ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ
2
รถยนต์ 586 กม. รถไฟ 515 กม. สนามบินฯ อุบล 60 กม. พื้นที่ 8,839 ตร.กม.
ระยะทางจากกรุงเทพ รถยนต์ 586 กม. รถไฟ 515 กม. สนามบินฯ อุบล 60 กม. พื้นที่ ,839 ตร.กม. ประชากร 1,446,484 คน
3
22 อำเภอ 206 ตำบล 2,621 หมู่บ้าน 182 ชุมชน 322,854 หลังคาเรือน อบจ แห่ง อบต แห่ง เทศบาลเมือง แห่ง เทศบาลตำบล แห่ง
4
หน่วยบริการตรวจรักษาผู้ป่วย
จ.ศรีสะเกษ ศิลาลาด หน่วยบริการตรวจรักษาผู้ป่วย โรคไข้มาลาเรีย บึงบูรพ์ ราษีไศล ยางชุมน้อย เมืองจันทร์ โพธิ์ศรีสุวรรณ กันทรารมย์ อุทุมพรพิสัย สัญญลักษณ์ (เป้าหมาย) เมืองศรีสะเกษ ห้วยทับทัน วังหิน โนนคูณ น้ำเกลี้ยง พยุห์ =MP ปรางค์กู่ ปรางค์กู่ ศรีรัตนะ เบญจลักษ์ ไพรบึง =รพ.สต. ขุขันธ์ กันทรลักษ์ ขุนหาญ ภูสิงห์
5
โครงสร้างการบริหารกลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 2560
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ นพ.วันชัย เหล่าเสถียรกิจ นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) นพ.ธีระพงษ์ แก้วภมร หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ นางสาวบังอร เหล่าเสถียรกิจ งานควบคุมโรคติดต่อทั่วไป งานควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง งานควบคุมโรคติดต่อพื้นที่เฉพาะ ระบาดวิทยา งานบริหารจัดการภัยพิบัติ งานอื่นๆ EPI เกษสุมา วงษ์ไกร วัณโรค โรคเรื้อน ตับอักเสบ เกษสุมา วงษ์ไกร ภัทรภรณ์ บัวพันธ์ โรคติดต่อชายแดน ควบคุมโรคในแรงงานต่างชาติ ประภาส สุนันท์ บังอร เหล่าเสถียรกิจ IHR เกษสุมา วงษ์ไกร งานสอบสวนโรค งานประเมินปัญหาสุขภาพโรคติดต่อในพื้นที่ งานพัฒนาระบบเฝ้าระวังและควบคุมโรค งานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ประภาส สุนันท์ บุญประเสริฐ เทศะบำรุง บังอร เหล่าเสถียรกิจ และเจ้าหน้าที่กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อทุกคนเป็นทีมสอบสวนโรค แผนงานเตรียมความพร้อม ด้านการแพทย์และ สาธารณสุขในสถานการณ์ โรคระบาด/สาธารณภัย ศักรินทร์ บุญประสงค์ บังอร เหล่าเสถียรกิจ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง บังอร เหล่าเสถียรกิจ โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ศศิธร เจริญประเสริฐ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ บังอร เหล่าเสถียรกิจ งานควบคุมโรคเอดส์/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นฤภัค พิชญะธนกร อนุวัช กฤตสิน โรคติดต่อทั่วไป ศศิธร เจริญประเสริฐ ประชาสัมพันธ์และสื่อสาร ความเสี่ยง กันยารัตน์ เหล่าเสถียรกิจ ศักรินทร์ บุญประสงค์ โรคอุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ ศศิธร เจริญประเสริฐ จริยธรรม บังอร เหล่าเสถียรกิจ งานศึกษาวิจัยและพัฒนา โรคติดต่อสัตว์และคน ศักรินทร์ บุญประสงค์ บังอร เหล่าเสถียรกิจ งานวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข้อง บังอร เหล่าเสถียรกิจ ศศิธร เจริญประเสริฐ ไข้เลือดออก มาลาเรีย ไข้ติดเชื้อซิกา เท้าช้าง กันยารัตน์ เหล่าเสถียรกิจ รัตภรณ์ วรเลิศ พนิดา นครานุรักษ์ งานตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (EOC) กันยารัตน์ เหล่าเสถียรกิจ บังอร เหล่าเสถียรกิจ
6
ผู้รับผิดชอบงานป้องกันควบคุมโรคไข้มาลาเรีย จ.ศรีสะเกษ
