การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
ในสถานบริการสุขภาพ จักรี ศรีแสง นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักโรคจาการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

2 กรอบข้อมูล ความเป็นมาของการดำเนินงาน การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดบริการเวชกรมสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

3 กรอบข้อมูล ความเป็นมาของการดำเนินงาน การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดบริการเวชกรมสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

4 สถานการณ์ประเด็นปัญหา มลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ความเป็นมา สถานการณ์ประเด็นปัญหา มลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

5 มลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง
เข้าใจถึงความหมาย “มลพิษสิ่งแวดล้อม” มลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมที่ปล่อยจากแหล่งกำเนิด หรือมีอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม หรือก่อให้เกิดภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้

6 TIME LINE Pollution in Thailand
พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2556 ประเด็นขยะ จ.กาฬสินธุ์ &บุรีรัมย์ การร้องเรียนกรณีแหล้งทิ้งกากของเสียอันตราย จ.สระบุรี การร้องเรียนกรณีโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติจะนะ จ.สงขลา ปัญหาสารหนู กระณีเหมืองทองวังสะพุง จ.เลย ประเด็นปัญหามาบตาพุด จ.ระยอง ปัญหาสารตะกั่วอุ้มผาง จ.ตาก ไหม้บ่อขยะ จ.สุทรปราการ จ.อยุธยา 2530 2535 2540 2545 2550 2555 ปัญหาเหมืองทองคำ จ.พิจิตร เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก พบผู้ป่วยพิษสารหนูเรื้อรังรายแรก อ.ร่อนพิบูล จ.นครศรีธรรมราช ไฟไหม้ท่าเรือเก็บสารเคมีคลองเตย กรุงเทพฯ การรั่วไหลของตะกั๋วในห้วยคลิตี้ โรงถลุงแร่ตะกั่ว จ.กาญจนบุรี พบ Cd ในข้าว จ.ตาก การร้องเรียนเสียงจากสนามบินสุวรรณภูมิ มหาอุทกภัย (น้ำท่วม) พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2541 ร้องเรียนเปิด โรงงานเหล็ก บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2534 มลพิษอากาศจากเผาขยะฉลองกรุง กทม. ประกาศพื้นที่ อ.พุทธบาท และใกล้เคียง จ.สระบุรี เป็นเขตควบคุมมลพิษ ปัญหาน้ำมันดิบรั่ว จ.ระยอง SO2 รั่วที่โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จ.ลำปาง CO-60 รั่ว ที่ จ.สมุทรปราการ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2555 พ.ศ พ.ศ. 2543 พบปรอทในปลา และลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม จ.ปราจีนบุรี พ.ศ. 2535 ปัญหาหมอกควันจากไฟป่าภาคเหนือรุนแรง ปัญหาลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรม จ.ฉะเชิงเทรา พ.ศ. 2547 ที่มา : งานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม กลุ่มเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม, 2558. พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556

7 ภาพรวมประเด็นปัญหาและกลุ่มเป้าหมาย
ตัวอย่างปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม มลพิษจากอุตสาหกรรม จ.ระยอง หมอกควันจากไฟป่า ในภาคเหนือตอนบน สารเคมีรั่วไหลที่คลองเตย ก.ท.ม. และมลพิษทางเสียงรอบสุวรรณภูมิ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ อ.แม่เมาะ จ.ลำปาง การปนเปื้อนของแคดเมียม ในนาข้าว อ.แม่สอด จ.ตาก สารปนเปื้อนในเหมือง ทองคำ จ.เลย และพิจิตร ฝุ่นละออง , ฝุ่นหินทราย และ ปัญหาบ่อขยะ จ.สระบุรี สารหนูที่ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช โรงไฟฟ้าลำตะคอง จ.นครราชสีมา การรับสัมผัสสารตะกั่ว ในเด็กปฐมวัย จากสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังฯ และเตรียมพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน Environmental กลุ่มเปราะบาง กลุ่มที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มผู้บริโภค -เด็ก -คนชรา -ผู้เจ็บป่วย -สตรีมีครรภ์ การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ที่มาข้อมูล: ประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ 2557

8 ประเด็นปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมกับการรับรู้ข้อมูล

9 นโยบายและแนวทางการดำเนินงานแบบบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2559
นโยบายของรัฐ นโยบาย รมว. แผนบูรณาการประเทศ 10 แผน แผนบูรณาการกระทรวง 1.ป้องกันและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ 1.โครงการพระราชดำริ 2.ความมั่นคง-ชายแดนภาคใต้ 8. สร้างความมั่นคง แก้ไขและพัฒนา จชต. ยาเสพติด 5.ยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข 5.1 ระบบหลักประกันสุขภาพ, ลดความเหลี่ยมล้ำ,บูรณาการข้อมูล 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง พัฒนาระบบประกันสุขภาพ 5.2 ระบบบริการ เน้นป้องกันการเจ็บป่วย กลไกระดับเขต ส่งเสริมภาครัฐและเอกชน 5.3 เฝ้าระวังโรคระบาด โรคอุบัติใหม่ และอุบัติซ้ำ 5.4 ป้องกันและลดอุบัติเหตุจราจร 5.6 ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2.เขตสุขภาพ 3.ส่งเสริม ป้องกันโรค 4.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกำลังคนและข้อมูล 5.พัฒนากำลังคน พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ขยะและสิ่งแวดล้อม เขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ แรงงานต่างด้าวและค้ามนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศฯ -พัฒนาระบบประกันสุขภาพ พัฒนาระบบบริการ พัฒนาด้านสาธารณสุข ควบคุมป้องกันโรค คุ้มครองผู้บริโภค พัฒนากำลังคน 5.7 ส่งเสริมการวิจัย 6. วิจัยและพัฒนาส่งเสริมภูมิปัญญาและสมุนไพรไทย วิจัยและพัฒนา 5.6 กฎหมายดูแลเรื่องอุ้มบุญฯ 11. ปรับปรุงกฎหมาย 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย พัฒนา/บังคับใช้กฎหมาย 7.ประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียน 10. ธรรมาภิบาลและป้องกันปราบปรามการทุจริต ป้องกันปราบปรามการทุจริต ที่มา: นโยบายและแนวทางการดำเนินงานแบบบูรณาการกระทรวง สธ. ปีงบประมาณ 2559 โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 15 ตุลาคม 2558

10 แนวทางการดำเนินงานตามแผนแบบบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2559
รมว.ข้อ 7, 8 บูรณาการ กสธ. : คุ้มครองผู้บริโภค : พัฒนากฎหมาย รมว.ข้อ 1,3,6 บูรณาการ ปท. : พัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต : ขยะและสิ่งแวดล้อม : แรงงานต่างด้าว/ค้ามนุษย์ : เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ : วิจัยและพัฒนา : เทคโนโลยีและระบบข้อมูล : ป้องกันควบคุมโรค 00 รมว.ข้อ 4 : อาเซียน : ป้องกันทุจริต : บริหารคน/เงิน/ของ : ธรรมภิบาล : บริหารจัดการเขต รมว.ข้อ 2,5 : ยาเสพติด : ชายแดนใต้ : พัฒนาระบบ : บริการ,ส่งต่อ กลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการแพทย์ กลุ่มภารกิจด้านสนับสนุนงานบริการสุขภาพ กลุ่มภารกิจด้านสาธารณสุข กลุ่มบริหาร ปลัดกระทรวงฯ โครงการพระราชดำริ ที่มา: นโยบายและแนวทางการดำเนินงานแบบบูรณาการกระทรวง สธ. ปีงบประมาณ 2559 โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข วันที่ 15 ตุลาคม 2558

11 DDC Policy 2016(ต่อเนื่องจาก2015)
15 โครงการสำคัญ GOAL *** Information (Technology) Innovation Intervention International standard Immediate 5 I มีความสุข สร้างคน สร้างระบบ งานสำเร็จ 3ส โครงการเฉลิมพระเกียรติฯ และพระราชดำริ พัฒนาระบบเฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ควบคุมโรคติดเขื้อในโรงพยาบาล วัยเด็ก : ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ วัยเรียน : ไข้เลือดออก อาหารเป็นพิษ วัยรุ่น : ขับเคลื่อนงานด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการบริโภคยาสูบ วัยทำงาน : ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและอุบัติเหตุ ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง : เอดส์และวัณโรค ระบบสุขภาพ อาเซียน ควบคุมโรคในประชากรข้ามชาติ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoral cooperation) ความมั่นคงด้านวัคซีน แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมควบคุมโรค (HRP/HRD/PMS) ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล พัฒนาวิชาการและการวิจัย

