งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐาน การบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐาน การบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐาน การบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สำหรับกลุ่มผู้เสพยาเสพติด” ในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

2 ทุกระบบ 210,700 คน เป้าหมายการบำบัด รักษายาเสพติด ของประเทศไทย
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย ทุกระบบ 210,700 คน ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ 130,000 คน 60,500 คน 20,200 คน สถานพยาบาล ค่ายศูนย์ขวัญฯ กรมราชทัณฑ์ กรมพินิจฯ 77,500 คน 52,500 คน 17,700 คน 2,500 คน ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว 35,500 คน 25,000 คน

3 เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 7,943 ราย
เป้าหมายบำบัด จังหวัดเชียงใหม่ 6,447 ราย สมัครใจ บังคับบำบัด ค่ายฯ สมัครใจ 108 ต้องโทษ 4,280 ราย 2,093 ราย 900 ราย 670 ราย สป ,210 ธัญญารักษ์ 1,850 สวนปรุง ควบคุมตัว 1,162 ไม่ควบคุมตัว 931 กรมราชทัณฑ์ 550 กรมพินิจฯ

4 กระบวนการการแก้ไขปัญหาผู้เสพ/ผู้ติด
ศูนย์เพื่อการคัดกรอง ศูนย์ประสานเพื่อการดูแลฯ ค้นหา คัดกรอง บำบัด ติดตาม ช่วยเหลือ ปรับทัศนคติ

5 ประกาศ คสช. ฉบับที่ 108/2557 “ให้ผู้เสพยาเสพติด และมียาเสพติดไม่เกินปริมาณที่กำหนด ไม่มีคดีอื่น และไม่มีพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื่นในสังคม ให้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู” “ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู ในทุกอำเภอ และจัดตั้งศูนย์เพื่อประสานการดูแลผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูในระดับอำเภอ”

6 บัญชียาเสพติดท้ายประกาศ
ชนิดของยาเสพติด ปริมาณของยาเสพติด เฮโรอีน ไม่เกิน 100 มิลลิกรัม เมทแอมเฟตามีน ไม่เกิน 500 มิลลิกรัม แอมเฟตามีน 3,4-เมทิลลีนไดออกซีเมทแอมเฟตามีน ไม่เกิน 1,250 มิลลิกรัม เมทิลลีนไดออกซีแอมเฟตามีน เอ็น เอทิล เอ็มดีเอ หรือ เอ็มดีอี

7 บัญชียาเสพติดท้ายประกาศ
ชนิดของยาเสพติด ปริมาณของยาเสพติด โคคาอีน ไม่เกิน 200 มิลลิกรัม ฝิ่น ไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัม กัญชา สารละเหย ตามกฏหมายการป้องกันการใช้สารละเหย

8 การจัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองอำเภอ (ประกาศ คสช. ที่108/2557,คำสั่ง ศอ
การจัดตั้งศูนย์เพื่อการคัดกรองอำเภอ (ประกาศ คสช.ที่108/2557,คำสั่ง ศอ.ปส.จ.ชม.ที่1/2558) นายอำเภอ ที่ปรึกษา ผอก.รพ. หัวหน้าศูนย์ ปลัดอำเภอ จนท.ฝ่ายความมั่นคงอำเภอ จนท.คัดกรอง ข้าราชการ ,พนักงาน, จนท.สาธารณสุข จนท.คัดกรอง

9 ศูนย์เพื่อการคัดกรองฯ
รพ.นครพิงค์, รพ.ทั่วไป ทุกแห่ง รพ.ชุมชน ทุกแห่ง สถานที่ อำเภอเมือง  ?? สสอ. และ รพ.สต. ทุกแห่ง ไม่ใช่ ศูนย์เพื่อการคัดกรองฯ แต่ออกช่วยในการตรวจปัสสาวะ ร่วมกับทางตำรวจ ปกครอง เมื่อได้รับการประสานงาน

