งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น
โดย นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ

2 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย

3 มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย
Yes ปรับมาตรฐานMCH พัฒนาทีมประเมินระดับเขต สุ่มประเมินรับรอง มอบโล่ ร่วมพัฒนามาตรฐาน ศูนย์เด็กฯ ร่วมพัฒนาวิชาชีพพี่เลี้ยงเด็ก พัฒนาระบบ บริการMCH อัตราแม่ตาย 15 : แสน ร.ร.พ่อแม่ในหน่วยบริการฯศูนย์เด็ก ระบบป้องกันและควบคุมภาวะดาวน์ มุม/ลาน “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” -ระบบData MCH - โปรแกรม โภชนาการ ประเมินสมุดบันทึกสุขภาพฯ MODEL development พัฒนาการเด็กสมวัย 85 % ประชุมMCH board ส่วนกลาง เขตสุขภาพ อบรมวิทยากร คัดกรองด้วยDSPM อบรมมิสน นมแม่ประจำโรงพยาบาล อบรมการให้ การปรึกษา Thalassemi a & PND พัฒนาศักยภาพบุคลลากร รวมพลคน กินนมแม่ เฉลิมพระเกียรติฯ เล่นตามรอย พระยุคลบาท ตามหลักBBL เล่านิทาน อาหารตามวัย /อนามัยช่องปาก/ความรู้PA นมแม่ Milk code เด็กไทยได้อะไร เด็กสูงดี สมส่วน 70% การสื่อสารสังคม ยกกร่างพรบ.และรับฟังความคิดเห็นจากภาคีเกี่ยวข้อง เสนอ ร่าง Milk code เข้าครม.และกฤษฎีกา ยกร่างประกาศกระทรวงเตรียมเสนอ สนช. อบรมทีมเฝ้าระวัง Milk codeระดับเขต จังหวัด อัตราฟันผุ 3 ปี 53% มาตรการทางกฎหมาย

4 ผลงานตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุขและกรมอนามัย กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก รอบ 6 เดือน ปี งบประมาณ 2559

5 ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ที่มา: ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2559 - ช่วงรณรงค์คือ วันที่ 4-8 กค. 2559  เป้าหมาย คือ เด็กที่เกิดตามช่วงวันที่ดังนี้ 1) 9 เดือน ถึง   2) 18 เดือน ถึง   3) 30 เดือน ถึง   4) 42 เดือน ถึง   - ผลงาน ประมวลผลตามเกณฑ์ช่วงวันที่ของอายุของการคัดกรองที่กำหนด 30 วัน คือ ต้องคัดกรอง ที่อายุแตะ 9,18,30,42 เดือนวันแรกและคัดกรองใน 30 วันที่อายุไม่แตะ 10,19,31,43 เดือน 

6 ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน และ 3 ปี เดือน มีฟันน้ำนมผุ
ที่มา : ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2559

7 ร้อยละของเด็กอายุน้อยกว่า 6 ปี มีส่วนสูงดีและรูปร่างสมส่วน
ที่มา : ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2559

8 สถานการณ์กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย (ขอเพิ่มแผ่นนี้ 1แผ่น ข้อมูลคุณภาพ)
ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ที่มา : * Health Data Center : ณ 10 พฤษภาคม 2559 ** การศึกษาพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทยปี 2557,กรมอนามัย ,2558

9 แผน/งบประมาณ 60 cluster สตรีและเด็กปฐมวัย
งบจัดสรร ล้าน 19.13 (44.9%) 23.43 (55.1%)

10 Cluster วัยเรียน

11 มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย
มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ พัฒนามาตรฐาน รับรองมาตรฐาน ประกาศเกียรติคุณ เด็กไทย แข็งแรง ฉลาด โปรแกรมคัดกรองสุขภาพนักเรียน Model development Smart kid coacher ChOPA & ChiPA เด็กสูงดีสมส่วน 66 % สื่อสารสังคม สื่อละครสร้างสรรค์ทันตสุขภาพ โครงงานสุขภาพ ลดอ้วน≤ 10% สร้างการมีส่วนร่วม เครือข่ายเด็กไทยฟันดี เด็กไทยสายตาดี ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

12 สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
ร้อยละ เขต ที่มาแหล่งข้อมูลจาก HDC ข้อมูล ณ วันที่ 5 สิงหาคม N = 2,828,565 (n = 371,744)

13 เด็กไทยฟันดี สุขภาพดี
เด็กไทยสายตาดี เด็กไทยฟันดี สุขภาพดี เด็กฟันผุ % บริโภคขนม/ลูกอม/เครื่องดื่ม ระหว่างมื้อ 62.9 % อบรม ครู 215 คน คัดกรองสายตา นร.ป1 300,412 คน (37.55 %) สายตาผิดปกติ 4973 คน(1.7%) “โชป้า แอนด์ ชายด์ป้า เกมส์ ลดเรียนเพิ่มรู้สู่อาเซียน” อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร โชป้า แอนด์ ชายด์ ป้า โค้ช ครู นักเรียน จำนวน 13 รร. 1,472 คน พัฒนาศักยภาพเด็กอ้วน วัยรุ่น 1,330 คน

14 งบประมาณ ล้าน งบประมาณ ล้าน

15 Cluster วัยรุ่น

16 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์
มาตรการ กระบวนการ เป้าหมาย ลดการตั้งครรภ์ซ้ำ ไม่เกินร้อยละ 10 สร้างการมีส่วนร่วม อ.อนามัยเจริญพันธ์ พัฒนาศักยภาพบุคลากร สธ. ในการดำเนินการอนามัยเจริญพันธ์ และ YFHS โดยการอบรมหลักสูตร Refresher course 9รุ่น เยี่ยมประเมิน รพ.ตามมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการ/รพ.ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ / ผ่านเกณฑ์อ.อนามัยเจริญพันธ์ ร้อยละ 62.87 อัตราการคลอดมีชีพ อายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ ปีพันคน ในปี 2560 พัฒนาคู่มือการจัดอบรมเรื่องเพศฯ พัฒนาศักยภาพวิทยากรฯ จัดทำคู่มือแนวทางการมีกิจกรรมทางกายของคนไทย การสื่อสารสังคม วัยรุ่น ปี สูงสมส่วน และอายุ 19 ปี มีส่วนสูงเฉลี่ยตามเกณฑ์ มาตรการทางกฎหมาย/ยุทธศาสตร์อนามัย การเจริญพันธ์ ยกร่างยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ ขับเคลื่อน พรบ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาในวัยรุ่น

17 ผลการดำเนินงาน

18 ผลการดำเนินงาน จำนวนโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS
ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์โรงพยาบาลตามมาตรฐาน YFHS (สะสม) แยกรายเขตสุขภาพ เป้าหมาย ร้อยละ 75 (ข้อมูล ณ 11 สิงหาคม 2559)

19 ผลการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ร้อยละของอำเภอ ที่ผ่านเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์(สะสม) แยกรายเขตสุขภาพ (ข้อมูล ณ 11 สิงหาคม 2559)

20 แผนบูรณาการ/งบประมาณกลุ่มวัยรุ่น 2560
9.9129 9.9129 28.5% งบที่จัดสรร ล้าน 71.5%

21


ดาวน์โหลด ppt ผลการดำเนินงาน 3 Cluster สตรีและเด็กปฐมวัย วัยเรียน และ วัยรุ่น

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google