12 กรอบแนวคิด โรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพ (Occ. ) & สิ่งแวดล้อม (Env
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ประกอบอาชีพ (38.4 ล้านคน) การดูแลสุขภาพตามกลุ่มวัย : วัยทำงาน 1.กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม แรงงานนอกระบบ 22.1 ล้านคน กลุ่มเปราะบาง กลุ่มที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยง กลุ่มผู้บริโภค -เด็ก -คนชรา -ผู้เจ็บป่วย -สตรีมี ครรภ์ เกษตรกรรม 11.9 ล้านคน อุตสาหกรรม บริการ ในระบบประกัน สังคม 10.2 ล้านคน ราชการ 5.7 ล้านคน เฝ้าระวังฯ และเตรียมพร้อม ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน Env. การเฝ้าระวังฯ และเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้าน Occ. บริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม บริการอาชีวอนามัย 12

13 แผนงานหลัก (Master Plan)
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปี วิสัยทัศน์ ผู้ประกอบอาชีพและประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลให้ปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมเพื่อนำไปสู่ภาวะที่ยั่งยืนภายในปี 2568 พันธกิจ 1.ผู้ประกอบอาชีพและประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ปลอดภัยจากการทำงานและไม่ได้ผลกระทบจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม 2.หน่วยงานภาครัฐมีการกำหนดมาตรฐาน ออกกฎหมายและควบคุมกำกับให้เกิดการบังคับใช้ มีการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างความร่วมมือเครือข่าย 3.ผู้ประกอบการและนายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายและมีความรับผิดชอบต่อผู้ประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมของสังคม 4.NGO สร้างเครือข่ายให้เข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน เป้าประสงค์ 1.มีนโยบาย กฎหมาย การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคที่ทันสมัยสอดคล้องกับปัญหาและมีการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ผู้ประกอบอาชีพและประชาชนสามารถเข้าถึงบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่ได้มาตรฐาน 3.ผู้ประกอบอาชีพ ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายมีศักยภาพสามารถเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม และมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพฯ ที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพและสภาพแวดล้อมได้ กลยุทธ์ 1.พัฒนาและผลักดันนโยบาย กฎหมาย มาตรการด้านการบริหารจัดการงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพฯ ในทุกระดับ รวมทั้งมีการติดตามประเมินผล P1, P2, P5 2.พัฒนาระบบบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม โดยภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งเชิงรุกและเชิงรับให้ได้มาตรฐาน และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย P3 3.พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายการดำเนินงานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพฯ ในทุกระดับ โดยเฉพาะเครือข่ายในระดับ อปท. P4, P5 4.พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพฯ และการสื่อสารเตือนภัยและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้ได้ตามมาตรฐานสากล P6, P7, P8 แผนงานหลัก (Master Plan) P1 แผนพัฒนากลไกทางกฎหมายและนโยบายการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม P2 แผนพัฒนาวิชาการและมาตรฐานการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม P3 แผนพัฒนาและประเมินคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม P4 แผนพัฒนากำลังคนและเครือข่ายด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม P5 แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมายให้มีความเข้มแข็งในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมและจัดการปัญหาโรคและภัยสุขภาพฯ P6 แผนพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมความเสี่ยงด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม P7 แผนพัฒนาการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม P8 แผนพัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ( ปรับแก้ไข หลังประชุมเตรียมการฯ เมื่อ 8 กรกฎาคม 2558 )

14 กรอบแนวคิดการดำเนินงานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
แผนบูรณาการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม แผนการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในประชาชนและคนทำงาน คัดแยกและรีไซเคิลขยะ พื้นที่ 8 จังหวัด แผนคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่เสี่ยง 36 จังหวัด + 1 จังหวัด (Hot Zone) พัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพประชาชน จากมลพิษสิ่งแวดล้อม (10 จังหวัด)  พัฒนาการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการสุขภาพ (รพ. 11 แห่ง)  เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการสัมผัสสารตะกั่วในเด็กปฐมวัย ขยะทั่วไป ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ ขยะติดเชื้อ สารเคมีและวัตถุอันตราย มลพิษทางอากาศ สิ่งที่อาจเป็นประเด็นปัญหาในอนาคต สมุทรปราการนครศรีธรรมราชกาญจนบุรี, อยุธยา, ขอนแก่น บุรีรัมย์, กาฬสินธุ์, อุบลราชธานี อุบลราชธานี (Pilot) เหมืองเก่า (ตะกั่ว สารหนู) หมอกควัน นิคมอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเกษตร ประมง การผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักรและชิ้นส่วน เป็นต้น เหมืองหิน และโรงโม่หิน เขตเศรษฐกิจ พิเศษ เหมืองโปแตซ เหมืองสังกะสี โรงไฟฟ้าถ่านหิน เหมืองทองคำ โรงไฟฟ้าชีวมวล พื้นที่ 10 จังหวัดเป้าหมาย : ตาก ตราด สระแก้ว มุกดาหาร สงขลา เชียงราย กาญจนบุรี หนองคาย นครพนม และ นราธิวาส ขยะฯ เฝ้าระวังตะกั่ว ในเด็ก พัฒนากลไกการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ( ปรับแก้ไข หลังประชุมกลุ่ม เมื่อ 26 ตุลาคม 2558 )

15 - กำหนดนโยบาย ทิศทางและยุทธศาสตร์การดำเนินงาน
การดำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองสุขภาพประชาชน ในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม (Hot Zone) พ.ศ - พื้นที่ 36 จังหวัดเสี่ยงมลพิษ สารเคมี สารอันตราย, มลพิษทางอากาศ และพื้นที่คาดว่าจะมีปัญหา (+ 1 จังหวัด) (รพศ./รพท. 27 แห่ง, รพช. 105 แห่ง, รพ.สต. 1,078 แห่ง) พื้นที่เป้าหมาย ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย - ประชาชนที่สัมผัสความเสี่ยง จำนวนโดยประมาณ 8,289,820 คน เป้าหมาย/ตัวชี้วัดการดำเนินงาน 1. ร้อยละ 80 ของจังหวัดพื้นที่เสี่ยง มีระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (29 จังหวัด จาก 36 จังหวัด) “ระบบจัดการสุขภาพ” หมายถึง มีข้อมูลเฝ้าระวังทาง สวล.+สุขภาพ , ประเมินความเสี่ยง/การตรวจคัดกรอง, สื่อสารความเสี่ยง/ ให้ความรู้, ระบบการตรวจวินิจฉัย/รักษา/ส่งต่อ และมีฐานข้อมูล/สถานการณ์ 2. ทุกจังหวัดพื้นที่เสี่ยง (36 จังหวัดเป้าหมาย +1 จังหวัด) ต้องมีรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ส่วนกลาง/ประเทศ คกก. พัฒนาและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพฯ (รองปลัด ,อธิบดี, ผู้ตรวจราชการฯลฯ) - กำหนดนโยบาย ทิศทางและยุทธศาสตร์การดำเนินงาน - อำนวยการและสนับสนุนการดำเนินงาน เขตสุขภาพ คทง. ติดตามการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพฯ (ผู้ตรวจราชการ, สาธารณสุขนิเทศ, สคร., ศูนย์อนามัย, นพ. สสจ, ผอ.รพ ฯลฯ) - สนับสนุน ผลัดดัน ติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม จังหวัด - จัดตั้ง คทง.ในระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล ตามบริบทในแต่ละ พท. - จัดตั้งคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) สสจ. - จัดทำฐานข้อมูล สวล.+สุขภาพ - ทำสถานการณ์การเฝ้าระวัง - สนับสนุน/นิเทศ/ประสานงาน ดำเนินการในภาวะปกติและฉุกเฉิน รพศ./รพท. (Env.-Occ. Unit) - มีระบบรับรักษา และ Refer - จัดบริการเชิงรุก+รับ - จัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยจาก สวล. รพช. (Env.-Occ. Center) - จัดบริการเชิงรุก : ตรวจประเมินความเสี่ยงสุขภาพ/คัดกรองและมีฐานข้อมูลสุขภาพ - เชิงรับ : เฝ้าระวัง, รักษา , Refer รพ.สต.+หมอครอบครัว (Env.-Occ Clinic) - สำรวจ/ ประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น/ คัดกรอง/ Refer - สื่อสารความเสี่ยง/ให้ความรู้ - เยี่ยมบ้าน/ Follow up. การดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

16 การดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานคุ้มครองสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม เหมืองทองคำ/เหมืองเก่า การดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม พื้นที่ Hot zone 36 จังหวัด + 1 จังหวัด ต้องมี “ระบบจัดการสุขภาพ” คือ (1) มีข้อมูลเฝ้าระวังทาง สวล.+สุขภาพ ของ พท. (2) มีการประเมินความเสี่ยง/การตรวจคัดกรอง (3) สื่อสารความเสี่ยง/ให้ความรู้ (4) ระบบการตรวจวินิจฉัย/รักษา/ส่งต่อ (5) มีฐานข้อมูล/สถานการณ์ (6) ฯลฯ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ มลพิษสารเคมี และสารอันตราย หมอกควัน ฝุ่นละออง การติดตามประเมินผล มลพิษทางอากาศ โรงไฟฟ้าชีวมวล / ถ่านหิน (1) ติดตามประเมินผล ผ่านการตรวจราชการของเขตสุขภาพ (2) การติดตามจากการลงพื้นที่ ผ่าน สคร. เขตเศรษฐกิจพิเศษ ผลผลิตจากการดำเนินงาน พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ (1) เกิด “ระบบจัดการสุขภาพ” ในพื้นที่ Hot zone (2) ได้ รายงานสถานการณ์ฯ รายจังหวัด 36+1 จว. นิคมอุตสาหกรรม

