ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความรู้เบื้องต้นเรื่องการวิจัย
โดย เมธี สูตรสุคนธ์
2
ความหมาย การศึกษาข้อเท็จจริงของปรากฏการณ์ อย่างมีวัตถุประสงค์ และมีระเบียบวิธี การศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคมแบบวิทยาศาสตร์ โดยกระบวนทัศน์แบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Paradigm)
3
กระบวนทัศน์แบบวิทยาศาสตร์
การคิดแบบเหตุผล (Rationalism) ทุกสิ่งเชื่อมโยงกันโดยเหตุผล การคิดเชิงประจักษ์ (Empiricism) ทุกสิ่งจับต้องได้ วัดได้ การคิดแบบจักรกล (Mechanism) ทุกสิ่งสัมพันธ์กันเหมือนเป็นจักรกล
4
เหตุ ผล แรงดึงดูด ของตกสู่พื้น
5
รวบรวมข้อมูล/พิสูจน์สมมุติฐาน
สรุป รวบรวมข้อมูล/พิสูจน์สมมุติฐาน ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน สังเกต
6
การวิจัยทางกายภาพ คุณสมบัติทางกายภาพ Physical Qualification ค่อนข้างคงที่ การวิจัยทางสังคม คุณสมบัติทางสังคม Social Qualification ค่อนข้างไม่คงที่
7
การวิจัยเชิงคุณภาพ สรุป มีส่วนร่วม สร้างกรอบแนวคิด สังเกต
8
เก็บข้อมูล / ทดสอบสมมุติฐาน
การวิจัยเชิงปริมาณ สรุป เก็บข้อมูล / ทดสอบสมมุติฐาน ตั้งคำถาม / สมมุติฐาน สังเกต / ทฤษฎี
9
วิจัยเชิงทดลอง กลุ่มทดลอง O1 E O2 กลุ่มควบคุม O1 O2
O = Observation การสังเกต E = Experiment การทดลอง
10
การวิจัย และพัฒนา R & D R1 D1 R2 D2 Rn Dn
11
หัวข้อวิจัย (PVs.= Problematic Variables)
การกำหนดความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นปัญหา ความสำคัญ - ปรากฏการณ์ - ทฤษฎี - ระเบียบวิธี
12
องค์อินทรีย์ ระบบใหญ่ ระบบย่อย
13
(Independent Variables) (Dependent Variables)
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ ตัวแปรที่เมื่อตัวเองเปลี่ยนไปจะเป็นผลให้ตัวแปรตามเปลี่ยนตาม ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ตัวแปรที่จะเปลี่ยนค่าตามเมื่อตัวอิสระเปลี่ยนค่าไป
14
ตัวแปรตาม (ผล) ตัวแปรอิสระ (เหตุ) - ตัวแปรมาตรฐาน - ตัวแปรเชิงนโยบาย
- ตัวแปรแทรกซ้อน - ตัวแปรภายนอก ตัวแปรตาม (ผล)
15
ตัวแปรมาตรฐาน ปัจจุบันมักใช้ Demographic Data SES (Social & Economic Status) คุณลักษณะ เป็นคุณลักษณะส่วนตัวไม่ได้มุ่งศึกษาโดยตรง บอกความน่าเชื่อถือ หรือความเป็นตัวแทนของประชากร เปลี่ยนแปลงได้ยาก หรือช้า
16
ตัวแปรเชิงนโยบาย - เป็นตัวแปรที่จัดการได้ ตัวแปรแทรกซ้อน - ตัวแปรที่ไม่ได้ศึกษา แต่ส่งผลต่อการศึกษา ตัวแปรภายนอก - ตัวแปรที่ไม่ได้ศึกษาและมีขนาดใหญ่เกินการควบคุม
17
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
18
ตัวแปร ตัวชี้วัด เกณฑ์ชี้วัด
อร่อย 1. ตักซ้ำ % 2. สั่งซ้ำ % 3. แนะนำ % 4. Take home 4. ????
