ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้
จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
2
ที่มีสื่อแต่ไม่ได้ผลที่ดีขึ้น
ครูสมศรีสร้างสื่อขึ้นมาตามความคิดของตนเอง โดยไม่สนใจความต้องการของนักเรียน มีการสร้างสื่อในรูปแบบเดิมๆ ควร เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการสร้างสื่อ สาเหตุการสอน ของครูสมศรี ที่มีสื่อแต่ไม่ได้ผลที่ดีขึ้น ในบางครั้งถ้าให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาจาก สื่อเพียงอย่างเดียว อาจทำให้นักเรียน ไม่เกิดความเข้าใจ รูปแบบการสอนไม่ได้ฝึกให้นักเรียนได้เกิด กระบวนการคิดและควรมีการจำลองสถานการณ์ ให้นักเรียนได้ฝึกการแก้ปัญหา
3
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดใน การออกแบบการสอนและสื่อการสอน
ว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
4
ความหมายของ “สื่อการสอน”
สื่อ เป็นคำมาจากภาษาลาตินว่า “medium” แปลว่า “ระหว่าง” หมายถึง สิ่งที่บรรจข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งหรื่อผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เมื่อมีการนำสื่อมาสอน จึงเรียกว่า “สื่อการสอน” หมายถึง สื่อในการสอนไม่ว่าจะเป็น เทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพนิ่ง แผนภูมิ เป็นต้น ความหมายของ “สื่อการสอน”
5
เป็นการวางแผนการสอนโดยใช้วิธีระบบจุดเริ่มของ
การออกแบบการสอน เป็นการวางแผนการสอนโดยใช้วิธีระบบจุดเริ่มของ การออกแบบการสอน ก็คือ การพิจารณาองค์ประกอบ ขั้นพื้นฐานของระบบและพิจารณาสภาพ ทั่วไปเกี่ยวกับการเรียนการสอน ดังนั้น การออกแบบระบบการสอนจึงต้องพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ด้วยการตอบคำถามสำคัญ 4 ประการ ดังนี้
6
โปรแกรมการสอนนี้ จะออกแบบสำหรับใคร
จะรู้ได้อย่างไรว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ หรือเกิดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด การออกแบบการสอน . ต้องการให้ผู้เรียนเรียนรู้อะไร หรือมีความสามารถที่จะทำอะไรได้บ้าง เนื้อหาวิชาหรือทักษะต่าง ๆ ที่ผู้เรียนจะต้องศึกษาให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการเรียนนั้นจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดอย่างไร
7
การออกแบบการสอน (Instructional of Cognitive)
Instructional design (ID) หมายถึง กระบวนการของการออกแบบ วัสดุการสอนและคำว่า Instructional design model (ID Model) หมายถึง รูปแบบหรือทฤษฎีที่เป็นแนวทางของกระบวนการการออกแบบการสอน สำหรับการออกแบบการสอนจะแบ่งออกเป็น 3 ยุค ดังนี้ ยุค ID 1 : การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavior) ยุค ID 2 : การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (cognitve) ยุค ID 3 : การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist)
8
การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behavior)
เน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยการเชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้า(Stimulus-คือสิ่งที่ทำให้เกิดพฤติกรรม) และการตอบสนอง (Response - ตัวพฤติกรรม) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองอันนำไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม ผู้นำที่สำคัญของกลุ่มนี้ เช่น พาพลอฟ (Ivan Pavlov)ธอร์นไดค์ (Edward Thondike) และสกินเนอร์ (B.F Skinner) พื้นฐานความคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยมคือสิ่งแวดล้อม และประสบการณ์จะเป็นตัวกำหนดพฤติกรรม
9
การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (cognitve)
กลุ่มพุทธิปัญญา ให้ความสนใจเกี่ยวกับกระบวนการคิด การให้เหตุผลของผู้เรียน ซึ่งแตกต่างจากทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ที่มุ่งเน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น โดยมิได้สนใจกับกระบวนการคิด หรือกิจกรรมทางสติปัญญาของมนุษย์ (Mental activities) โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พุทธิปัญญา (Cognitive) เป็นการให้ความสำคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่าง ๆ) กับสิ่งเร้าภายใน