นายวันชัย เหล่าเสถียรกิจ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ นางสาวบังอร เหล่าเสถียรกิจ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สายบังคับบัญชา สายประสานงาน นางกันยารัตน์ เหล่าเสถียรกิจ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ นางสาวรัตภรณ์ วรเลิศ PA - RAI นางสาวพนิดา นครานุรักษ์ PA – SSF-M นายประเสริฐ โนนแก้ว หน.หน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง รพ.สต. 8 /MP6 MP1/BMP1 MP1/BMP1 MC 3 ผู้รับผิดชอบงานป้องกันควบคุมโรคไข้มาลาเรีย จ.ศรีสะเกษ
7
สถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2555-2560
สถานการณ์โรคไข้มาลาเรีย ในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ ปี ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2560
8
Malaria case in Sisaket
9
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย จ.ศรีสะเกษ ปี 2560 จำแนกรายสัปดาห์
11
ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.กันทรลักษ์ ปี 2560 จำแนกตามอาชีพ
ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.กันทรลักษ์ ปี จำแนกตามอาชีพ ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ขุนหาญ ปี จำแนกตามอาชีพ
12
ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ภูสิงห์ ปี 2560 จำแนกตามอาชีพ
ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ภูสิงห์ ปี 2560 จำแนกตามอาชีพ ร้อยละของผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ขุขันธ์ ปี 2560 จำแนกตามอาชีพ
13
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย จ.ศรีสะเกษ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ
14
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.กันทรลักษ์ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.กันทรลักษ์ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ขุนหาญ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ
15
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ภูสิงห์ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ภูสิงห์ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย อ.ขุขันธ์ ปี2560 จำแนกกลุ่มอายุ
16
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ปี 2555-2560 จ.ศรีสะเกษ (ณ วันที่ 27 ตค.60)
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ปี จ.ศรีสะเกษ (ณ วันที่ 27 ตค.60) ราย
17
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียแยกตามชนิดเชื้อ ปี 2555-2560 จ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียแยกตามชนิดเชื้อ ปี จ.ศรีสะเกษ (ณ วันที่ 27 ตค.60) ราย
18
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ปี 2555-2560 จ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ปี จ.ศรีสะเกษ ในอำเภอที่เป็นพื้นที่เสี่ยง (ณ วันที่ 27ตค.60) ราย
19
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียแยกตามชนิดเชื้อ ปี 2560 จ
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรียแยกตามชนิดเชื้อ ปี จ.ศรีสะเกษ (ณ วันที่ 27ตค.60) ราย
20
ผลการดำเนินงาน ภายหลังเปิดศูนย์ปฏิบัติการ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านมาลาเรีย วันที่ 11 กรกฎาคม 2560
21
กิจกรรม ประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขและทบทวน การรักษาผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย วันที่ 11 กรกฎาคม เวลา น. ณ ห้องประชุมชั้น 8 รพ.ศรีสะเกษ ผู้เข้าประชุม 90 คน ปัญหาที่พบ แพทย์ที่เข้าประชุมเป็นแพทย์ พยาบาล จากรพ.ศรีสะเกษ(ส่วนใหญ่เป็น แพทย์เพิ่มพูนทักษะ)และรพ.ที่ตั้งในพื้นที่ที่มีโรคไข้มาลาเรียระบาด เท่านั้น