17 มลพิษสารเคมี และสารอันตราย
รายละเอียดของการดำเนินงานพื้นที่ 36 จังหวัดเสี่ยง (Hot zone) ปีงบประมาณ 2559 ประเภท พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยงตามเขตสุขภาพ 1.1. พื้นที่เหมืองทอง เขต 2 เพชรบูรณ์ พิษณุโลก เขต 3 พิจิตร เขต 8 เลย 1.2 พื้นที่เหมืองเก่า เขต 2 ตาก (แม่สอด) เขต 5 กาญจนบุรี เขต 11 นครศรีธรรมราช 1.3 พื้นที่ที่มีปัญหาขยะ เขต 7 กาฬสินธุ์ เขต 9 บุรีรัมย์ เขต 10 อุบลราชธานี 1.4 เหมืองโปแตช เขต 8 อุดรธานี เขต 9 ชัยภูมิ มลพิษสารเคมี และสารอันตราย

18 รายละเอียดของการดำเนินงานพื้นที่ 36 จังหวัดเสี่ยง (Hot zone) ปีงบประมาณ 2559
ประเภท พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยงตามเขตสุขภาพ 2.1 เหมืองหิน/โรงโม่ เขต 4 สระบุรี เขต 9 นครราชสีมา (พื้นที่ +1 จังหวัด) 2.2 หมอกควัน เขต 1 เชียงใหม่ เชียงราย แพร่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน ลำปาง เขต 2 ตาก 2.3 มลพิษอากาศจากโรงไฟฟ้าชีวมวล เขต 5 ประจวบคีรีขันธ์ เขต 7 ร้อยเอ็ด เขต 9 บุรีรัมย์ สุรินทร์ มลพิษทางอากาศ

19 รายละเอียดของการดำเนินงานพื้นที่ 36 จังหวัดเสี่ยง (Hot zone) ปีงบประมาณ 2559
ประเภท พื้นที่เสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง รายชื่อจังหวัดที่มีพื้นที่เสี่ยงตามเขตสุขภาพ 3.1 พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ เขต 1 เชียงราย เขต 2 ตาก เขต 5 กาญจนบุรี เขต 6 สระแก้ว ตราด เขต 8 หนองคาย นครพนม เขต 10 มุกดาหาร เขต 12 สงขลา นราธิวาส 3.2. พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม เขต 4 พระนครศรีอยุธยา เขต 5 สมุทรสาคร เขต 6 ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ระยอง สมุทรปราการ 3.3 พื้นที่โรงไฟฟ้าถ่านหิน เขต 1 ลำปาง เขต 11 กระบี่ เขต 12 สงขลา พื้นที่ที่คาดว่าจะมีปัญหาสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ

20 ระบบการดำเนินงานเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนกลาง คณะกรรมการพัฒนาและขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพประชาชนในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม รวบรวม + ส่งรายงานสถานการณ์ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ กรมควบคุมโรค รวบรวม + ส่งรายงานสถานการณ์ สคร. ศอ. เขตสุขภาพ เป็นทีมเลขานุการฯ คณะทำงานติดตามการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง รายเขตฯ รวบรวม + ส่งรายงานสถานการณ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ./รพท. - รวบรวมข้อมูล ด้าน สวล. + สุขภาพ - มีระบบการรวบรวมข้อมูล และเก็บข้อมูล - จัดทำรายงานสถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพรายจังหวัด - สนับสนุนการดำเนินงาน ติดตาม การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เป็น Env-Occ Unit : เป็นศูนย์เชี่ยวชาญฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ อปท. รพช. - สนับสนุนการดำเนินงาน และดำเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ เป็น Env-Occ Center : เป็นศูนย์บริการฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับ อ. รพ.สต. จัดตั้งคณะกรรมการ อสธจ. จัดทำรายงานสถานการณ์ฯ เป็น Env-Occ Clinic : เป็นหน่วยบริการฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับพื้นที่ + การติดตาม/ค้นหาความเสี่ยง

21 ตัวชี้วัด เป้าหมาย และรูปแบบ
ในการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล

22 การดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในปี 2559
กลุ่มเป้าหมาย - รพศ./รพท. , รพช. และ รพ.สต. - โรงพยาบาลเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 17 แห่ง - ร้อยละ 30 ของ รพศ./รพท. (คิดจากทั่วประเทศ) มีการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม “ขั้นเริ่มต้นพัฒนา”(พื้นฐาน) - ร้อยละ 50 ของโรงพยาบาลเป้าหมายที่จะพัฒนาเป็นศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยฯ ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดการดำเนินงาน - พัฒนาระบบการเฝ้าระวังด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม - พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา - พัฒนาแนวทางและเกณฑ์การประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโดยโรงพยาบาลในระดับ รพศ./รพท., รพช. และ รพ.สต. - พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยฯ ในโรงพยาบาล 17 แห่ง มาตรการเพื่อดำเนินงาน - การติดตามประเมินผลโดยทีมสำนักฯ + สคร. + สสจ. - รพศ./รพท. + รพช. การใช้แบบสอบถามการจัดบริการฯ ตามแนวทางและเกณฑ์การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม “เกณฑ์ใหม่” การประเมินผล สคร. - คัดเลือก จว. และ รพ. เพื่อพัฒนาและรับประเมินฯ - ทำการชี้แจงแนวทางการจัดบริการฯ ให้ จว.และ รพ. ที่เลือกและยังไม่ได้รับการชี้แจง - สนับสนุน ติดตาม และประเมินผลการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโดยโรงพยาบาล และการพัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีว อนามัย สสจ. - ค้นหา, ประเมินความเสี่ยงแหล่งมลพิษสิ่งแวดล้อมใน จังหวัด - จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพและ สวล. - จัดทำรายงานสถานการณ์มลพิษ สวล. และสุขภาพรายปี - สนับสนุนการดำเนินงาน ติดตาม และร่วมประเมินผลการจัดบริการฯ - พัฒนา ส่งเสริม บุคลากร และจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานฯ รพศ./รพท. - มีนโยบาย โครงสร้าง แผนการดำเนินงาน ทั้งเชิงรุก+เชิงรับ - จัดทำระบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง+เกณฑ์ฯ - มีแนวทางรับรักษา Refer. - พัฒนา ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้การจัดบริการฯ - มีฐานข้อมูลด้าน สวล. และสุขภาพ รพช. - มีนโยบาย โครงสร้าง แผนการดำเนินงาน ทั้งเชิงรุก+เชิงรับ - จัดทำระบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง+เกณฑ์ฯ - มีแนวทางรับรักษา Refer. - พัฒนา ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้การจัดบริการฯ - มีฐานข้อมูลด้าน สวล. และสุขภาพ รพ.สต. - สำรวจข้อมูล สวล. + ดูแนวโน้มปัญหาสุขภาพ - มีระบบการ Refer. - สื่อสารความเสี่ยง/ให้ความรู้ - เยี่ยมบ้าน/ Follow up.

23 ผังพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับ รพศ. /รพท
ผังพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม สำหรับ รพศ./รพท. ปีงบประมาณ 2559 สำนัก Env.-Occ. สคร. สสจ. รพศ/รพท. กลุ่มที่ 1 พื้นที่ที่เป็น Hot zone ได้รับการประเมินแล้ว กลุ่มที่ 2 พื้นที่ที่เป็น Hot zone ที่ได้รับการชี้แจง ให้ รพ.ดำเนินการแล้ว กลุ่มที่ 3 พื้นที่ที่เป็น Hot zone ที่ยังไม่ได้เข้าร่วม/ยังไม่ได้รับการประเมิน กลุ่มที่ 4 พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ (ยกเว้น รพศ/รพท. ที่ผ่านการประเมินฯ ปี 58 แล้ว) กลุ่มที่ 5 พื้นที่อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ ในพื้นที่เป้าหมาย 5.1 พื้นที่ที่ได้รับการประเมินแล้ว 5.2 พื้นที่ที่ได้รับการการชี้แจงแล้วแต่ยังไม่ได้รับการประเมิน 5.3 พื้นที่ที่ยังไม่ได้รับ การชี้แจง 1.รพ.ที่ทำการประเมินแล้ว สามารถนับเป็นผลในตัวชี้วัดปี 59 โดยจะไม่ลงประเมินซ้ำ 2.จะทำการส่งเกณฑ์ใหม่ให้ประเมินตนเองฯ สคร.+สสจ. เลือก รพ. พื้นที่เป้าหมาย สคร. ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน รพ. ที่สนใจรับการประเมินฯ สคร.+สำนักฯ+สสจ. ลงพื้นที่ตรวจประเมินฯ โดยใช้แบบฟอร์เกณฑ์การประเมิน “เกณฑ์ใหม่” สคร. รวบรวมข้อมูลผลการประเมินให้ส่วนกลาง สำนัก Env.-Occ. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนางานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม+Hot zone วันที่ มค 59 สคร.

