฑ์ กรมพินิจฯ 77,500 คน 52,500 คน 17,700 คน 2,500 คน ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว 35,500 คน 25,000 คน

17 เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 10,176 ราย
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย สมัครใจ บังคับบำบัด ค่ายฯ สมัครใจ 108 ต้องโทษ 6,513 ราย 2,093 ราย 900 ราย 670 ราย 931  2210  4443 เป้าหมายปี 2560 = 6103 (เพิ่มขึ้น 4073 คน) สป ,443 ธัญญารักษ์ 1,850 สวนปรุง ควบคุมตัว 1,162 ไม่ควบคุมตัว 931 กรมราชทัณฑ์ 550 กรมพินิจฯ

18 กระบวนการการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติด
ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ศูนย์ประสานเพื่อการดูแลฯ ค้นหา คัดกรอง บำบัด ติดตาม ช่วยเหลือ ปรับทัศนคติ

19 คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ
แนวทางการค้นหา คัดกรอง บำบัดรักษา ติดตามช่วยเหลือ ผู้ป่วยยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ สธ. มท. ศธ. รง. และภาคีเครือข่าย มาตรการสื่อสารเชิงบวก, โครงการ TO BE NUMBER ONE, ครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ มท. ตำรวจ ปปส. กห. และภาคีเครือข่าย ประชาคม จัดระเบียบสังคม ตั้งจุดตรวจ ปิดล้อม/ตรวจค้น การ ค้นหา ศูนย์คัดกรอง ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ การ คัดกรอง รพ.สต. (267 แห่ง) คัดกรองด้วย V2 V2 > 3 โรงพยาบาล (26 แห่ง) คัดกรองด้วย V2, ตรวจยืนยัน คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว ผู้ใช้ V2=2-3 ผู้เสพ V2=4-26 ผู้ติด V2 >=27 ไม่เข้มงวด เข้มงวด การ บำบัด รพ.สต./โรงพยาบาล Brief Advice/ Brief Intervention ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 9 วัน+ฝึกอาชีพ 30 ชม. - กองร้อย อส.จ.ชม.ที่ 1 โรงพยาบาล บำบัดแบบผู้ป่วยนอก ศูนย์ฟื้นฟูฯ กองบิน 41 กรมราชทัณฑ์ - เรือนจำกลาง ชม. - ทัณฑสถานหญิง ชม. กรมพินิจฯ - ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กฯ - สถานพินิจและคุ้มครอง โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เรื้อรัง รุนแรง ศูนย์วิวัฒน์พลเมือง กองพันสัตว์ต่าง โรงพยาบาลสวนปรุง มีอาการจิตเวชรุนแรง ระบบสมัครใจ บังคับบำบัดไม่ควบคุมตัว สธ. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บังคับบำบัด ควบคุมตัว มท. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ระบบต้องโทษ กรมราชทัณฑ์/กรมพินิจ ร่วมกับหน่วยงานภาคี. การ ติดตาม

20 กระบวนการคัดกรอง

21 ประกาศ คสช. ฉบับที่ 108/2557 “ให้ผู้เสพยาเสพติด และมียาเสพติดไม่เกินปริมาณที่กำหนด ไม่มีคดีอื่น และไม่มีพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื่นในสังคม ให้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู” “ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู ในทุกอำเภอ และจัดตั้งศูนย์เพื่อประสานการดูแลผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูในระดับอำเภอ”

22 บัญชียาเสพติดท้ายประกาศ
ชนิดของยาเสพติด ปริมาณของยาเสพติด เฮโรอีน ไม่เกิน 100 มิลลิกรัม เมทแอมเฟตามีน ไม่เกิน 500 มิลลิกรัม แอมเฟตามีน 3,4-เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน ไม่เกิน 1,250 มิลลิกรัม เมทิลลีนไดออกซีแอมเฟตามีน เอ็น เอทิล เอ็มดีเอ หรือ เอ็มดีอี