22
กิจกรรม ส่งประกาศจังหวัดศรีสะเกษ เรื่องมาตรการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน กรณีการระบาดของโรคไข้มาลาเรีย ลงนามโดยผู้ว่า ราชการจังหวัดศรีสะเกษ ไปยังภาคีเครือข่าย ตามหนังสือ ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ ที่ ศก 0032/ว ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 ขอรับการสนับสนุนชุดตรวจมาลาเรียอย่างรวดเร็ว(RDT) และยาทากันยุง จากองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ แต่ไม่ได้รับการสนับสนุน(แจ้งว่าไม่ทันปีงบประมาณ)
23
กิจกรรม แจ้งให้อำเภอกันทรลักษ์,ขุนหาญและภูสิงห์ เปิดศูนย์ EOC
สิ่งที่เกิดขึ้น อำเภอกันทรลักษ์-มีเฉพาะจนท.สธ เข้าประชุม มีข้อสั่งการจากศูนย์ EOC เฉพาะหน่วยงานสาธารณสุข อำเภอขุนหาญ-มีภาคีเครือข่ายและจนท.สธ ในพื้นที่เสี่ยงไข้มาลาเรีย เข้าร่วมประชุม ไม่มีข้อสั่งการ เนื่องจากประธานศูนย์EOC(นอภ.)และ รองประธาน(สสอ.) ติดราชการสำคัญ จึงเป็นลักษณะการ ประสานงานขอความร่วมมือและแจ้งแนวทางการดำเนินงาน อำเภอภูสิงห์- มีภาคีเครือข่ายและจนท.สธ ในพื้นที่เสี่ยงไข้มาลาเรีย เข้าร่วมประชุม นอภ.เป็นประธานเปิดศูนย์ มีการกำหนดบทบาท หน้าที่ของแต่ละภาคส่วน
24
กิจกรรม จัดทำแผนสำรวจมุ้ง กระจายมุ้ง และเจาะเลือดค้าหาผู้ป่วย
ที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อมาลาเรีย ระหว่างวันที่ 5 ตค. -17 พย.60 -สำรวจการมีมุ้งใช้ของประชาชน พร้อมกระจายมุ้ง/มุ้งคลุมเปล อำเภอ ขุนหาญ 13 หมู่บ้าน (5-17 ตค.60) มุ้ง LLIN จำนวน หลัง มุ้ง LLIHN จำนวน หลัง -เจาะเลือดค้นหาผู้ป่วย จำนวน 1,082 ราย พบเชื้อPV 1 ราย เป็นเพศชาย อายุ 34 ปี ที่อยู่ 112 บ้านเดื่อ ม.2 กระหวัน อ.ขุนหาญ (พื้นที่ B2) ความเสี่ยง- กรีดยางที่ทับทิมสยาม07(พื้นที่ A1) ปัญหาที่พบ ไม่ค่อยพบคนที่อาศัยอยู่ประจำในพื้นที่เสี่ยงและคนที่อยู่ประจำในพื้นที่เสี่ยง ส่วน หนึ่งเป็นคนนอกพื้นที่
25
กิจกรรม นำเข้าวาระการประชุม คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดศรีสะเกษ ตามพรบ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 ครั้งที่ 2/2560 วันที่ 21 สิงหาคม ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอที่ประชุมเพื่อพิจารณา ข้อ 4.3 การพิจารณาดำเนินการควบคุมการระบาดของโรคไข้มาลาเรีย ไข้ซิก้า จังหวัดศรีสะเกษ ผู้ว่าฯ มอบหมายนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเป็นประธาน นำข้อมูลเข้าที่ประชุม IHR ไทย-กัมพูชา วันที่ 26 กันยายน 2560 ประสานผู้นำชุมชน ตำบลกันทรอม อำเภอขุนหาญ ช่วยเก็บข้อมูล มาลาเรียในประชาชนกัมพูชาที่ตั้งหมู่บ้านติดกับชายแดนไทย เนื่องจากมีความคุ้นเคย(กรรมการงานวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมของ 2 ประเทศ)
26
แนวทางแก้ไขปัญหา
27
การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่น
มีการจัดทำประกาศจังหวัดศรีสะเกษ เรื่องมาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรณีการระบาดของโรคไข้มาลาเรีย
28
การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่น
แจ้งมาตรการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรณีการระบาดของโรคไข้มาลาเรีย ให้กับหน่วยงานภายในและภายนอก
29
การดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่น
ขอรับสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ วัสดุทางการแพทย์ (สตม./อบจ.) ในการควบคุมโรคไข้มาลาเรีย
30
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.