24 กลุ่มที่  การดำเนินงาน
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559 รายชื่อ รพ. และ/หรือ จังหวัดแยกตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม : กลุ่มที่  พื้นที่ที่เป็น Hot zone ได้รับการประเมินแล้ว 1.รพท.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา 2.รพศ.สระบุรี จ.สระบุรี 3.รพท.ชลบุรี จ.ชลบุรี 4.รพศ.ระยอง จ.ระยอง 5.รพท.เลย จ.เลย 6.รพท.กาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ 7.รพท.มุกดาหาร จ.มุกดาหาร 8.รพศ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี 9.รพท.พิจิตร จ.พิจิตร 10.รพท.แม่สอด จ.ตาก 11.รพศ.นครพิงค์เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 12.รพท.ลำพูน จ.ลำพูน 13.รพศ.มหาราชนครราชสีมา จ.นครราชสีมา (จว.+1) การดำเนินงาน 1.ให้ สคร. ลงพื้นที่ไปทำการติดตามความต่อเนื่องในการดำเนินงาน 2.จะทำการส่งเกณฑ์ใหม่ให้ประเมินตนเองฯ แล้วส่งกลับมายัง สคร.

25 กลุ่มที่  การดำเนินงาน
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559 รายชื่อ รพ. และ/หรือ จังหวัดแยกตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม : กลุ่มที่  พื้นที่ที่เป็น Hot zone ที่ได้รับการสนับสนุนแล้ว (ชี้แจง) ให้ รพ. ดำเนินการได้แล้ว 1.รพท.พุทธโสธร จ.ฉะเชิงเทรา 2.รพท.มหาราชนครศรีธรรมราช จ.นครศรีธรรมราช 3. โรงพยาบาลในจังหวัดสงขลา 3.1 รพท.หาดใหญ่ จ.สงขลา 3.2 รพท.จะนะ จ.สงขลา การดำเนินงาน 1.ให้ สคร.+สำนักฯ ลงพื้นที่ไปประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 2.ประเมินผลการดำเนินงานและผ่านเกณฑ์ใหม่ ใน “ระดับพื้นฐาน” เป็นอย่างต่ำ

26 กลุ่มที่  การดำเนินงาน
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559 รายชื่อ รพ. และ/หรือ จังหวัดแยกตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม : กลุ่มที่  พื้นที่ที่เป็น Hot zone ที่ยังไม่ได้เข้าร่วมหรือที่ยังไม่มีการไปประเมิน 1.จ.ลำปาง จ.แม่ฮ่องสอน จ.เชียงราย จ.แพร่ จ.น่าน 5.จ.พะเยา จ.พิษณุโลก จ.เพชรบูรณ์ 8.จ.กาญจนบุรี 9.จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.สมุทรสาคร 11.จ.ตราด 12.จ.ปราจีนบุรี 13.จ.สระแก้ว จ.สมุทรปราการ 15.จ.ร้อยเอ็ด 16.จ.อุดรธานี จ.ชัยภูมิ จ.บุรีรัมย์ จ.สุรินทร์ 20.จ.กระบี่ การดำเนินงาน 1.ให้ สคร. เลือกโรงพยาบาลเป็นพื้นที่เป้าหมายให้สามารถจัดจัดบริการฯ ได้ 2.ให้ สคร. ลงพื้นที่เพื่อทำการชี้แจงแนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 3.ให้ สคร.+สำนักฯ ลงพื้นที่ไปประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

27 กลุ่มที่  พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ การดำเนินงาน
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559 รายชื่อ รพ. และ/หรือ จังหวัดแยกตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม : กลุ่มที่  พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 1. จ.ตาก (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว. กลุ่มที่ 1 อยู่แล้ว) 2. จ.มุกดาหาร (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว. กลุ่มที่ 1 อยู่แล้ว) 3. จ.สงขลา (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว.กลุ่มที่ 2 อยู่แล้ว) 4. จ.ตราด (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว. กลุ่มที่ 3 อยู่แล้ว) 5. จ.สระแก้ว (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว. กลุ่มที่ 3 อยู่แล้ว) 6. จ.เชียงราย (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว.กลุ่มที่ 3 อยู่แล้ว) 7. จ.กาญจนบุรี (อยู่ใน พท.Hot zone 36 จว.กลุ่มที่ 3 อยู่แล้ว) 8. จ.หนองคาย จ.นครพนม จ.นราธิวาส การดำเนินงาน 1.ให้ สคร. เลือกโรงพยาบาลเป็นพื้นที่เป้าหมายให้สามารถจัดจัดบริการฯ ได้ 2.ให้ สคร. ลงพื้นที่เพื่อทำการชี้แจงแนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 3.ให้ สคร.+สำนักฯ ลงพื้นที่ไปประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

28 กลุ่มที่  พื้นที่อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559 รายชื่อ รพ. และ/หรือ จังหวัดแยกตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม : กลุ่มที่  พื้นที่อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย กลุ่มที่ 5.1 : พื้นที่ที่ได้รับการประเมินแล้ว 1. รพท.เจ้าพระยายมราช จ.สุพรรณบุรี 2. รพท.สุราษฏ์ธานี จ.สุราษฎ์ธานี 3. รพศ.วชิระภูเก็ต จ.ภูเก็ต กลุ่มที่ 5.2 : พื้นที่ที่ได้รับการชี้แจงแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการตรวจประเมิน 1. รพท.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี 2. รพท.พังงา จ.พังงา 3. รพท.ตรัง จ.ตรัง

29 กลุ่มที่  พื้นที่อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย การดำเนินงาน
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559 รายชื่อ รพ. และ/หรือ จังหวัดแยกตามกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม : กลุ่มที่  พื้นที่อื่นๆ ที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย กลุ่มที่ 5.3 : พื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการชี้แจง หรือกิจกรรมใดๆ 1. จ.สุโขทัย จ.อุตรดิตถ์ จ.กำแพงเพชร จ.ชัยนาท จ.นครสวรรค์ 6. จ.อุทัยธานี จ.นครนายก จ.นนทบุรี จ.ลพบุรี จ.สิงห์บุรี 11.จ.อ่างทอง จ.นครปฐม จ.เพชรบุรี จ.ราชบุรี จ.สมุทรสงคราม 16.จ.จันทบุรี จ.มหาสารคาม 18.จ.นครพนม จ.บึงกาฬ จ.สกลนคร 21.จ.หนองคาย 22.จ.หนองบัวลำภู 23.จ.ยโสธร จ.ศรีสะเกษ จ.อำนาจเจริญ 26.จ.ชุมพร จ.ระนอง จ.นราธิวาส จ.ปัตตานี จ.พัทลุง 31.จ.ยะลา จ.สตูล จ.ขอนแก่น การดำเนินงาน 1.ให้จังหวัดที่สนใจประสานมายัง สคร. เพื่อพัฒนาระบบการจัดบริการฯ 2.ให้ สคร. ลงพื้นที่เพื่อทำการชี้แจงแนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 3.ให้ สคร.+สำนักฯ ลงพื้นที่ไปประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

30 รายชื่อโรงพยาบาลที่จะพัฒนา
เป็นศูนย์เชี่ยวชาญฯ

31 รายชื่อโรงพยาบาลที่จะพัฒนาเป็นศูนย์เชี่ยวชาญฯ
โรงพยาบาลที่จะพัฒนาให้เป็นศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ ลำดับที่ โรงพยาบาล จังหวัด 1 รพ.นครพิงค์* เชียงใหม่ 2** รพ.แม่สอด* ตาก 3 รพ.พิจิตร* พิจิตร 4 รพ.สระบุรี* สระบุรี 5 รพ.อยุธยา* อยุธยา 6 รพ.เจ้าพระยายมราช* สุพรรณบุรี 7 รพ.ระยอง* ระยอง 8 รพ.ชลบุรี* ชลบุรี 9 รพ.ขอนแก่น* ขอนแก่น ลำดับที่ โรงพยาบาล จังหวัด 10 รพ.อุดรธานี* อุดรธานี 11 รพ.มหาราชนครราชสีมา* นครราชสีมา 12 รพ.สรรพสิทธิประสงค์* อุบลราชธานี 13 รพ.สุราษฎร์ธานี* รพ.สุราษฎร์ธานี 14** รพ.หาดใหญ่* สงขลา 15 รพ.สมุทรสาคร สมุทรสาคร 16 รพ.ราชบุรี ราชบุรี 17 รพ.อุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์ หมายเหตุ : ** คือ เป็นจังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษก่อนในรายชื่อที่เหลือ)

32 เกณฑ์การพัฒนาโรงพยาบาลเป็นศูนย์เชี่ยวชาญฯ
โรงพยาบาล 17 แห่ง มีการจัดบริการอาชีวอนามัยผ่านตามเกณฑ์เชี่ยวชาญของ ศ.สำโรง มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์ขั้นพื้นฐาน เป็นศูนย์เชี่ยวชาญ การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

