งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน
การจัดการเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance : AMR)โรงพยาบาลลำพูน ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน

2 กิจกรรม AMR กําหนด นโยบายและมาตรการ โดยคณะกรรมการบริหาร AMR
การดูแลกํากับการใช้ยาในโรงพยาบาล การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล

3 Antimicrobial Management Team

4 แผนปฏิบัติการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ
• Antibiogram ปีละ 1 ครั้ง • Lab Alert : โทรแจ้ง /Line AMR/เอกสาร

5 การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อดื้อยา
หลักการ SHIP S = Single ใช้คนเดียว ไม่ใช้ร่วมกัน H = Hand hygiene มือสะอาด เน้นล้างมือ I = Isolation แยกห้องผู้ป่วย แยกอุปกรณ์ P = Promotion ส่งเสริมให้รู้จริง ทำจริง

6 การดูแลกำกับการใช้ยาปฏิชีวนะ
อย่างสมเหตุผล

7

8 แนวทางการเฝ้าระวังการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม
ยาต้านจุลชีพที่ต้องจำกัดการใช้ ( Restricted Antibiotics ) 8 รายการ • Cefoperazone + Sulperazone • Piperacillin + Tazobactam • Meropenem • Tienem • Ertapenem • Vancomycin • Levofloxacin inj. • colistin ต้องมีใบประกอบการสั่งจ่ายยาต้านจุลชีพ : * สั่งโดยแพทย์ staff * ** ให้ใช้ยาได้ 4 วัน ** *** ปลดล็อกการใช้ยาโดยแพทย์อนุมัติใช้ยา ***

9 ใบกำกับการใช้ยาต้านจุลชีพ & ใบติดตามการใช้ยาAMR

10 AMR round แพทย์ ID, เภสัชกร, พยาบาล IC : Postauthorization, Prospective audit & feedback

11 เภสัชกรประเมินการใช้ยาบนหอผู้ป่วย ที่มีการใช้ยา restricted
-Indication , Dose, adjust dose, administration, C/S, de-escalate, Duration , Drug interaction , ADR , switch therapy - สรุปผลการประเมินทุกเดือน

12 ผลการดำเนินงาน

13 NI/CI/colonize

14 ปริมาณการใช้ยาต้านแบคทีเรียที่ควบคุม

15 มูลค่าการใช้ยา

16 ตำแหน่งที่ติดเชื้อ

17 เชื้อดื้อยาที่พบ/เชื้อดื้อยาทั้งหมด (%)

18 ผลการรักษา

19 การประเมินความเหมาะสม Empiric therapy ที่ day1 VS day3
ร้อยละความเหมาะสม

20 การประเมินความเหมาะสม Specific therapy ที่ day1 VS day3

21 ร้อยละความเหมาะสมเฉลี่ย

22 ร้อยละความเหมาะสมเฉลี่ยของยาAMR แต่ละรายการ

23 จำนวนครั้งในการ suggestion

24 การ suggestion ของทีม

25 ร้อยละการยอมรับsuggestion

26 ร้อยละการยอมรับsuggestion

27 Problems รูปแบบการ consult : ใช้ใบติดตามAMR แนบChart หน้าแรก /แจ้งพยาบาล แจ้งแพทย์เจ้าของไข้ : พยาบาลลืม/แพทย์ไม่ได้อ่าน suggestion ด้าน adjust dose : สูตรคำนวณ Clearance ไม่ตรงกัน มีผลต่อการปรับขนาดยา de-escalate ยังทำน้อย : ปัญหาการประเมิน การresponse หลังให้ยา broad spectrum 3 วัน ไม่ตรงกัน ยังไม่มี guideline ในการใช้ยา AMR ของรพ./ปัญหาการTreat c/s : NG ข้อมูลรายงานไม่เป็นปัจจุบัน : ภาระงานด้านอื่น /ขาดโปแกรมช่วยลง ข้อมูลและวิเคราะห์ผล ปัญหาด้านการส่งต่อข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลและการบูรณาการ

28 # Thank you #


ดาวน์โหลด ppt ภญ. วรางคณา วัลลา งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน กลุ่มงานเภสัชกรรม รพ.ลำพูน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google