งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
สุปราณี ดาโลดม กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 25 กุมภาพันธ์ 2552

2 ความคาดหวัง ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
สุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี ผู้สูงอายุ = ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป สภาพช่องปาก : ปี,70-79 ปี, 80,90 ปีขึ้นไป ??? สภาพร่างกาย : ดูแลตนเองได้ ช่วยสังคมได้ พอจะดูแลตนเองได้ ดูแลตนเองไม่ได้ ???

3 สุขภาพช่องปากดี มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม ไม่มีโรคในช่องปาก
มีโรคในช่องปาก แต่ ได้รับการรักษาแล้ว พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น

4 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน
มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม - ฟันแท้อย่างน้อย 20 ซี่ (nat.survey) : 49%(43-44) % (50) - ฟันแท้/เทียม4 คู่สบ (survey รายปี) : 44% (ปี48) % (ปี 51) - สูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ 92%(43-44) % (50) - สูญเสียฟันทั้งปาก 8%(43-44) % (50)

5 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน
ไม่มีโรคในช่องปาก มีโรคในช่องปาก แต่ได้รับการรักษาแล้ว - ฟันผุ % / 55% ไม่ได้รักษา - รากฟันผุ 21% / รักษา 2% - ปริทันต์ pocket 4-5mm. 36%(43-44) %(50) pocket > 6mm. 15 %(43-44) % (50) การเข้าถึงบริการทันตสุขภาพทุกกลุ่มอายุ : ปี 2550 ร้อยละ 8.4

6 สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในปัจจุบัน
พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น ผู้ที่มีฟัน : แปรงฟัน 74% แปรง+อุปกรณ์เสริม 7% ผู้ที่ไม่มีฟัน : แปรง 0.8% บ้วนปาก 1.4% ผู้ที่ใส่ฟันเทียม : แปรง 22% ล้างฟันเทียม 3 % สูบบุหรี่ 18% (7 มวน/วัน) เคี้ยวหมาก 17% ไม่เคยไปรับบริการทันตกรรม 67%

7 การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
2548 ฟันเทียมพระราชทาน : สูญเสียฟันทั้งปาก

8 การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
2549 ชมรมผู้สูงอายุ : ดูแลอนามัยช่องปากตนเอง 7 จังหวัด 27 ชมรมในปี 2549 37 จังหวัด 120 ชมรมในปี 2551

9

10

11 กรอบแนวคิด ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ สสจ. CUP PCU ชมรม ผู้สูงอายุ
มีภูมิปัญญา มีความรู้ พร้อมจะทำงานเพื่อส่วนรวม เข้าใจผู้สูงวัยด้วยกัน ชมรม เกิดกิจกรรมโดยชมรม (สุขภาพช่องปาก) - ให้ความรู้ - Self care / การเลือกกินอาหาร - ข่าวสาร - อื่นๆ ผู้สูงอายุ

12 เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
สาธารณสุข ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ อบต./เทศบาล สสจ. CUP PCU ชมรมผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาล สมาชิกผู้สูงอายุ สพช. สภาฯ ผู้สูงอายุ อสม. +………..

13 2550 มหกรรมการประชุมวิชาการ “คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย”
20-21 สค.50 ณ มิราเคิลแกรนด์ รร.มิราเคิล กรุงเทพฯ องค์ความรู้ เรื่อง สุขภาพ สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ นำเสนอผลการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับผู้สูงอายุ นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ ฯ นิทรรศการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

14 มหกรรมการประชุมวิชาการ
“คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย” 2550

15 2551 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานชมรม
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีค.51

16 2551 ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานชมรม
ภาคเหนือ ภาคกลาง 29 เมย.-1 พค.51

17 การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
2551 บริการทันตกรรมป้องกัน : กลุ่มเสี่ยง 21 จังหวัด 167 หน่วยบริการ - ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงและให้คำแนะนำ โดยภาคประชาชน หรือบุคลากรสาธารณสุข ประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปาก และจัดบริการป้องกัน โดยทันตบุคลากร - การส่งต่อเพื่อรับบริการรักษา และฟื้นฟู

18 สุขภาพช่องปากดี ??? มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม
ไม่มีโรคในช่องปาก มีโรคในช่องปาก แต่ ได้รับการรักษาแล้ว พฤติกรรม - รู้จักดูแลอนามัยช่องปากด้วยตนเอง หรือโดยผู้ดูแล - หลีกเลี่ยง หรือ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค - รับบริการตรวจสุขภาพช่องปากทุกปี - รับบริการป้องกัน รักษา ฟื้นฟูตามความจำเป็น

19 ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

20 เก็บสิ่งดี ๆ มารวมกัน

21 ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย
พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Goals : Healthy People Healthy Environment พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

22 มิติการดูแลผู้สูงอายุ
(นพ.เกษม เวชสุทธานนท์: สำนักบริหารการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ)  ไม่ใช่เพียงแต่การวินิจฉัยโรคและให้การรักษาโรคเป็นครั้งๆ  พยายามลด ป้องกันโรค/ทุพพลภาพ  แก้ปัญหาสุขภาพในเชิงกว้าง ทั้งจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ  ให้สามารถพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด  มีความมั่นคงในชีวิต มีคุณค่าศักดิ์ศรี นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี  ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ + ความร่วมมือจากบุคคล + องค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง

23 แนวคิดของการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุ
การเข้าถึงบริการ(Accessibility) เน้นความสะดวก - รับบริการใกล้บ้าน - หรือเข้าไปในชุมชน โดยหน่วยเคลื่อนที่ เยี่ยมบ้าน จัดกิจกรรมร่วมกับชมรมผู้สูงอายุ การดูแลอย่างต่อเนื่อง (Continuity of Care) การดูแลแบบองค์รวม(Holistic Care)