33 รายชื่อโรงพยาบาลในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ

34 รายชื่อโรงพยาบาลในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
รายชื่อโรงพยาบาล เพื่อการพัฒนาระบบการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ จำนวน 10 จังหวัด ใน 11 โรงพยาบาล มีรายชื่อดังนี้ ที่ โรงพยาบาล จังหวัด 1 รพ.แม่สอด ตาก 2 รพ.หาดใหญ่ สงขลา 3 รพ.มุกดาหาร มุกดาหาร 4 รพ.ยุพราชสระแก้ว สระแก้ว 5 รพ.ตราด ตราด ที่ โรงพยาบาล จังหวัด 6 รพ.เชียงราย เชียงราย 7 รพ.พหลพลพยุหเสนาฯ กาญจนบุรี 8 รพ.หนองคาย หนองคาย 9 รพ.นครพนม นครพนม 10 รพ.นราธิวาส นราธิวาส 11 รพ.สุไหงโกลก

35 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อม
รับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559

36 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
คำอธิบายสัญลักษณ์ [1] หมายถึง รพ. ที่ได้รับการประเมินและผ่านเกณฑ์การประเมินการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม [2] หมายถึง รพ. ที่มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม โดยได้รับการชี้แจงการดำเนินงานแล้ว แต่ยังไม่ได้รับการประเมิน [3] หมายถึง รพ. ที่มีการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม โดยได้รับการชี้แจงการดำเนินงานแล้ว โดยยังไม่ได้รับการประเมินผลการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม แต่ได้รับการประเมินการจัดบริการอาชีวอนามัยแล้ว [4] หมายถึง รพ. ที่ได้รับการประเมินการจัดบริการอาชีวอนามัยเพียงอย่างเดียว * หมายถึง รพ. ดังกล่าวอยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ด้วย

37 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่ รพท.นครพิงค์เชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ [1] รพท.ลำพูน จ.ลำพูน [1] รพท.เชียงราย จ.เชียงราย [4] รพท.แม่ฮ่องสอน จ.แม่ฮ่องสอน [4] รพท.พะเยา จ.พะเยา [4] รพท.น่าน จ.น่าน [4] รพท.ลำปาง จ.ลำปาง รพท.แพร่ จ.แพร่

38 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก รพท.แม่สอด จ.ตาก [1] รพท.พุทธชินราช จ.พิษณุโลก [4] รพท.เพชรบูรณ์ จ.เพชรบูรณ์ รพท.สมเด็จพระเจ้าตากสิน จ.ตาก รพท.อุตรดิษถ์ จ.อุตรดิษถ์

39 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์ รพท.พิจิตร จ.พิจิตร [1] รพท.กำแพงเพชร จ.กำแพงเพชร

40 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 4 จังหวัดสระบุรี รพศ.สระบุรี จ.สระบุรี [1] รพท.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครฯ [1] รพท.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา [4] รพท.ปทุมธานี จ.ปทุมธานี [2] รพช.สมเด็จพระสังฆราช จ.พระนครศรีอยุธยา [2]

41 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 5 จังหวัดราชบุรี รพท.เจ้าพระยายมราช จ.สุพรรณบุรี [1] รพท.สมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร [4] รพท.พหลพลฯ จ.กาญจนบุรี รพท.ราชบุรี จ.ราชบุรี

42 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 6 จังหวัดชลบุรี รพท.ชลบุรี จ.ชลบุรี [1] รพศ.ระยอง จ.ระยอง [1] รพท.พุทธโสธร จ.ฉะเชิงเทรา [2] รพท.สมเด็จพยุพราชฯ จ.สระแก้ว รพท.ปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี รพท.ตราด จ.ตราด รพท.สมุทรปราการ จ.สมุทรฯ

43 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 7 จังหวัดขอนแก่น รพท.กาฬสินธุ์ จ.กาฬสินธุ์ [1] รพท.ร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด [4] รพศ.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น

44 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 8 จังหวัดอุดรธานี รพท.เลย จ.เลย [1] รพท.อุดรธานี จ.อุดร [4] รพท.นครพนม จ.นครพนม รพท.หนองคาย จ.หนองคาย

45 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 9 จังหวัดนครราชสีมา รพศ.มหาราชนครราชสีมา จ.นครฯ [1] รพท.สุรินทร์ จ.สุรินทร์ [4] รพท.ชัยภูมิ จ.ชัยภูมิ [4] รพท.บุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์

46 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี รพศ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลราชธานี [1] รพท.มุกดาหาร จ.มุกดาหาร [1]

47 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช รพท.มหาราชนครศรีธรรมราช จ.นครฯ [2] รพท.สุราษฏร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี [1] รพท.กระบี่ จ.กระบี่ รพศ.วชิระภูเก็ต จ.ภูเก็ต [1] รพท.พังงา จ.พังงา [2]

48 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 12 จังหวัดสงขลา รพท.หาดใหญ่ จ.สงขลา [3] รพท.ตรัง จ.ตรัง [2] รพท.จะนะ จ.สงขลา [2] รพท.นราธิวาส จ.นราธิวาส รพท.สุไหงโกโลก จ.นราธิวาส

49 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน เขตที่ 13 กรุงเทพมหานคร ต้องประเมินปัญหาและพื้นที่ก่อน

50 รายชื่อ รพ. แนะนำสำหรับเตรียมความพร้อมรับการประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ 2559
รายชื่อโรงพยาบาล ที่เสนอแนะให้ สคร. ประสานงานกับ สสจ. และ รพ. วางแผนรับการประเมินผลการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ให้ได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ดังนี้ เขตสุขภาพ / สคร. รายชื่อโรงพยาบาลแนะนำ ในการวางแผนรับประเมิน ปี 2559 แนะนำให้เตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน สรุปรวมเป้าหมายการดำเนินงานทุกเขต จำนวน 41 แห่ง/รพ. จำนวน 13 แห่ง/รพ. (โดยอาจมีการปรับเพิ่มได้) โรงพยาบาลที่เคยได้มีการชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน หรือ ได้รับการตรวจประเมินแล้วในปีงบประมาณ 2558 แต่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย/รพ.เป้าหมาย สคร. สามารถจัดแผนการลงพื้นที่ตรวจประเมินได้ เพื่อเป็นการพัฒนาการดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมใน รพ. ดังกล่าว ให้เกิดความต่อเนื่อง เหตุที่ต้องกำหนด รพ. แนะนำเพียงเท่านี้ เนื่องจากให้ รพ. ในพื้นที่เป้าหมายได้รับการประเมินและผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดในระดับ กรม และ กระทรวง

51 กรอบข้อมูล ความเป็นมาของการดำเนินงาน การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดบริการเวชกรมสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

52 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม (Env-Occ) กิจกรรม/การดำเนินงาน พัฒนาระบบเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เช่น การรวบรวม การวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ การรายงาน และติดตามข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จัดทำและสนับสนุนวิชาการ เช่น คู่มือ/แนวทาง สื่อต่างๆ ในการดำเนินงานเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม รับวิเคราะห์ตัวอย่างทางชีวภาพ (Biomarker) และวิเคราะห์ตัวอย่างสิ่งแวดล้อม พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการของ สคร. นิเทศ ติดตาม และประเมินผล จัดทำสถานการณ์และเสนอนโยบาย ระดับประเทศ เป้าหมายการดำเนินงาน มีรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง เป็นภาพรวมระดับประเทศ

53 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานในระดับ เขตสุขภาพ กิจกรรม/การดำเนินงาน ผู้ตรวจราชการเขต เป็นประธานคณะทำงานติดตามการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพฯ กำกับติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ ติดตามการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในพื้นที่รับผิดชอบ รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานในภาพรวมของเขตสุขภาพให้ผู้บริหารทราบเป็นระยะ เป้าหมายการดำเนินงาน 1. มีคณะทำงานระดับเขตฯ (อยู่ในขั้นตอนการเสนอให้ปลัดลงนาม) 2. มีการกำกับติดตามการดำเนินงาน

54 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
สำนักงานป้องกันควบคุมโรค (สคร.) กิจกรรม/การดำเนินงาน เป็นเลขานุการคณะทำงานติดตามการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์คุ้มครองสุขภาพฯ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายสาธารณสุขในพื้นที่ สนับสนุนข้อมูล เพื่อกำหนดกลุ่มเป้าหมายการดำเนินงานร่วมกับพื้นที่ ประสาน กำกับ ติดตาม สนับสนุนข้อมูลวิชาการ สื่อต่างๆ และประเมินผล รวบรวมและสรุปสถานการณ์ และผลการดำเนินงานในระดับ สคร. เป้าหมายการดำเนินงาน จังหวัดเสี่ยงในความรับผิดชอบของ สคร. มีระบบเฝ้าระวัง และสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