23 บัญชียาเสพติดท้ายประกาศ
ชนิดของยาเสพติด ปริมาณของยาเสพติด โคคาอีน ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม ฝิ่น ไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัม กัญชา สารละเหย ตามกฏหมายการป้องกันการใช้สารละเหย

24 การจัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองอำเภอ (ประกาศ คสช. ที่108/2557,คำสั่ง ศอ
การจัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองอำเภอ (ประกาศ คสช.ที่108/2557,คำสั่ง ศอ.ปส.จ.ชม.ที่1/2558) นายอำเภอ ที่ปรึกษา ผอก.รพ. หัวหน้าศูนย์ ปลัดอำเภอ จนท.ฝ่ายความมั่นคงอำเภอ จนท.คัดกรอง ข้าราชการ ,พนักงาน, จนท.สาธารณสุข จนท.คัดกรอง

25 ศูนย์เพื่อการคัดกรองฯ
รพ.นครพิงค์, รพ.ทั่วไป ทุกแห่ง รพ.ชุมชน ทุกแห่ง สถานที่ อำเภอเมือง  ?? สสอ. และ รพ.สต. ทุกแห่ง ไม่ใช่ ศูนย์เพื่อการคัดกรองฯ แต่ออกช่วยในการตรวจปัสสาวะ ร่วมกับทางตำรวจ ปกครอง เมื่อได้รับการประสานงาน

26

27 แนวทางการส่งตัวผู้ต้องสงสัย เข้ารับการคัดกรอง บำบัดฟื้นฟู
ตรวจปัสสาวะพบสารเสพติด มียาเสพติดไม่เกินปริมาณกำหนด ไม่เป็นผู้ต้องหา/อยู่ในระหว่างถูกดำเนินคดี ไม่มีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดอันตราย ยอมรับผลการตรวจปัสสาวะ(บ ) ยินยอมเข้ารับการบำบัด (บ ) พบผู้ต้องสงสัยในเวลาราชการ ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ตรวจปัสสาวะพบสารเสพติด มียาเสพติดไม่เกินปริมาณกำหนด ไม่เป็นผู้ต้องหา/อยู่ในระหว่างถูกดำเนินคดี ไม่มีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดอันตราย ยอมรับผลการตรวจปัสสาวะ (บ ) ยินยอมเข้ารับการบำบัด (บ ) พบผู้ต้องสงสัยนอกเวลาราชการ ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ลงบันทึกประจำวัน พง.สอบสวนลงนามใบนัด (บ ) วันเปิดทำการวันแรก

28 ไม่ไปเข้ารับการคัดกรอง/ไม่เข้ารับการบำบัด/รับการบำบัดแต่ไม่เสร็จสิ้นกระบวนการ
ศูนย์เพื่อการคัดกรอง/สถานบำบัด แจ้งพนักงานสอบสวน (บ )

29 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
ตรวจสอบ ในระบบ บสต. ว่าติดการบำบัด อื่นหรือไม่ โดยเฉพาะระบบบังคับบำบัด ตรวจปัสสาวะเพื่อรับรองผลในขั้นที่ 2 โดยใช้บุคลากรและชุดตรวจของโรงพยาบาล (เพื่อเป็นการตรวจโดยบุคคลที่ 3) คัดกรองด้วยแบบ V2 เพื่อจำแนก ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด (เฉพาะผู้เสพเท่านั้น ถึงสามารถส่งบำบัด ในศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ได้)

30 “ขอความร่วมมือ ปกครอง/ตำรวจ ส่งตรวจโรงพยาบาลในเขตรับผิดชอบ”
ข้อสังเกต มีการเพิ่มขั้นตอนการตรวจปัสสาวะ อีกครั้งที่ ศูนย์เพื่อการคัดกรองฯ “โรงพยาบาล ต้องไม่เก็บค่าใช้จ่าย ในการตรวจปัสสาวะ เนื่องจากค่าใช้จ่ายจะได้รับการจัดสรร จาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด” “ขอความร่วมมือ ปกครอง/ตำรวจ ส่งตรวจโรงพยาบาลในเขตรับผิดชอบ”