19
วัตถุระสงค์ในการวิจัย
โจทย์วิจัย 1.ตัวแปรตามเป็นอย่างไร 2.อะไรเป็นผลให้เกิดตัวแปรตาม วัตถุระสงค์ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาตัวแปรตาม 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรตาม
20
ความน่าเชื่อถือของงานวิจัย
ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัย คือ 1.เครื่องมือที่สร้างสามารถวัดได้จริง 2.กลุ่มตัวอย่างที่รวบรวมมาสามารถ เป็นตัวแทนประชากรได้จริง
21
ระดับการวัด 1.Nominal Scale การวัดแบบกลุ่ม นามบัญญัติ
2.Ordinal Scale การวัดแบบอันดับ 3.Interval Scale การวัดแบบช่วง อันตรภาคชั้น 4.Ratio Scale การวัดแบบอัตราส่วน
22
หลักการวัด 1.Validity ความเที่ยง ความเที่ยงตรง 1.1 Structural Validity ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (ครบ) 1.2 Content Validity ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (ตรง) 2.Reliabilty ความเชื่อมั่น 3.Sensibilty/Discriminant ความว่องไวในการวัด / อำนาจจำแนก 4.Meaningfulness การสื่อความหมาย
23
เครื่องมือที่ใช้ 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบทดสอบ 3. แบบสังเกต 4. แบบสอบถาม
4.1 แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง (คำถามปลายปิด) 4.2 แบบสอบถามแบบไม่มีโครงสร้าง (คำถามปลายเปิด)
24
ประเภทคำถามของแบบสอบถามแบบปลายปิด
Check list Multiple Choices Multiple Response Rank Priority Rating Scale
25
คำถามแบบ Check List คำถามที่มี 2 คำตอบเลือกได้ 1 คำตอบ
เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง เคยฝึกงานหรือไม่ ( ) เคย ( ) ไม่เคย มีอาการแพ้ยาหรือไม่ ( ) ไม่ ( ) แพ้ ท่านมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯหรือไม่ ( ) ใช่ ( ) ไม่ใช่
26
คำถามแบบ Multiple Choices
คำถามที่มีตั้งแต่ 3 คำตอบขึ้นไปเลือกได้ 1 คำตอบ ท่านชอบไปเที่ยวที่ใด ( ) บางแสน ( ) พัทยา ( ) ชะอำ ( ) หัวหิน
27
คำถามแบบ Multiple Responses
คำถามที่มีตั้งแต่ 3 คำตอบขึ้นไปเลือกได้มากกว่า 1 คำตอบ ท่านชอบไปเที่ยวที่ใดบ้าง ( ) บางแสน ( ) พัทยา ( ) ชะอำ ( ) หัวหิน
28
คำถามแบบ Rank Priority
คำถามที่ให้เรียงลำดับคะแนน ท่านชอบไปเที่ยวที่ใดมากที่สุด ให้เรียงลำดับ จาก 1 ถึง 3 โดย 1 = ชอบมากที่สุด จนถึง 3 = น้อยที่สุด ..... บางแสน ..... พัทยา ..... ชะอำ ..... หัวหิน
29
คำถามแบบ Rating Scale
30
คำถามแบบ Rating Scale 2
31
ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
สามารถเป็นอ้างอิงเป็นตัวแทนประชากรได้ ประกอบด้วยปัจจัย 2 ประการ ขนาดตัวอย่างใหญ่เพียงพอ การสุ่มมีการกระจายตัวดีพอ
32
เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น - ใช้วัดกระแส (Non probability sampling) การสุ่มแบบใช้ความน่าจะเป็น - ใช้อ้างอิงประชากร (Probability sampling)
33
การสุ่มแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น
สุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) สุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) สุ่มแบบโควต้า (Quota Sampling) สุ่มแบบลูกบอลหิมะ (Snowball Sampling)
34
การสุ่มแบบใช้ความน่าจะเป็น
สุ่มแบบง่าย (Simple Random Sampling) สุ่มแบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) สุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) สุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) สุ่มแบบหลายชั้น (Multi - stage Sampling)
35
การทดสอบสมมุติฐาน Null Hypothesis = H0 Alternative Hypothesis = H1 Critical Point = จุดวิกฤติที่ยอมรับ Critical Area = พื้นที่วิกฤติที่ยอมรับ Error Type A = ยอมรับ H1 ทั้งที่ไม่ใช่ Error Type B = ปฏิเสธ H1 ทั้งที่ใช่
36
สมมุติฐานแบบหางเดียว
37
สมมุติฐานแบบสองหาง
38
สถิติที่ใช้ 1. สถิติพรรณา (Descriptive Statistics) การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง - มัธยฐาน (Median) - ฐานนิยม (Mode) - ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
39
2. สถิติอ้างอิงเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.