งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

A.Petcharee Sirikijjakajorn

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "A.Petcharee Sirikijjakajorn"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 A.Petcharee Sirikijjakajorn
Financial Analysis A.Petcharee Sirikijjakajorn

2 การวิเคราะห์ทางการเงิน
ใช้ข้อมูลที่ได้จากงบการเงิน ต้องกำหนดว่า จะวิเคราะห์อะไร (What) วิเคราะห์อย่างไร (How) วิเคราะห์เมื่อไร (When) วิเคราะห์ถี่แค่ไหน ใช้เครื่องมือใดในการวิเคราะห์ ขึ้นอยู่กับ “ผู้วิเคราะห์” A.Petcharee Sirikijjakajorn

3 การวิเคราะห์ทางการเงินของผู้บริหาร
1. เพื่อการวางแผนและพยากรณ์ทางการเงิน 2. ช่วยในการตัดสินใจทางการเงินได้ดีขึ้น การลงทุน การจัดหาเงินทุน 3. เพื่อควบคุมตรวจสอบและประเมินการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ A.Petcharee Sirikijjakajorn

4 ขั้นตอนในการวิเคราะห์ทางการเงิน
1. กำหนดจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ 2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและจำเป็นต้องใช้ 3. เลือกเครื่องมือที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ 4. ตีความและแปลความหมาย 5. จัดทำรายงานเพื่อนำเสนอ A.Petcharee Sirikijjakajorn

5 A.Petcharee Sirikijjakajorn
การเปรียบเทียบ 1. เปรียบเทียบกับข้อมูลในอดีตของตัวกิจการเอง(Past Data) 2. เปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน (Competitors) หรือบริษัทอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน 3. เปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน หรือ ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรม (Standard or Industry Average) A.Petcharee Sirikijjakajorn

6 ขั้นตอนในการวิเคราะห์ทางการเงิน
กำหนดจุดมุ่งหมาย รวบรวมข้อมูล เลือกเครื่องมือ การตีความ (ใช้การเปรียบเทียบ) เปรียบเทียบกับตนเองในอดีต เปรียบเทียบกับคนอื่น คู่แข่งขัน ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม รายงานการวิเคราะห์ A.Petcharee Sirikijjakajorn

7 ข้อจำกัดในการวิเคราะห์งบการเงิน
1. ความแตกต่างของนโยบายบัญชีที่ใช้จัดทำ งบการเงิน 2. ไม่ได้คำนึงถึงค่าของเงินตามเวลา 3. ไม่ได้สะท้อนถึงความเสี่ยงที่สูงขึ้นของกิจการ ,ความสามารถของผู้บริหารและภาระผูกพันจากสัญญาต่างๆ A.Petcharee Sirikijjakajorn

8 ข้อจำกัดในการวิเคราะห์งบการเงิน (ต่อ)
4. งบดุลแสดงฐานะการเงิน ณ วันใดวันหนึ่งเท่านั้น แต่ก่อนหน้านั้น หรือหลังจากนั้นจำนวนสินทรัพย์ หนี้สิน และทุนจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 5. ต้องระมัดระวังเรื่องการตกแต่งตัวเลขในทางบัญชี (Window Dressing) A.Petcharee Sirikijjakajorn

9 เครื่องมือในการวิเคราะห์งบการเงิน
1. อ่านข้อมูลจากงบการเงินโดยตรง 2. วิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วนทางการเงิน 3. วิเคราะห์โดยจัดทำแนวโน้ม (ไม่ออกสอบ) 4. วิเคราะห์โดยการย่อขนาด (Common Size) A.Petcharee Sirikijjakajorn

10 การวิเคราะห์งบการเงิน
การวิเคราะห์ย่อขนาด (Common-Size) การวิเคราะห์อัตราส่วน (Ratio Analysis) A.Petcharee Sirikijjakajorn

11 Common-size Statement
แสดงรายการบัญชีแต่ละรายการในงบดุลในรูปร้อยละของสินทรัพย์รวม แสดงรายการบัญชีแต่ละรายการในงบกำไรขาดทุนในรูปร้อยละของยอดขาย ข้อดี : ง่ายต่อการอ่านและเปรียบเทียบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