31

32 NO

33 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
คัดกรองโรค/ข้อห้ามในการบำบัด ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ 4.1 ภาวะแทรกซ้อนทางจิตรุนแรง (2Q, 8Q) 4.2 โรคทางกายที่รุนแรง โรคประจำตัว (เช่น DM/HT พิการ เอดส์) 4.3 โรคติดต่อในระยะติดต่อ (เช่น วัณโรค สุกใส งูสวัด) 4.4 ผู้เสพสารกลุ่มฝิ่น (ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน) 4.5 ผู้ป่วยติดสุราเรื้อรังและรุนแรง (AUDIT) 4.6 เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี 4.7 บุคคลที่อาจมีผลกระทบต่อการศึกษา/การทำงาน/ความรับผิดชอบต่อครอบครัว อันหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ที่ติดเงื่อนไข 1 ใน 7 ข้อนี้ ไม่สามารถเข้าบำบัด ในศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ได้

34 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
อย่าลืมปั๊ม “ค่ายศูนย์ขวัญ” หรือ“สถานพยาบาล” อำเภอที่มีผู้ใช้ฝิ่น ต้องตรวจปัสสาวะด้วยชุดตรวจ มอร์ฟีน

35 กระบวนการบำบัดฟื้นฟู

36 “สมัครใจสถานพยาบาล” ผู้ใช้ ผู้เสพ การให้คำแนะนำแบบสั้น (Brief Advice)
การบำบัดแบบสั้น (Brief Intervention) ใช้การบำบัดแบบสั้น (Brief Intervention ) การบำบัดแบบเสริมแรงจูงใจ (Motivational Interviewing) (Motivational Enchantment Therapy) การบำบัดความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioral Therapy) จิตสังคมบำบัด ได้แก่ Modified Matrix อย่างน้อย ๓ – ๑๒ ครั้ง ใน ๔ เดือน ร่วมกับ การรักษาด้วยยา การรักษาโรคร่วมทางจิตเวช และสุ่มตรวจปัสสาวะ อย่างน้อย ๒ ครั้ง ผู้เสพ

37 “สมัครใจสถานพยาบาล” ผู้ติด ผู้ติดรุนแรง ส่งต่อ โรงพยาบาลธัญญารักษ์
CBT/ จิตสังคมบำบัดอย่างย่อแบบ ๑๖ ครั้ง/(Motivational Enchantment Therapy MET) ทุกสัปดาห์ เป็นระยะเวลา ๔ เดือน (๑๖ ครั้ง) รวมราย บุคคล ๓ ครั้ง และครอบครัว ๓ ครั้ง การรักษาด้วยยา และการรักษาโรคร่วมทางจิตเวช (ถ้ามี) และการสุ่มตรวจปัสสาวะสารเสพติด อย่างน้อย ๔ ผู้ติดรุนแรง ส่งต่อ โรงพยาบาลธัญญารักษ์ ผู้เสพ/ผู้ติดที่มีอาการทางจิตเวชร่วมที่รุนแรง ส่งต่อ โรงพยาบาลสวนปรุง

38 HARM REDUCTION การลดอันตรายจากการใช้ยา

39 HARM REDUCTION การลดอันตรายจากการใช้ยา

40 HARM REDUCTION การลดอันตรายจากการใช้ยา

41 “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับกลุ่มผู้เสพยาเสพติด”
“ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน” “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับกลุ่มผู้เสพยาเสพติด”