10 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
ตรวจสอบ ในระบบ บสต. ว่าติดการบำบัด อื่นหรือไม่ โดยเฉพาะระบบบังคับบำบัด ตรวจปัสสาวะเพื่อรับรองผลในขั้นที่ 2 โดยใช้บุคลากรและชุดตรวจของโรงพยาบาล (เพื่อเป็นการตรวจโดยบุคคลที่ 3) คัดกรองด้วยแบบ V2 เพื่อจำแนก ผู้ใช้ ผู้เสพ ผู้ติด (เฉพาะผู้เสพเท่านั้น ถึงสามารถส่งบำบัด ในศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ได้)

11 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
ข้อสังเกต มีการเพิ่มขั้นตอนการตรวจปัสสาวะ อีกครั้งที่ ศูนย์เพื่อการคัดกรองฯ “โรงพยาบาล ต้องไม่เก็บค่าใช้จ่าย ในการตรวจปัสสาวะ เนื่องจากค่าใช้จ่ายจะได้รับการจัดสรร จาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (แต่งบประมาณยังไม่มา)”

12

13 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
คัดกรองโรค/ข้อห้ามในการบำบัด ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ 4.1 ภาวะแทรกซ้อนทางจิตรุนแรง (2Q, 8Q) 4.2 โรคทางกายที่รุนแรง โรคประจำตัว (เช่น DM/HT พิการ เอดส์) 4.3 โรคติดต่อในระยะติดต่อ (เช่น วัณโรค สุกใส งูสวัด) 4.4 ผู้เสพสารกลุ่มฝิ่น (ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน) 4.5 ผู้ป่วยติดสุราเรื้อรังและรุนแรง (AUDIT) 4.6 เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี 4.7 บุคคลที่อาจมีผลกระทบต่อการศึกษา/การทำงาน/ความรับผิดชอบต่อครอบครัว อันหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ที่ติดเงื่อนไข 1 ใน 7 ข้อนี้ ไม่สามารถเข้าบำบัด ในศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ ได้

14 แนวทางการคัดกรองผู้ป่วยยาเสพติด
อย่าลืมปั๊ม “ค่ายศูนย์ขวัญ” หรือ“สถานพยาบาล” อำเภอที่มีผู้ใช้ฝิ่น ต้องตรวจปัสสาวะด้วยชุดตรวจ มอร์ฟีน

15 คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ
แนวทางการค้นหา คัดกรอง บำบัดรักษา ติดตามช่วยเหลือ ผู้ป่วยยาเสพติด จังหวัดเชียงใหม่ สธ. มท. ศธ. รง. และภาคีเครือข่าย มาตรการสื่อสารเชิงบวก, โครงการ TO BE NUMBER ONE, ครอบครัว ชุมชน สถานศึกษา สถานประกอบการ มท. ตำรวจ ปปส. กห. และภาคีเครือข่าย ประชาคม จัดระเบียบสังคม ตั้งจุดตรวจ ปิดล้อม/ตรวจค้น การ ค้นหา ศูนย์คัดกรอง ระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัด ระบบต้องโทษ การ คัดกรอง รพ.สต. (267 แห่ง) คัดกรองด้วย V2 V2 > 3 โรงพยาบาล (26 แห่ง) คัดกรองด้วย V2, ตรวจยืนยัน คณะอนุกรรมการฟื้นฟูฯ ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัว ผู้ใช้ V2=2-3 ผู้เสพ V2=4-26 ผู้ติด V2 >=27 ไม่เข้มงวด เข้มงวด การ บำบัด รพ.สต./โรงพยาบาล Brief Advice/ Brief Intervention ค่ายศูนย์ขวัญแผ่นดิน 9 วัน+ฝึกอาชีพ 30 ชม. - กองร้อย อส.จ.ชม.ที่ 1 - โรงพยาบาล บำบัดแบบผู้ป่วยนอก ศูนย์ฟื้นฟูฯ กองบิน 41 กรมราชทัณฑ์ - เรือนจำกลาง ชม. - ทัณฑสถานหญิง ชม. กรมพินิจฯ - ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กฯ - สถานพินิจและคุ้มครอง โรงพยาบาลธัญญารักษ์ เรื้อรัง รุนแรง ศูนย์วิวัฒน์พลเมือง กองพันสัตว์ต่าง โรงพยาบาลสวนปรุง มีอาการจิตเวชรุนแรง การ ติดตาม ระบบสมัครใจ สธ. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ค่ายศูนย์ขวัญฯ มท. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ระบบบังคับบำบัด มท. ร่วมกับหน่วยงานภาคี ระบบต้องโทษ กรมราชทัณฑ์/กรมพินิจ ร่วมกับหน่วยงานภาคี. เยาวชนอายุน้อยกว่า 18 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ ให้บำบัด จิตสังคม ในสถานศึกษา