12 ตัวอย่างการคิด Common Size
งบดุล: สินทรัพย์รวม = 4,200 เงินสด = ,100 Common Size เงินสด = 2,100 = 0.5 หรือ 50% 4,200 งบกำไรขาดทุน: ยอดขายรวม = 10,000 ดอกเบี้ยจ่าย = Common Size ดอกเบี้ยจ่าย = 600=0.06 หรือ 6% 10,000 A.Petcharee Sirikijjakajorn

13 การวิเคราะห์โดยใช้อัตราส่วน
เปรียบเทียบรายการบัญชีหนึ่งกับรายการบัญชีอื่นที่มีความสัมพันธ์กัน ผลลัพธ์เป็นร้อยละ, เท่า หรือ รอบ, ระยะเวลา วัดสภาพคล่อง ภาระหนี้สิน การบริหารสินทรัพย์ กำไร และมูลค่าตลาด A.Petcharee Sirikijjakajorn

14 1. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
วัดความสามารถในการแปลงสินทรัพย์หมุนเวียนเป็นเงินสดเพื่อชำระหนี้สินหมุนเวียน เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์หมุนเวียน และหนี้สินหมุนเวียนเป็นหลัก สภาพคล่อง อาจเกิดจากสินทรัพย์ หรือเกิดจากความสามารถในการกู้ยืม A.Petcharee Sirikijjakajorn

15 1. อัตราส่วนวัดสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
ดังนั้น ถ้าขาดความสามารถในการกู้ยืม ก็อาจต้องรักษาสินทรัพย์หมุนเวียนไว้มาก แต่ถ้าหากมีความสามารถในการกู้ยืมดี ก็ไม่จำเป็นต้องดำรงสินทรัพย์หมุนเวียนไว้ในจำนวนสูง A.Petcharee Sirikijjakajorn

16 1.1 อัตราทุนหมุนเวียน (Current Ratio)
= สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน หน่วยเป็นเท่า ปกติยิ่งมากยิ่งดี อย่างต่ำควรเท่ากับ 1 เท่า เพราะไม่งั้นเงินทุนหมุนเวียนสุทธิจะติดลบ แต่สภาพคล่องที่มากเกินพอ หมายถึง เงินลงทุนไปจมอยู่กับสินทรัพย์หมุนเวียนมากไป A.Petcharee Sirikijjakajorn

17 1.1 อัตราทุนหมุนเวียน (Current Ratio)
= สินทรัพย์หมุนเวียน / หนี้สินหมุนเวียน ปี 2544 = 230,000 / 200,000 = 1.15 เท่า ปี 2545 = 280,000 / 225,000 = เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1. 5 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

18 1.2 อัตราทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio)
= (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลัง) / หนี้สินหมุนเวียน หน่วยเป็นเท่า เนื่องจากสินค้าคงคลังเป็นสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีสภาพคล่องต่ำสุด นอกจากนี้ยังเสื่อม ล้าสมัย หรือถูกทำลายได้ การมีสินค้าคงคลังมากไป แสดงว่าผลิตมากเกินไป ปกติยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

19 1.2 อัตราทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio)
= (สินทรัพย์หมุนเวียน – สินค้าคงคลัง) / หนี้สินหมุนเวียน ปี 2544 = (230,000 – 80,000) / 200,000 = 0.75 เท่า ปี 2545 = (280,000 – 100,000) / 225,000 = 0.8 เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.2 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

20 2. อัตราส่วนการบริหารหนี้สิน (Leverage Ratio)
วัดความสามารถในการชำระหนี้ของกิจการ บางที เรียกว่า Financial Leverage Ratio ถ้าเปรียบอัตราส่วนวัดสภาพคล่องเป็นการวัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะสั้น อัตราส่วนการบริหารหนี้สินก็เป็นการวัดความสามารถในการชำระหนี้ระยะยาว A.Petcharee Sirikijjakajorn