55 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) กิจกรรม/การดำเนินงาน เป็นแกนหลักในการดำเนินงาน : - ค้นหาและระบุสิ่งคุกคาม ทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในพื้นที่ - ประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อมทีอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ - วิเคราะห์ เชื่อมโยงข้อมูล และจัดทำสถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ - สื่อสารความเสี่ยงและให้ความรู้แก่ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดทำทะเบียนและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง 2. สนับสนุนให้ รพศ./รพท. , รพช. และ รพ.สต. มีระบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 3. ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการปัญหา 4. สรุปสถานการณ์และผลการดำเนินงานในระดับ จังหวัด เป้าหมายการดำเนินงาน จังหวัดมีระบบเฝ้าระวังและมีรายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

56 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ( รพศ. / รพท. ) กิจกรรม/การดำเนินงาน - รวบรวมข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยประสานข้อมูลจาก สสจ. หากข้อมูลยังไม่ครบถ้วนให้ รพศ./รพท. ทำการค้นหาความเสี่ยงเพิ่มเติม - จัดทำทะเบียนรายชื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ระดับจังหวัด/พื้นที่รับผิดชอบตามบริบทของประเด็นปัญหา - รับผู้ป่วย ที่ถูกส่งต่อจาก รพช. เพื่อเข้าทำการรักษา หรือวินิจฉัยโรคเพื่อยืนยันโรค - ทำการคัดกรอง วินิจฉัยโรค หรือทำการเก็บตัวอย่างทาง Biomarker หรือตรวจ Lab ทางชีวภาพว่าเป็นโรค/สงสัยว่าเป็นโรคที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เสี่ยง กรณี รพช. ไม่สามารถดำเนินการได้ - ทำการออกติดตาม/เยี่ยมบ้านในรูปแบบ Family care teams กรณี รพช./รพ.สต. เชิญ หรือต้องการยืนยันผลการตรวจวิเคราะห์ - ทำการลงบันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลตามบริบทของพื้นที่ - ทำการสรุปข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัด/ในพื้นที่รับผิดชอบ

57 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ( รพศ. / รพท. ) - ต่อ กิจกรรม/การดำเนินงาน - ทำการรายงานข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องตามบริบทของประเด็นปัญหาให้แก่ สสจ. หรือหน่วยงานอื่นๆ รวมถึงการรายงานป้อนกลับมายัง รพช. กรณีประชาชนไปรับรักษาโดยตรงที่ รพศ./รพท. - มีแนวทาง/ช่องทาง สำหรับเตรียมความพร้อมในการรับรักษาจาก รพช. แล้วส่งต่อผู้ป่วยไปยัง โรงพยาบาลเชี่ยวชาญเฉพาะโรค - มีการพัฒนาระบบการให้บริการแก่ประชาชน ใน EnvOcc-Unit โดยพัฒนาในกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม ของ รพช. - ทำการพัฒนาบุคลากรในหน่วยบริการให้เข้าใจในการดำเนินงานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม และกำหนดภาระงาน/มีผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน “ด้านพิษวิทยาและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม”

58 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลชุมชน ( รพช. ) กิจกรรม/การดำเนินงาน - รวบรวมข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสอ. และ รพ.สต. ในพื้นที่ หากข้อมูลยังไม่ครบถ้วนให้ รพช. ทำการค้นหาความเสี่ยงเพิ่มเติม - จัดทำทะเบียนรายชื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ระดับอำเภอ/พื้นที่รับผิดชอบตามบริบทของประเด็นปัญหา - รับผู้ป่วย ที่ถูกส่งต่อจาก รพ.สต. เพื่อเข้าทำการรักษา หรือวินิจฉัยโรคเพื่อยืนยันโรค - ทำการคัดกรอง วินิจฉัยโรค หรือทำการเก็บตัวอย่างทาง Biomarker หรือตรวจ Lab ทางชีวภาพว่าเป็นโรค/สงสัยว่าเป็นโรคที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เสี่ยง - ทำการออกติดตาม/เยี่ยมบ้านในรูปแบบ Family care teams กรณี รพ.สต. เชิญ หรือต้องการยืนยันผลการตรวจวิเคราะห์ - ทำการลงบันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลตามบริบทของพื้นที่ - ทำการสรุปข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ/ในพื้นที่รับผิดชอบ

59 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลชุมชน ( รพช. ) - ต่อ กิจกรรม/การดำเนินงาน - ทำการสรุปข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ/ในพื้นที่รับผิดชอบ - ทำการรายงานข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องตามบริบทของประเด็นปัญหาให้แก่ รพศ./รพท. สสอ. หรือหน่วยงานอื่นๆ รวมถึงการรายงานป้อนกลับมายัง รพ.สต. กรณีประชาชนไปรับรักษาโดยตรงที่ รพช. - มีแนวทาง/ช่องทาง สำหรับเตรียมความพร้อมในการรับรักษาจาก รพ.สต. ส่งต่อผู้ป่วยไปยัง รพศ./รพท. - มีการพัฒนาระบบการให้บริการแก่ประชาชน ใน EnvOcc-Center โดยพัฒนาในกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม ของ รพช. - ทำการพัฒนาบุคลากรในหน่วยบริการให้เข้าใจในการดำเนินงานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม และกำหนดภาระงาน/มีผู้รับผิดชอบงานที่ชัดเจน “ด้านพิษวิทยาและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม”

60 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ( รพ.สต. ) กิจกรรม/การดำเนินงาน - ค้นหาความเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น แหล่งกำเนิดมลพิษ ข้อร้องเรียน ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพ ฯลฯ หรือรวบรวมข้อมูลปัจจัยเสี่ยงที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดลำดับความสำคัญของปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่อาจจะก่อผลกระทบต่อสุขภาพ - จัดทำทะเบียนรายชื่อประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ระดับตำบล/พื้นที่รับผิดชอบตามบริบท ของประเด็นปัญหา - ทำการคัดกรอง วินิจฉัยอาการเบื้องต้นว่าเกี่ยวข้อง/สงสัยว่าเป็นโรคที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เสี่ยง - ทำการรักษาตามอาการเบื้องต้น หากไม่สามารถรักษาได้ หรือสงสัยให้ทำการส่งต่อผู้ป่วย ไปยัง รพช. - ทำการออกติดตาม/เยี่ยมบ้านในรูปแบบ Family care teams

61 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ( รพ.สต. ) - ต่อ กิจกรรม/การดำเนินงาน - ทำการลงบันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลตามบริบทของพื้นที่ และสรุปข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องในระดับตำบล - ทำการรายงานข้อมูลสถานการณ์โรคที่เกี่ยวข้องตามบริบทของประเด็นปัญหาให้แก่ รพช. สสอ. และ อปท. หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง - มีแนวทาง/ช่องทาง สำหรับเตรียมความพร้อมในการรับรักษา ส่งต่อผู้ป่วยไปยัง รพช. - มีการพัฒนาระบบการให้บริการแก่ประชาชน ใน EnvOcc-Clinic อาจดำเนินการเดือนละ 1 ครั้ง โดยรับรักษาทุกวันแต่ทำการนัดคัดกรองเต็มรูปแบบ 1 ครั้ง/เดือน - ทำการพัฒนาบุคลากรในหน่วยบริการให้เข้าใจในการดำเนินงานด้านเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

62 บทบาทหน้าที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) กิจกรรม/การดำเนินงาน - สนับสนุนการดำเนินงานของหน่วยบริการสาธารณสุขในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาพจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ - ค้นหาสิ่งคุกคาม และรวบรวมข้อมูลข้อร้องเรียนด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และจัดทำเป็นทะเบียนข้อมูล พร้อมแจ้งหน่วยงานด้านสาธารณสุข เพื่อร่วมเฝ้าระวังสุขภาพ - ตั้งคณะทำงานในท้องถิ่น เพื่อให้มีการจัดการปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพตามบริบทของพื้นที่ - ผลักดันบทบัญญัติของท้องถิ่น เพื่อให้มีการควบคุมการประกอบการที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่

63 กรอบข้อมูล ความเป็นมาของการดำเนินงาน การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดบริการเวชกรมสิ่งแวดล้อม แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