16 “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สำหรับกลุ่มผู้เสพยาเสพติด”

17 วัตถุประสงค์ บำบัดผู้เสพยาเสพติด ในรูปแบบ ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน (Residential) พัฒนาศักยภาพ ผู้เสพยาเสพติดให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ ความคิด อารมณ์ และทักษะการเข้าสังคม เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตในสังคมโดยไม่ใช้ยาเสพติด เกิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับสังคมชุมชน ท้องถิ่น ทั้งในระหว่างการดำเนินการศูนย์ และการดูแลอย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดอย่างน้อย ๖ เดือน - ๑ ปี

18 วัตถุประสงค์ สร้างความเข้มแข็งของครอบครัวในการดูแลช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดให้ ลด ละ เลิกยาเสพติด สร้างทัศนคติ การยอมรับและให้โอกาสผู้เสพยาเสพติด คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา รวมทั้งส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างผู้เสพและบุคคลในสังคม พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินชีวิตได้แก่ การเรียนความรู้ผลกระทบยาเสพติด อาชีวบำบัด การออกกำลังกาย กิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมทางเลือกอื่นๆ เช่น สร้างจิตสำนึกรัก และเป็นส่วนหนึ่งของสังคม

19 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยยาเสพติด จำนวน รุ่นละ ๕๐ – ๘๐ คน โดยเป็นผู้ผ่านการคัดกรองตามแบบ V๒ ได้ค่าคะแนนอยู่ในระดับเสพ (๔-๒๖ คะแนน) ภาวะแทรกซ้อนทางจิตรุนแรง (2Q, 8Q) โรคทางกายที่รุนแรง โรคประจำตัว (เช่น DM/HT พิการ เอดส์) โรคติดต่อในระยะติดต่อ (เช่น วัณโรค สุกใส งูสวัด) ผู้เสพสารกลุ่มฝิ่น (ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน) ผู้ป่วยติดสุราเรื้อรังและรุนแรง (AUDIT) เยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี บุคคลที่อาจมีผลกระทบต่อการศึกษา/การทำงาน/ความรับผิดชอบต่อครอบครัว อันหลีกเลี่ยงไม่ได้

20 องค์ประกอบของหลักสูตร
5 กลุ่มวิชา ความรู้เรื่องโทษพิษภัยยาเสพติดและการบำบัดรักษา การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ การทำหน้าที่ครอบครัว การเสริมสร้างความถนัดในตนเอง บทบาทหน้าที่และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม

21 แผนกิจกรรม หลักสูตรศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ
กลุ่มวิชาที่ 1 โทษพิษภัยยาเสพติดและการบำบัดรักษา กิจกรรมโทษพิษภัยของยาเสพติดและสมองติดยา กลุ่มบำบัด เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ กลุ่มวิชาที่ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ กิจกรรมการตระหนักรู้ในตนเอง (Self – awareness) กิจกรรมการจัดการกับอารมณ์ตนเอง (Managing emotion) กิจกรรมการจูงใจตนเองไปสู่เป้าหมาย (Motivating oneself) กิจกรรมการเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (Empathy) กิจกรรมการอยู่ร่วมกันในสังคม (Social skill)