21 2.1 อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio)
= หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม หน่วยเป็น เท่า หรือ ร้อยละ ยิ่งสูงความเสี่ยงทางการเงินจะสูง ความสามารถในการหาเงินทุนจะต่ำ แสดงสัดส่วนหนี้สินในโครงสร้างเงินทุน เมื่อทราบสัดส่วนหนี้สิน ก็สามารถทราบสัดส่วนของเจ้าของได้ เพราะ สินทรัพย์รวม = หนี้สินรวม + ส่วนของเจ้าของรวม A.Petcharee Sirikijjakajorn

22 2.1 อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio)
= หนี้สินรวม / สินทรัพย์รวม ปี 2544 = (500,000 / 950,000)*100 = % ปี 2545 = (575,000 / 1,080,000)*100 = % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = % A.Petcharee Sirikijjakajorn

23 2.2 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ (Debt to Equity Ratio)
หน่วยเป็น เท่า หรือ ร้อยละ แสดงสัดส่วนของเจ้าของว่าเพียงพอชำระหนี้หรือไม่ ยิ่งสูง ความเสี่ยงทางการเงินยิ่งสูง โอกาสที่จะชำระหนี้คืนแก่เจ้าหนี้จะต่ำ A.Petcharee Sirikijjakajorn

24 2.2 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของเจ้าของ (Debt to Equity Ratio)
ปี 2544 = (500,000 / 450,000)*100 = 111 % ปี 2545 = (575,000 / 505,000)*100 = 114 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 97 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

25 2.3 อัตราส่วนกำไรต่อดอกเบี้ยจ่าย (Times Interested Earned)
= กำไรก่อนดอกเบี้ยและภาษี / ดอกเบี้ยจ่าย หน่วยเป็นเท่า วัดความสามารถในการนำกำไรจากการดำเนินงานมาชำระดอกเบี้ยจ่าย กำไรที่ได้มาเป็นกี่เท่าของดอกเบี้ยที่ต้องจ่าย ปกติยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

26 2.3 อัตราส่วนกำไรต่อดอกเบี้ยจ่าย (Times Interested Earned)
= EBIT / ดอกเบี้ยจ่าย ปี 2544 = 725,000 / 105,000 = 6.9 เท่า ปี 2545 = 963,000 / 112,000 = 8.6 เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9.3 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

27 2.4 ความสามารถจ่ายภาระผูกพัน (Fixed Charge Coverage Ratio)
= (EBIT + คชจ.ภาระผูกพัน) / คชจ.ภาระผูกพันก่อนภาษี หน่วยเป็นเท่า ภาระผูกพันตามข้อสัญญาต่างๆ เช่น ค่าเช่า ระยะยาว (Lease) ค่างวด (Installment) วัดว่าธุรกิจมีกำไรเพียงพอที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายที่เกิดจากภาระผูกพันต่างๆได้ A.Petcharee Sirikijjakajorn

28 3. อัตราส่วนบริหารสินทรัพย์ (Asset Management Ratio)
วัดความสามารถในการบริหารสินทรัพย์ของกิจการ เพื่อก่อให้เกิดการขาย สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ถาวร สินทรัพย์รวม ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของอัตราหมุนเวียน (Turnover) A.Petcharee Sirikijjakajorn

29 3.1 อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover)
= ต้นทุนขาย / สินค้าคงคลัง หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่ากิจการสามารถแปลงสินค้าคงคลังออกไปขายได้กี่ครั้ง ในรอบบัญชีหนึ่งๆ ยิ่งมาก ยิ่งดี เพราะสามารถเปลี่ยนสินค้าคงคลังเป็นเงินสดรับได้เร็ว หรือ มากครั้งในรอบบัญชีหนึ่งๆ A.Petcharee Sirikijjakajorn

30 3.1 อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง (Inventory Turnover)
= ต้นทุนขาย / สินค้าคงคลัง ปี 2544 = 675,000 / 80,000 = 8.44 รอบ ปี 2545 = 817,000 / 100,000 =8.17 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

31 3.2 ระยะเวลาขายสินค้าคงคลัง (Days’ Sales Inventory)
= 360 / อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง หน่วยเป็นวัน แสดงให้เห็นว่ากิจการใช้เวลานานเท่าไหร่ในการแปลงสินค้าคงคลังออกไปขาย ยิ่งน้อย ยิ่งดี เพราะใช้เวลาน้อยวันในการเปลี่ยนสินค้าคงคลังออกไปขาย A.Petcharee Sirikijjakajorn