24 บริการแบบผสมผสาน (Integrated Care )
- รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพ - ครอบคลุมทั้งผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ครอบครัว และชุมชน - ครอบคลุม home care, day care, chronic care, end of life care การประสานการดูแล (Co-ordination of Care) - คู่มือ/แนวทางการดูแล - ระบบส่งต่อ การให้คำปรึกษา - การเชื่อมระบบข้อมูล - ประสานกับภาคประชาชน ชุมชน วัด ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

25 การเสริมพลังชุมชน (Community Empowerment) มีศักยภาพในการจัดการปัญหาผู้สูงอายุ
- การเข้าถึง ข้อมูล องค์ความรู้ - การรวมกลุ่ม วางแผน จัดการภายใน ระดมทรัพยากร - ประสาน ดำเนินการ ติดตามการทำงานด้วยตนเอง กิจกรรมตัวอย่างได้แก่ ชมรม กองทุน จิตอาสา การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุของชุมชน และท้องถิ่น

26 Care Provider / Case manager
ให้บริการด้านสุขภาพ ด้านรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ ให้ข้อมูลทางวิชาการ โดยเน้นที่เจ้าหน้าที่เป็นคนดำเนินการหลัก(Key actor) - Case manager การสนับสนุน ต่อยอดสิ่งที่ทำดีอยู่แล้ว ประสาน เชื่อมโยงกับแหล่งบริการ หรือแหล่งทรัพยากรอื่น ให้เกิด การดูแล การจัดการที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (stakeholder)

27 บทบาท : ผู้จัดการ ประสานการดูแล
 Case manager บทบาท : ผู้จัดการ ประสานการดูแล ตั้งแต่หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล ไปถึงที่บ้านและชุมชน หน้าที่ : Advocate and empowerment กระตุ้น สนับสนุน และ เสริมศักยภาพ ผู้สูงอายุ ผู้ดูแล ผู้นำชุมชน และผู้เกี่ยวข้องให้มีบทบาท มีส่วนร่วมหลักในการดูแลและจัดการ ปัญหาผู้สูงอายุ

28 แนวคิดการทำงานกับประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ
(อ.อรพิชญา + อ.มัทนา) เทคนิคการสื่อสารกับผู้สูงอายุ เข้าใจความซับซ้อนของผู้สูงอายุ อย่ายึดติดกับรูปแบบ จุดหมายเดียวกัน ไปได้หลายทาง ขยายกลุ่มเป้าหมาย ใช้หลายยุทธวิธีให้เสริมผลกัน เป็นแหล่งให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัย ฯลฯ

29 Oral and dental lesions in geriatric patients
(อ.อชิรวุธ สุพรรณเภสัช) Teeth and periodontal tissue Jaw bones and TMJ Oral mucosae Salivary glands Neurological disorders

30 วางแผนตรวจ เฝ้าระวัง มากกว่าการรักษา
รักษาทางทันตกรรมที่จำเป็น - เน้นคุณภาพมากกว่าปริมาณ - เหมาะกับสภาวะของแต่ละคน กระตุ้นความร่วมมือสมาชิกในครอบครัว (ชุมชน) ช่วยดูแลผู้สูงอายุ ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้สูงอายุให้มีการทำกิจกรรมร่วมกัน

31 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี
2. การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ พัฒนาทักษะ ทันตแพทย์ / ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ/ อสม. / อื่นๆ 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ - พัฒนางานส่งเสริม โดย อสม. - พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในสถานประกอบการ/ชุมชน 1. Reoriented Health Service โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน (ประมาณ 120,000 คน) - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ (21 จว. 167 หน่วยบริการ) โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรมฯ 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 5. รณรงค์สร้างกระแส - โครงการฟันเทียมพระราชทาน ร่วมกับหน่วยฯ พระราชทาน และเอกชน - “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และ “10 ยอดฟันดีวัย 80 ปี”

32 ระบบบริการทันตสุขภาพภาครัฐ - ภาคประชาชน
การดูแลสุขภาพ ช่องปากตนเอง การตรวจสุขภาพช่องปาก และให้คำแนะนำ การจัดบริการส่งเสริมป้องกัน การจัดบริการรักษา ควบคุมโรคและใส่ฟัน โดยชมรมผู้สูงอายุ โดยภาครัฐ โดยภาครัฐ โดยภาครัฐ -สร้างความเข้มแข็งให้ชมรม -ชมรมจัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ สร้างระบบการส่งต่อไป-กลับ มาตรการทางสังคม เฝ้าระวังด้านทันตสุขภาพ ตรวจสุขภาพช่องปาก ฝึกทักษะควบคุมคราบจุลินทรีย์ ฟลูออไรด์ ขูดหินน้ำลายและขัดฟัน จากชมรมผู้สูงอายุ จากคลินิกสูงอายุจากคลินิกทันตกรรม อื่น ๆ CUP/PCU/สอ./รพ.ตำบล สนับสนุน ให้คุณค่า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและเครือข่าย

33 สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบ
งานส่งเสริมสุขภาพ - Long term care, Home health care - 3 โรค : เบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม + การดูแลสุขภาพช่องปาก ??? งานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก - กลุ่มเสี่ยง - ชมรมผู้สูงอายุ - ฟันเทียมพระราชทาน + ค้นหากลุ่มเสี่ยงเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมองเสื่อม ??? - ลดโรคและการสูญเสียฟันในวัยทำงาน ???

34 Oral and dental lesions in geriatric patients
(อ.อชิรวุธ สุพรรณเภสัช) Teeth and periodontal tissue Jaw bones and TMJ Oral mucosae Salivary glands Neurological disorders

35 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google