22 แผนกิจกรรม หลักสูตรศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ
กลุ่มวิชาที่ 3 การทำหน้าที่ครอบครัว กิจกรรมบทบาทของตนเองต่อครอบครัว กิจกรรมการแก้ไขปัญหา กิจกรรมการควบคุมพฤติกรรม กิจกรรมความผูกพัน/ความห่วงใย กิจกรรมการตอบสนองทางอารมณ์ กิจกรรมการสื่อสาร กลุ่มวิชาที่ 4 การเสริมสร้างความถนัดในตนเอง กิจกรรมทางเลือก

23 แผนกิจกรรม หลักสูตรค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ
กลุ่มวิชาที่ 5 บทบาทหน้าที่และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กิจกรรมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และบุคคลสำคัญของท้องถิ่นและประเทศ กิจกรรมส่งเสริมศาสนา

24 เดิม ทักษะการตั้งเป้าหมาย

25 เดิม

26 ใหม่

27 ความแตกต่างของหลักสูตร เดิม/ใหม่
คงเดิม โรคสมองติดยา (1.30) ทักษะการปฏิเสธ (1.30) กลุ่มบำบัดเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ (6.00) กิจกรรมทางเลือก (6.00) ปรับระยะเวลา การจัดการตัวกระตุ้น (4.30 : 3.00) การทำหน้าที่ครอบครัว (1.30 : 3.00)

28 ความแตกต่างของหลักสูตร เดิม/ใหม่
ปรับเพิ่ม สัมมนาแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชน (3.00) ผูกสัมพันธ์ วันครอบครัว (Walk rally) (2.30) ปรับรายละเอียด ทักษะงานอาชีพ การเป็นพลเมืองที่ดี กลุ่มการสำรวจตัวเอง การจัดการกับอารมณ์/ความเครียด การตั้งเป้าหมาย

29 การตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ
ติดระบบบังคับบำบัด ?

30 การตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ

31 ร่างทีมตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ
รุ่นที่ วันที่ โรงพยาบาล 1 27 พ.ย. – 8 ธ.ค. นครพิงค์ 2 14 – 25 ธ.ค. สารภี 3 8 – 19 ม.ค. สันทราย 4 5 – 16 ก.พ. สันกำแพง 5 5 – 16 มี.ค. ดอยสะเก็ด 6 19 – 30 เม.ย. หางดง 7 7 – 18 พ.ค. 8 4 – 15 มิ.ย. 9 21 มิ.ย. – 2 ก.ค.

32 ร่างทีมอยู่เวรรักษาพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ
รุ่นที่ วันที่ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 27 พ.ย. – 8 ธ.ค. สารภี 2 14 – 25 ธ.ค. เมืองเชียงใหม่ 3 8 – 19 ม.ค. สันทราย 4 5 – 16 ก.พ. หางดง 5 5 – 16 มี.ค. สันกำแพง 6 19 – 30 เม.ย. แม่ริม 7 7 – 18 พ.ค. 8 4 – 15 มิ.ย. 9 21 มิ.ย. – 2 ก.ค.

33 ทีมอยู่เวรรักษาพยาบาล
ช่วงเวลาอยู่เวร – น. เป็นแบบอย่างที่ดี ต่อผู้เข้ารับการบำบัด ฟื้นฟู บทบาทหน้าที่ ตรวจสอบ ยา/เวชภัณฑ์ ให้คำปรึกษา แก่ผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ทำแผล เบื้องต้น กรณีพบเหตุการณ์ผิดปกติ แจ้ง ต่อ สสจ.ชม. และ ผบ.อส.จ.ชม. ประสานงานการส่งต่อ กรณีฉุกเฉิน ทำแบบประเมินความพึงพอใจ