32 3.2 ระยะเวลาขายสินค้าคงคลัง (Days’ Sales Inventory)
= 360 / อัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง ปี 2544 = 360 / รอบ = 43 วัน ปี 2545 = 360 / 8.17 รอบ = 45 วัน ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 35 วัน A.Petcharee Sirikijjakajorn

33 3.3 อัตราหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (A/R Turnover)
= ยอดขายเชื่อ / ลูกหนี้การค้า หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่ากิจการสามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้กี่ครั้งในรอบบัญชีหนึ่งๆ ยิ่งมาก ยิ่งดี เพราะสามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้เร็ว หรือ มากครั้งในรอบบัญชีหนึ่งๆ A.Petcharee Sirikijjakajorn

34 3.3 อัตราหมุนเวียนลูกหนี้การค้า (A/R Turnover)
= ยอดขายเชื่อ / ลูกหนี้การค้า ปี 2544 = 1,500,000 / 100,000 = 15 รอบ ปี 2545 = 1,900,000 / 120,000 = รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 18 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

35 = ลูกหนี้เฉลี่ย / ยอดขายเชื่อเฉลี่ยต่อวัน
3.4. ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (Days’ Sales Outstanding) : DSO = ลูกหนี้เฉลี่ย / ยอดขายเชื่อเฉลี่ยต่อวัน หน่วยเป็นวัน บางทีเรียกว่า Average Collection Period : ACP แสดงให้เห็นว่ากิจการใช้เวลานานเท่าไรในการเก็บเงินจากลูกหนี้การค้า ยิ่งน้อย ยิ่งดี แสดงว่า ใช้เวลาน้อยวันในการเก็บเงินจากลูกหนี้การค้า A.Petcharee Sirikijjakajorn

36 ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 20 วัน
3.4. ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (Days’ Sales Outstanding) : DSO = ลูกหนี้เฉลี่ย / ยอดขายเชื่อเฉลี่ยต่อวัน *** ปี = 100,000 / 1,500,000 / = 24 วัน ปี = 120,000 / 1,900,000 / = 23 วัน ปี ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 20 วัน ***ยอดขายเฉลี่ยต่อวัน = ยอดขายทั้งปี / 360 วัน A.Petcharee Sirikijjakajorn

37 3.5 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Turnover)
= ยอดขาย / สินทรัพย์ถาวร หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่าสำหรับเงินทุกบาทของการใช้สินทรัพย์ถาวร กิจการสามารถก่อให้เกิดยอดขายได้กี่เท่า ยิ่งมาก ยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

38 3.5 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร (Fixed Assets Turnover)
= ยอดขาย / สินทรัพย์ถาวร ปี 2544 = 1,500,000 / 720,000 = 2.08 รอบ ปี 2545 = 1,900,000 / 800,000 = 2.38 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 3.4 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

39 3.6 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover)
= ยอดขาย / สินทรัพย์รวม หน่วยเป็นเท่า หรือ รอบ แสดงให้เห็นว่าสำหรับเงินทุกบาทของการใช้สินทรัพย์รวม กิจการสามารถก่อให้เกิดยอดขายได้กี่เท่า ยิ่งมาก ยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

40 3.6 อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม (Total Assets Turnover)
= ยอดขาย / สินทรัพย์รวม ปี 2544 = 1,500,000 / 950,000 = 1.58 รอบ ปี 2545 = 1,900,000 / 1,080,000 = 1.76 รอบ ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 2 รอบ A.Petcharee Sirikijjakajorn

41 4. อัตราส่วนวัดความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratio)
แสดงความสามารถในการทำกำไรของกิจการ ที่เกิดจาก การใช้สินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ ส่วนใหญ่อยู่ในรูปผลตอบแทน A.Petcharee Sirikijjakajorn