42 หลักสูตร 9 วัน อาชีวบำบัด 30 ชั่วโมง

43 ใหม่

44 เดิม ทักษะการตั้งเป้าหมาย

45 เดิม

46 ใหม่

47 ความแตกต่างของหลักสูตร เดิม/ใหม่
คงเดิม โรคสมองติดยา (1.30) ทักษะการปฏิเสธ (1.30) กลุ่มบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (6.00) กิจกรรมทางเลือก (6.00) ปรับระยะเวลา การจัดการตัวกระตุ้น (4.30 : 3.00) การทำหน้าที่ครอบครัว (1.30 : 3.00)

48 ความแตกต่างของหลักสูตร เดิม/ใหม่
ปรับเพิ่ม สัมมนาแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชน (3.00) ผูกสัมพันธ์ วันครอบครัว (Walk rally) (2.30) ปรับรายละเอียด ทักษะงานอาชีพ การเป็นพลเมืองที่ดี กลุ่มการสำรวจตัวเอง การจัดการกับอารมณ์/ความเครียด การตั้งเป้าหมาย

49 การตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ

50 การตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ

51 ทีมตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ
รุ่นที่ วันที่ โรงพยาบาล 1 27 พ.ย. – 8 ธ.ค. นครพิงค์ 2 14 – 25 ธ.ค. สารภี 3 8 – 19 ม.ค. สันทราย 4 5 – 16 ก.พ. สันกำแพง 5 5 – 16 มี.ค. ดอยสะเก็ด 6 19 – 30 เม.ย. หางดง 7 7 – 18 พ.ค. 8 4 – 15 มิ.ย. 9 21 มิ.ย. – 2 ก.ค.

52 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
ทีมเวรรักษาพยาบาล รุ่นที่ วันที่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 27 พ.ย. – 8 ธ.ค. สารภี 2 14 – 25 ธ.ค. เมืองเชียงใหม่ 3 8 – 19 ม.ค. สันทราย 4 5 – 16 ก.พ. หางดง 5 5 – 16 มี.ค. สันกำแพง 6 19 – 30 เม.ย. แม่ริม 7 7 – 18 พ.ค. 8 4 – 15 มิ.ย. 9 21 มิ.ย. – 2 ก.ค.

53 ทีมอยู่เวรรักษาพยาบาล
ช่วงเวลาอยู่เวร – น. เป็นแบบอย่างที่ดี ต่อผู้เข้ารับการบำบัด ฟื้นฟู บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบ ยา/เวชภัณฑ์ ให้คำปรึกษา แก่ผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ทำแผล เบื้องต้น กรณีพบเหตุการณ์ผิดปกติ แจ้ง ต่อ สสจ.ชม. และ ผบ.อส.จ.ชม. ประสานงานการส่งต่อ กรณีฉุกเฉิน ทำแบบประเมินความพึงพอใจ

54 “ระบบต้องโทษ” กระบวนจำแนก/คัดกรอง  V2 กระบวนการบำบัด
ผู้ใช้ BA/BI + กิจกรรมบางส่วนของ TO BE NUMBER ONE ผู้เสพ การบำบัดฯ ในรูปแบบศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (12วัน) ผู้ติด การบำบัดฯ ในรูปแบบชุมชนบำบัด (CARE Model 4เดือน) กระบวนการทางเลือกอื่นๆ ของกรมราชทัณฑ์ เช่น โรงเรียนวิวัฒน์พลเมืองราชทัณฑ์ด้วยกระบวนการลูกเสือ เป็นต้น

55 “ระบบต้องโทษ” 3. การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อย
3. การติดตามประเมินผล  บสต., รท.101, ผ่านโครงการฯ

56 สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่า
“ คนที่ติดยาเขาเป็นคนหรือเปล่า ในเมื่อเขาเป็นคน... เรามีการช่วยเหลือเขาได้ไหม ถ้าช่วยเหลือเขาได้ เท่ากับชุบชีวิตใหม่ให้เขา... เราก็ควรทำ ”


ดาวน์โหลด ppt เกรียงไกร ยอดเรือน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google