34 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

35 กำหนดการ ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ
วัน 1 ลงทะเบียน ปฐมนิเทศ รับประทานอาหารกลางวัน การตรวจสุขภาพ ประเมินสภาวะร่างกาย จิตใจ 2 ทบทวนจิต (ตนเอง) รู้ตนพ้นทุกข์ กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 1 (กราฟชีวิต) กิจกรรมทางเลือก 3 คิดจัดการ (อารมณ์) พิธีเปิด การสร้างความสุข กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 2 (เหรียญสองด้าน) 4 โรคสมองติดยา การทำหน้าที่ครอบครัว 1 การทำหน้าที่ครอบครัว 2 ผูกสัมพันธ์ วันครอบครัว (Walk rally ) 5 สานเป้าหมาย ทักษะการปฏิเสธ การแก้ปัญหา 6 สายใยรัก บทเรียนสอนตน การจัดการตัวกระตุ้น 1 กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 3 (การตัดสินใจ) 7 ทักษะสังคม การมองโลกในแง่ดี กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 4 (ก้าวต่อไป) การจัดการตัวกระตุ้น 2 8 สัมมนาแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชน วันที่ 9 – 11 อาชีวบำบัด 30 ชั่วโมง 12 การดูแลต่อเนื่อง สายสัมพันธ์ครอบครัว คืนคนดีสู่สังคม

36 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D2 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. ทบทวนจิต ทีมอำเภอเมือง 10.30 – น. รู้ตนพ้นทุกข์ 13.00 – น. กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 1 (กราฟชีวิต) ทีมสารภี 14.30 – น. กิจกรรมทางเลือก อส.จ.ชม. ที่ 1

37 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D3 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. คิดจัดการ (อารมณ์) ทีมสันกำแพง 10.30 – น. พิธีเปิด อส.จ.ชม. ที่ 1 13.00 – น. การสร้างความสุข 14.30 – น. กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 2 (เหรียญสองด้าน) ทีมสารภี

38 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D4 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. สมองติดยา สุมาลี + ทีม 10.30 – น. การทำหน้าที่ครอบครัว 1 พี่ปูน + ทีม 13.00 – น. การทำหน้าที่ครอบครัว 2 14.30 – น. Walk rally สัมพันธ์ วันครอบครัว สุมาลี + ทีม + วัชรินทร์

39 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D5 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. สานเป้าหมาย ทีมสันกำแพง 10.30 – น. ทักษะการปฏิเสธ 13.00 – น. การแก้ปัญหา 14.30 – น. กิจกรรมทางเลือก อส.จ.ชม. ที่ 1

40 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D6 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. สายใยรัก ทีมสันทราย 10.30 – น. บทเรียนสอนตน 13.00 – น. การจัดการตัวกระตุ้น 1 ทีมสารภี 14.30 – น. กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 3 (การตัดสินใจ)

41 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D7 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. ทักษะสังคม พี่เฟื่อง+ทีม 10.30 – น. การมองโลกในแง่ดี 13.00 – น. กลุ่มเสริมสร้างแรงจูงใจ 4 (ก้าวต่อไป) ทีมสารภี 14.30 – น. การจัดการตัวกระตุ้น 2

42 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D8 เวลา วิชา วิทยากร 09.00 – น. สัมมนาแนวทางแก้ไขปัญหาในชุมชน 13.00 – น. กิจจกรมทางเลือก วันที่ 9 – 11 อาชีวบำบัด 30 ชั่วโมง

43 ทีมวิทยากร ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
D12 เวลา วิชา วิทยากร 08.00 – น. Re-assessment ตรวจปัสสาวะ ชั่งน้ำหนัก 09.00 – น. การดูแลต่อเนื่อง 10.30 – น. สายสัมพันธ์ครอบครัว 13.00 – น. คืนคนดีสู่สังคม

44 สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงรับสั่งว่า
“ คนที่ติดยาเขาเป็นคนหรือเปล่า ในเมื่อเขาเป็นคน... เรามีการช่วยเหลือเขาได้ไหม ถ้าช่วยเหลือเขาได้ เท่ากับชุบชีวิตใหม่ให้เขา... เราก็ควรทำ ”


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐาน การบำบัดฟื้นฟู ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด “ศูนย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google