10
การออกแบบการสอนมีพื้นฐานจากทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist)
เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ โดยคำนึงถึงกระบวนการคิด (cognitive process) ความรู้ความเข้าใจหรือกระบวนการรู้คิดที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้เป็นทฤษฎี ที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีปัญญานิยมหรือพุทธินิยม (cognitivism) โดยเฉพาะ ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาน์ปัญญา (cognitive constructivism) ของ ยีน เพียเจต์ (Jean Piajet) และ ทฤษฎีบริบททางสังคม (social construcitvism) ของ วิก็อทสกี้ (Lev Vygotsky)
11
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน ของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
12
ในสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วครูควรปรับเปลี่ยน
รูปแบบการสอนให้เข้ากับสภาพสังคมและต้องมีการสอนให้นักเรียน ได้ฝึกกระบวนการคิดอย่างมีเหตุมีผลพร้อมทั้งควรมีการสร้าง สถานการณ์จำลองให้นักเรียนได้ฝึกในการแก้ปัญหา เพื่อนักเรียนจะได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน และควรใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
13
การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (Constructivism)
1. การสร้างการเรียนรู้ (Learning Constructed) ความรู้จะถูกสร้าง จากประสบการณ์การเรียนรู้เป็นกระบวนการสร้างสิ่ง ขึ้นแทนความรู้(Representation)ในสมองที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างขึ้น 2. การแปลความหมายของแต่ละคน (Interpretation personal) การเรียนรู้เป็นการแปลความหมายตามสภาพจริง (Real world) ของแต่ละคน" การเรียนรู้เป็นผลจากการแปลความหมายตามประสบการณ์ของแต่ละคน 3. การเรียนรู้เกิดจาการลงมือกระทำ (Learning active) การเรียนรู้เป็นการที่ผู้เรียน ได้ลงมือกระทำซึ่งเป็นการสร้าง ความหมายที่พัฒนา โดยอาศัยพื้นฐานของประสบการณ์
14
การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (ต่อ)
การออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (ต่อ) 4. การเรียนรู้ที่เกิดจากการร่วมมือ (Learning Collaborative) ความหมายในการเรียนรู้ เป็นการต่อรองจากแนวคิดที่หลากหลาย "การพัฒนาความคิดรวบยอดของตนเอง ได้มาจากการร่วมแบ่งปันแนวคิดที่หลากหลายในกลุ่ม 5. การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Learning Situated)ควรเกิดขึ้นในสภาพชั้นเรียนจริง (Situated or anchored) " การเรียนรู้ต้องเหมาะสมกับบริบทของสภาพจริงหรือสะท้อน บริบทที่เป็นสภาพจริง" 6. การทดสอบเชิงการบูรณาการ (Testing Integrated) การทดสอบควรจะเป็น การบูรณาการเข้ากับภารกิจการเรียน(Task) ไม่ควรเป็นกิจกรรมที่แยกออกจากบริบท การเรียนรู้ ซึ่ง" การวัดการเรียนรู้เป็นวิธีการที่ผู้เรียนใช้โครงสร้างความรู้เป็นเครื่องมือ ในการส่งเสริมให้เกิดการคิดในเนื้อหาการเรียนรู้
15
การเลือกสื่อ การดัดแปลง และการออกแบบสื่อ
การเลือกสื่อ การดัดแปลง และการออกแบบสื่อ (Select , Modify , or Design Materials ) การดัดแปลงสื่อที่ มีอยู่แล้ว ให้ใช้ได้ดีและเหมาะสม มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ย่อมขึ้นกับเวลา และงบประมาณ ในการดัดแปลงสื่อด้วย การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้ว สิ่งที่ผู้สอนต้องกระทำ ก็คือตรวจสอบดูว่า มีสิ่งใด ที่จะใช้เป็นสื่อได้บ้าง โดยเลือกให้ตรงกับ ลักษณะ ผู้เรียนและวัตถุประสงค์ การออกแบบผลิตสื่อใหม่ ถ้าสื่อนั้นมีอยู่แล้ว และตรงกับ จุดมุ่งหมายของ การเรียนการ สอน เรา
16
1.นางสาวอมรรัตน์ ผิวแดง รหัส 493050078 - 8
สมาชิกกลุ่ม 1.นางสาวอมรรัตน์ ผิวแดง รหัส 2.นางสาวปรียาณัฐ ภูหงษ์ รหัส 3.นางสาวอภิญญา แสนวิชัย รหัส
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.