42 4.1 อัตราส่วนกำไรสุทธิ (Net Profit Margin)
= (กำไรสุทธิ / ยอดขาย) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) แสดงให้เห็นว่าทุกบาทของยอดขายที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดกำไรสุทธิกี่บาท หรือ กี่เปอร์เซนต์ ยิ่งมากยิ่งดี แต่ถ้าเป็นกรณีลดราคาเพื่อขายเอาปริมาณ ต้องพิจารณาดูอีกที A.Petcharee Sirikijjakajorn

43 4.1 อัตราส่วนกำไรสุทธิ (Net Profit Margin)
= (กำไรสุทธิ / ยอดขาย) * 100 ปี 2544 = (434,000 / 1,500,000)*100 = % ปี 2545 = (598,000 / 1,900,000)*100 = % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 35 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

44 4.2 อัตราผลตอบแทนจากกำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin)
= (กำไรขั้นต้น / ยอดขาย) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) หาอัตราผลตอบแทนหลังจากหักต้นทุนการผลิต แสดงถึงโครงสร้างของต้นทุนต่อยอดขาย ยิ่งสูง ยิ่งดี แสดงถึงความสามารถในการหารายได้ และควบคุมต้นทุนการผลิตดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

45 4.2 อัตราผลตอบแทนจากกำไรขั้นต้น (Gross Profit Margin)
= (กำไรขั้นต้น / ยอดขาย) * 100 ปี 2544 = (825,000 / 1,500,000)*100 = 55 % ปี 2545 = (1,083,000 / 1,900,000)*100 = 57 % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 61 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

46 4.3 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets : ROA)
= (กำไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) แสดงให้เห็นว่าทุกบาทของสินทรัพย์ที่กิจการใช้ ก่อให้เกิดกำไรสุทธิกี่บาท หรือ กี่เปอร์เซนต์ ยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

47 4.3 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets : ROA)
= (กำไรสุทธิ / สินทรัพย์รวม) * 100 ปี 2544 = (434,000 / 950,000)*100 = % ปี 2545 = (598,000 / 1,080,000)*100 = % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 58 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

48 4.4 อัตราผลตอบแทนส่วนของเจ้าของ (Return on Equity: ROE)
= (กำไรสุทธิ / ส่วนของเจ้าของ) * 100 หน่วยเป็นร้อยละ (%) แสดงให้เห็นว่าทุกบาทของเงินทุนที่ผู้ถือหุ้นลงไป ก่อให้เกิดกำไรสุทธิกี่บาท หรือ กี่เปอร์เซนต์ ยิ่งมากยิ่งดี A.Petcharee Sirikijjakajorn

49 4.4 อัตราผลตอบแทนส่วนของเจ้าของ (Return on Equity: ROE)
= (กำไรสุทธิ / ส่วนของเจ้าของ) * 100 ปี 2544 = (434,000 / 450,000)*100 = % ปี 2545 = (598,000 / 505,000)*100 = % ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 120 % A.Petcharee Sirikijjakajorn

50 5. อัตราส่วนมูลค่าตลาด (Market Value Ratio)
นำข้อมูลที่ไม่ได้อยู่ในงบการเงินมาช่วยในการคิดคำนวณ ข้อมูลนั้น คือ ราคาตลาดต่อหุ้นของหุ้นสามัญ (Market price per share) ข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนงบการเงิน คือ ข้อมูลทางบัญชี (Book value) A.Petcharee Sirikijjakajorn

51 5.1 กำไรต่อหุ้น (Earnings per Share)
= (กำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / จำนวนหุ้นสามัญ) หน่วยเป็นบาท วัดผลตอบแทนจากการลงทุนของผู้ถือหุ้นหลังจากหักดอกเบี้ย ภาษี เงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ และสำรองกำไรสะสมแล้ว A.Petcharee Sirikijjakajorn

52 5.1 กำไรต่อหุ้น (Earnings per Share) EPS
= (กำไรส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ / จำนวนหุ้นสามัญ) ปี = 434,000 / 20,000 หุ้น = บาท ปี = 598,000 / 20,000 หุ้น = บาท A.Petcharee Sirikijjakajorn