64 นิยามคำศัพท์

65 การดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในปี 2559
กลุ่มเป้าหมาย - รพศ./รพท. , รพช. และ รพ.สต. - โรงพยาบาลเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 17 แห่ง - ร้อยละ 30 ของ รพศ./รพท. (คิดจากทั่วประเทศ) มีการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม “ขั้นเริ่มต้นพัฒนา”(พื้นฐาน) - ร้อยละ 50 ของโรงพยาบาลเป้าหมายที่จะพัฒนาเป็นศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยฯ ผ่านเกณฑ์ประเมินฯ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดการดำเนินงาน - พัฒนาระบบการเฝ้าระวังด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม - พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ทั้งการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา - พัฒนาแนวทางและเกณฑ์การประเมินการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโดยโรงพยาบาลในระดับ รพศ./รพท., รพช. และ รพ.สต. - พัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีวอนามัยฯ ในโรงพยาบาล 17 แห่ง มาตรการเพื่อดำเนินงาน - การติดตามประเมินผลโดยทีมสำนักฯ + สคร. + สสจ. - รพศ./รพท. + รพช. การใช้แบบสอบถามการจัดบริการฯ ตามแนวทางและเกณฑ์การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม “เกณฑ์ใหม่” การประเมินผล สคร. - คัดเลือก จว. และ รพ. เพื่อพัฒนาและรับประเมินฯ - ทำการชี้แจงแนวทางการจัดบริการฯ ให้ จว.และ รพ. ที่เลือกและยังไม่ได้รับการชี้แจง - สนับสนุน ติดตาม และประเมินผลการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโดยโรงพยาบาล และการพัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญการจัดบริการอาชีว อนามัย สสจ. - ค้นหา, ประเมินความเสี่ยงแหล่งมลพิษสิ่งแวดล้อมใน จังหวัด - จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพและ สวล. - จัดทำรายงานสถานการณ์มลพิษ สวล. และสุขภาพรายปี - สนับสนุนการดำเนินงาน ติดตาม และร่วมประเมินผลการจัดบริการฯ - พัฒนา ส่งเสริม บุคลากร และจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานฯ รพศ./รพท. - มีนโยบาย โครงสร้าง แผนการดำเนินงาน ทั้งเชิงรุก+เชิงรับ - จัดทำระบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง+เกณฑ์ฯ - มีแนวทางรับรักษา Refer. - พัฒนา ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้การจัดบริการฯ - มีฐานข้อมูลด้าน สวล. และสุขภาพ รพช. - มีนโยบาย โครงสร้าง แผนการดำเนินงาน ทั้งเชิงรุก+เชิงรับ - จัดทำระบบการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมตามแนวทาง+เกณฑ์ฯ - มีแนวทางรับรักษา Refer. - พัฒนา ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้การจัดบริการฯ - มีฐานข้อมูลด้าน สวล. และสุขภาพ รพ.สต. - สำรวจข้อมูล สวล. + ดูแนวโน้มปัญหาสุขภาพ - มีระบบการ Refer. - สื่อสารความเสี่ยง/ให้ความรู้ - เยี่ยมบ้าน/ Follow up.

66 การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Medicine Service)
นิยามคำศัพท์ การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Medicine Service) กิจกรรมที่ดำเนินงานโดยบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านอาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติภัยฉุกเฉินได้รับการดูแลสุขภาพ มีการจัดบริการทั้งเชิงรุกและเชิงรับ ที่มุ่งเน้นด้านการป้องกัน โรคจากสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อม ที่ปลอดภัย

67 แนวทางการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

68 การดำเนินงาน จะเริ่มต้นอย่างไรดี?
แนวทางการดำเนินงาน การดำเนินงาน จะเริ่มต้นอย่างไรดี?

69 กำหนดผู้รับผิดชอบและโครงสร้างการทำงาน
แนวทางการดำเนินงาน ขั้นตอนที่  กำหนดผู้รับผิดชอบและโครงสร้างการทำงาน

70 กลุ่มงาน อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม
ที่มา : หนังสือที่ สธ /ว 29 เรื่อง โครงสร้างหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ลงวันที่ 31 มกราคม 2555

71 งานพิษวิทยาและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม

72 มีการกำหนดนโยบาย เพื่อแสดงความมุ่งมั่น
ในการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมโดยโรงพยาบาล สามารถรวมนโยบาย ในนโยบายการดำเนินงานการจัดบริการอาชีวเวชกรรม โดยเพิ่มเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เข้าไปในนโยบายดังกล่าวได้

73 มีแผนการพัฒนางานด้านเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อรองรับปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมในอนาคตหรือกำหนดให้งานเวชกรรมสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานประจำปี

74 ต้องทราบสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่
แนวทางการดำเนินงาน ขั้นตอนที่  ต้องทราบสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่

75 สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และสุขภาพในพื้นที่จะทราบได้อย่างไรบ้าง?
สำรวจข้อมูลสถานการณ์โดยการใช้แบบสำรวจของหน่วยงานต่างๆ เช่น แบบฟอร์ม Env-Med สำรวจและรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง เช่นการตรวจสิ่งแวดล้อมอย่างง่าย ตามแนวทางของกรมควบคุมมลพิษ และการใช้แบบสอบถามในการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพเบื้องต้น สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ จากหน่วยงานเครือข่าย (คพ. สิ่งแวดล้อมภาค ทสจ. สสจ. หรือจาก internet

76 สถานบริการทำความเข้าใจและดำเนินการ จัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงาน ขั้นตอนที่  สถานบริการทำความเข้าใจและดำเนินการ จัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

77 การดำเนินงานการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ประเมินความเสี่ยงในพื้นที่
5 การสนับสนุน 1 ประเมินความเสี่ยงในพื้นที่ การจัดทำแผนงาน&โครงการ/นโยบายเพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหา การสนับสนุนดำเนินงานการชดเชยการเจ็บป่วย /ตามกฎหมาย การฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร การจัดทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเวชกรรมสิ่งแวดล้อม การสำรวจความเสี่ยง -ประเด็นสุขภาพและสิ่งแวดล้อม การประเมินความเสี่ยงทาง สวล. ที่มีผลต่อสุขภาพ การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ การสื่อสารความเสี่ยงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชน 2 การเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังทางเวชกรรมสิ่งแวดล้อม การสอบสวนโรคจากสิ่งแวดล้อม การควบคุมป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อม 4 การบริหารจัดการ การบริหารจัดการทางการแพทย์ การบริหารจัดการทางสาธารณสุข การวินิจฉัย รักษา โรคจากสิ่งแวดล้อม 3 การวินิจฉัย รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ การรายงานโรค

78  การประเมินความเสี่ยง
การสำรวจข้อมูล การสำรวจประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นสิ่งแวดล้อม 1)ข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษและชนิดมลพิษที่อาจเกิดขึ้นจากแหล่งกำเนิด เช่น สารหนู แคดเมี่ยม ปรอท ไซยาไนด์ ตะกั่ว ฯลฯ 2)ข้อมูลผลการตรวจวัดสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เช่น ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษและกรมอนามัย หรือข้อมูลจากการเก็บตัวอย่างวิเคราะห์ 3)ข้อมูลขอบเขตการปนเปื้อน และตัวกลาง (ดิน น้ำ อาหาร อากาศ) ที่ปนเปื้อนหรือที่อาจปนเปื้อน ตามบริบทของพื้นที่ การสำรวจประเด็นด้านสุขภาพ ประเด็นสุขภาพ 1)ข้อมูลด้านสุขภาพ เช่น ผลการตรวจคัดกรองสุขภาพ ผลการตรวจทางชีวภาพ ข้อมูลการประเมินสุขภาพจากแบบสอบถาม การตรวจสุขภาพตามความเสี่ยง ฯลฯ 2)ข้อมูลโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น ข้อมูลที่ได้จาก ICD10 หรือ ข้อมูล 43 แฟ้มของ สนย.

79  การประเมินความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ มีรูปแบบการประเมินความเสี่ยงออกเป็น 4 ขั้นตอนประกอบด้วย การประเมินสิ่งคุกคาม (Hazard Identification) การประเมินการสัมผัส (Exposure Assessment) การประเมินขนาดสัมผัสกับการตอบสนอง (Dose-Response Assessment) การอธิบายลักษณะของความเสี่ยง (Risk Characterization)

80  การประเมินความเสี่ยง การบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสุขภาพ
มีขั้นตอนในการจัดการความเสี่ยง มี 6 ขั้นตอน ดังนี้ การกำหนด/ระบุประเภทของปัญหา การวิเคราะห์ความเสี่ยง/ผลกระทบของปัญหา พิจารณาวิธีการต่าง ๆ ในการลดความเสี่ยง ตัดสินใจเลือกวิธีการลดความเสี่ยง ดำเนินการตามมาตรการที่กำหนด การจัดการความเสี่ยง โดยการประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมแก้ปัญหาเร่งด่วน ประเมินผลการดำเนินการ

81  การประเมินความเสี่ยง
การสื่อสารความเสี่ยงให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชน มีรูปแบบในการดำเนินการ ดังนี้ ตัวอย่างข้อมูลข่าว  ทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่จะใช้ในการสื่อสาร ออกแบบรูปแบบและช่องทางการสื่อสารให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สื่อสารหรือรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านต่างด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ควรมีการให้สุขศึกษาหรือจัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มองค์ความรู้ ในการป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อม ควรมีช่องทางให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลและขอคำปรึกษา ในกรณีที่มลพิษเกินค่าเฝ้าระวังหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ควรมีมาตรการการแจ้งเหตุ หรือเตือนภัยแก่ประชาชนภายในพื้นที่ประสบปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม

82 การเฝ้าระวังทางเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
การเฝ้าระวัง การเฝ้าระวังทางเวชกรรมสิ่งแวดล้อม โดย CDC กำหนดขั้นตอนในการเฝ้าระวังที่สำคัญอยู่ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมสถานการณ์การเจ็บป่วยจนเกิดเป็น “ฐานข้อมูล” และข้อมูลทางอนามัยสิ่งแวดล้อม จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งคุกคามทาง สวล. การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการวิเคราะห์โดยใช้หลักสถิติ ซึ่งควรได้อัตราชุก แนวโน้ม และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกับการเกิดโรค การรายงานข้อมูลแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นการรายงานแก่ประชาชน หรือเพื่อกำหนดแนวนโยบายในการทำงานต่อไป การดำเนินการแก้ไขหรือป้องกันปัญหา เป็นการนำข้อมูลไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหา

83 แนวทางการบริหารจัดการเกี่ยวกับข้อมูลการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
รายงานข้อมูลแก่หน่วยงานระดับเขต/ส่วนกลาง [สคร. , ศอ.] สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด รพศ./รพท. - รวบรวมข้อมูล ด้าน สวล. + สุขภาพ - มีระบบการรวบรวมข้อมูล และเก็บข้อมูล - จัดทำรายงานสถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพรายจังหวัด - สนับสนุนการดำเนินงาน ติดตาม การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม เป็น Env-Occ Unit : เป็นศูนย์เชี่ยวชาญฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ อปท. - สนับสนุนการดำเนินงาน และดำเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ จัดตั้งคณะกรรมการ อสธจ. จัดทำรายงานสถานการณ์ฯ รพช. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ เป็น Env-Occ Center : เป็นศูนย์บริการฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับ อ. - รวบรวมข้อมูล ด้าน สวล. + สุขภาพ ระดับอำเภอ - มีระบบการรวบรวมข้อมูล และเก็บข้อมูล - สนับสนุนการดำเนินงาน ติดตาม การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมระดับอำเภอ รพ.สต. เป็น Env-Occ Clinic : เป็นหน่วยบริการฯ ให้บริการ + มีฐานข้อมูลสุขภาพ ระดับพื้นที่ + การติดตาม/ค้นหาความเสี่ยง

84 การสอบสวนค้นหาสาเหตุของโรคจากสิ่งแวดล้อม
การเฝ้าระวัง การสอบสวนค้นหาสาเหตุของโรคจากสิ่งแวดล้อม เป็นการดำเนินกิจกรรมทางระบาดวิทยาเพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลและข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเกิดโรคหรือผลกระทบต่อสุขภาพและปัจจัยสาเหตุของโรคจากสิ่งแวดล้อม **** โดยโรงพยาบาลจะต้องมีแนวทาง/วิธีปฏิบัติและทีมงานที่ชัดเจน ในการสอบสวนโรคหาสาเหตุโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

85 การควบคุมป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อม
การเฝ้าระวัง การควบคุมป้องกันโรคจากสิ่งแวดล้อม 1.การป้องกันปฐมภูมิ ( Primary prevention) 1.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรค (disease prevention) เป็นการแก้ไขปัญหาที่แหล่งกำเนิด เพื่อป้องกันการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อม 1.2 การส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้างเสริมสุขภาพ (health promotion) เช่นการแนะนำการออกกำลังกาย การกินอาหาร เป็นต้น 2.การป้องกันทุติยภูมิ (Secondary prevention) เป็นการดำเนินการ 2 รูปแบบ คือ (1) การตรวจหาความผิดปกติให้พบ (early detection) และ (2) การวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็ว (early treatment) 3.การป้องกันตติยภูมิ (Tertiary prevention) เป็นการดำเนินการเมื่อมีการแสดงอาการของโรค และต้องทำการฟื้นฟูสุขภาพ ให้บรรเทาหรือให้หายป่วย

86 แนวทางการเฝ้าระวังโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม
การเฝ้าระวังทางสิ่งแวดล้อม การค้นหาสิ่งคุกคามทาง สวล. การวิเคราะห์ความเสี่ยง เสี่ยงต่ำ เสี่ยงสูง การจัดการปัญหาที่แหล่งกำเนิด จัดการปัญหาสุขภาพ ปชช. เฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง การจัดการ/เฝ้าระวังทางสุขภาพ การสื่อสารข้อมูลและประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานเชิงรุก การดำเนินงานเชิงรับ การคัดกรองสุขภาพ การให้บริการทางสุขภาพ ด้วยแบบสอบถาม การวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ/อื่นๆ การตรวจสุขภาพ/ร่างกาย การติดตาม และการให้สุขศึกษา

87 แนวทางการเฝ้าระวังโรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม (ต่อ)
การจัดการ/เฝ้าระวังทางสุขภาพ การดำเนินงานเชิงรุก การดำเนินงานเชิงรับ การคัดกรองสุขภาพ ด้วยแบบสอบถาม การวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ/อื่นๆ การตรวจสุขภาพ/ร่างกาย ไม่เสี่ยง เสี่ยง ไม่ผิดปกติ/ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ผิดปกติ/เกินเกณฑ์มาตรฐาน ไม่สงสัย สงสัย ตรวจสุขภาพซ้ำ/ตามความเสี่ยง ป่วยด้วยโรคอื่นๆ ป่วยด้วยโรคทาง สวล. เข้าระบบการรักษาปกติ รักษาตามอาการ ส่งต่อ การให้องค์ความรู้/สุขศึกษา การติดตาม และการให้สุขศึกษา จัดระบบการเฝ้าระวังสุขภาพอย่างต่อเนื่อง

88 การวินิจฉัย รักษา โรคจากสิ่งแวดล้อม
การวินิจฉัย รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ ***โดยโรงพยาบาลจะต้องมี.... 1. แนวทางในการตรวจ วินิจฉัยโรค ตามบริบทของปัญหาในพื้นที่ 2. แนวทางและเครือข่ายการส่งรักษาต่อผู้ป่วย 3. การบันทึกและรายงานโรคจากสิ่งแวดล้อม ในรายงาน 43 แฟ้ม หรือ ข้อมูล ICD10 และรายงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ซักประวัติและตรวจร่างกายผู้ป่วย ประเมินลักษณะ (Pattern) ของการเกิดการระบาด (Outbreak) หรือการเกิดโรค วินิจฉัยโรคและหาความเชื่อมโยง จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพและข้อมูลการวินิจฉัย รวบรวมและรายงานข้อมูลการเจ็บป่วยจากมลพิษสิ่งแวดล้อมให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นการเฝ้าระวังแบบเชิงรับ(Passive Surveillance) ตามแนวทางการเฝ้าระวังและเครื่องมือมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้การบันทึกข้อมูลในโปรแกรมสำเร็จรูป (Env-occ) และส่งรายงานไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อตรวจสอบและรวบรวมส่งไปยังสำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักระบาดวิทยา และสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมต่อไป

89 การบริหารจัดการทางการสาธารณสุข
การบริหารจัดการ การบริหารจัดการทางการแพทย์ ***โดยโรงพยาบาลจะต้องมี.... 1.แนวทางและทะเบียนเครือข่ายในการส่งรักษาต่อผู้ป่วย 2. มีแผนดำเนินการเตรียมความพร้อมสำหรับกรณีฉุกเฉิน เช่น จากสารเคมีรั่วไหล ฯลฯ 3. กรณีมีผู้มาขอข้อมูลสุขภาพกรณีจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม หรือ ใช้ในการตั้งสถานประกอบการให้เก็บหลักฐานและทำทะเบียนไว้ การรองรับหรือส่งต่อผู้ป่วย มีการจัดทำแผนขั้นตอนการดำเนินการให้ประชาชนเข้าถึง และรับบริการอย่างทั่วถึง และง่ายต่อการเข้าใจ รวมถึงช่องทางการส่งต่อผู้ป่วย การรองรับและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีการจัดทำแผนเพื่อรองรับการรักษาเหตุการณ์หมู่กรณีฉุกเฉิน และการส่งต่อผู้ป่วยที่รวดเร็ว การบริหารจัดการทางการสาธารณสุข การมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดทำ HIA โดยเป็นผู้ร่วมประเมิน และสนับสนุนข้อมูลสุขภาพเพื่อใช้ในการประเมิน HIA การร่วมบริหารจัดการและสร้างภาคีเครือข่ายกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยร่วมเป็นคณะทำงาน และมีหน้าที่ในการสนับสนุนข้อมูลทางสุขภาพ และให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินการด้านสุขภาพ

90 การสนับสนุนเพื่อการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
มีการดำเนินงานที่สำคัญดังนี้ การจัดทำแผนงาน&โครงการ/นโยบายเพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหา การสนับสนุนดำเนินงานการชดเชยการเจ็บป่วย /ตามกฎหมาย การฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพบุคลากร การจัดทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเวชกรรมสิ่งแวดล้อม การศึกษาวิจัย การจัดทำแผน&โครงการ การพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมการดำเนินการตามกฎหมาย

91 สื่อและสิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน

92 สื่อและสิ่งสนับสนุนต่างๆ ในกิจกรรม/งานนี้

93 ……….. THANK YOU.


ดาวน์โหลด ppt การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google