53 5.2 เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (Dividend Per Share)
= (เงินปันผลจ่าย / จำนวนหุ้นสามัญ) หน่วยเป็นบาท แสดงเงินปันผลที่กิจการจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญเป็นการตอบแทนการลงทุน A.Petcharee Sirikijjakajorn

54 5.2 เงินปันผลจ่ายต่อหุ้น (Dividend Per Share) DPS
= (เงินปันผลจ่าย / จำนวนหุ้นสามัญ) ปี = 200,000 / 20,000 หุ้น = 10 บาท A.Petcharee Sirikijjakajorn

55 A.Petcharee Sirikijjakajorn
5.3 อัตราการจ่ายปันผล = ( DPS / EPS ) * 100 หน่วยเป็น % นโยบายจ่ายปันผล 40% EPS 10 บาท/หุ้น DPS=Do 4 บาท/หุ้น A.Petcharee Sirikijjakajorn

56 A.Petcharee Sirikijjakajorn
5.3 อัตราการจ่ายปันผล = ( DPS / EPS ) * 100 ปี = (10 / 29.9) * 100 = % A.Petcharee Sirikijjakajorn

57 5.4 อัตราส่วนราคาต่อกำไร Price-Earnings Ratio: P/E Ratio
= (ราคาตลาดต่อหุ้น / กำไรต่อหุ้น) หน่วยเป็นเท่า ชี้ให้นักลงทุนเห็นว่าหุ้นสามัญของกิจการราคาถูก หรือ แพง และนักลงทุนยินดีจ่ายค่าหุ้นเท่าไร เปรียบเทียบกับกำไรที่ธุรกิจทำมาหาได้ A.Petcharee Sirikijjakajorn

58 5.4 อัตราส่วนราคาต่อกำไร (Price-Earnings Ratio: P/E Ratio)
กรณี P/E สูงอาจแสดงว่ากิจการมีโอกาสโตได้อีก แต่ถ้ากิจการไม่มีกำไร P/E ก็สูงได้เช่นกัน จึงต้องระวังเวลาวิเคราะห์ ผู้ลงทุนมักลงทุนในหุ้นที่มีอัตราส่วนนี้ต่ำเมื่อเทียบกับหุ้นอื่นในอุตสาหกรรมเดียวกัน ต่ำไป ไม่น่าสนใจ A.Petcharee Sirikijjakajorn

59 5.4 อัตราส่วนราคาต่อกำไร Price-Earnings Ratio: P/E Ratio
= (ราคาตลาดต่อหุ้น / กำไรต่อหุ้น) ปี = 15 / = เท่า ปี 2545 ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 0.8 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

60 5.5 ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี Market-to-Book Ratio
= ราคาตลาดต่อหุ้น / มูลค่าบัญชีต่อหุ้น หน่วยเป็นเท่า มูลค่าบัญชีต่อหุ้น = ส่วนของเจ้าของ / จำนวนหุ้นสามัญ เปรียบเทียบราคาตลาดปัจจุบัน กับ ราคาที่ผู้ถือหุ้นของกิจการจ่ายไปเมื่อเริ่มต้นดำเนินกิจการ A.Petcharee Sirikijjakajorn

61 5.5 ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี Market-to-Book Ratio
= ราคาตลาดต่อหุ้น / มูลค่าบัญชีต่อหุ้น ปี 2545 มูลค่าตามบัญชี = 505,000 / 20,000 = บาท ราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี = 15 / = 0.60 เท่า A.Petcharee Sirikijjakajorn

62 ปัญหาของการวิเคราะห์งบการเงิน
บริษัทหลายบริษัทไม่ได้ทำธุรกิจประเภทเดียว วิธีการดำเนินธุรกิจต่างกัน ปัญหาเรื่องนโยบายบัญชี บริษัทปิดรอบบัญชีไม่ตรงกัน กรณีกิจการมีการขายสินทรัพย์อาจมีผลต่อผลการดำเนินงานทางการเงินของกิจการ A.Petcharee Sirikijjakajorn

63 A.Petcharee Sirikijjakajorn

64 A.Petcharee Sirikijjakajorn


ดาวน์โหลด ppt A.Petcharee Sirikijjakajorn

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google