ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
นางสาวอะคร้าว อนันต์ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2
ถั่วเขียว
3
รายการ ปี 2558/59 2559/60 ผลต่าง (ร้อยละ)
การผลิต รายการ ปี 2558/59 2559/60 ผลต่าง (ร้อยละ) เนื้อที่ปลูก (ไร่) 855,304 862,260 0.81 ผลผลิต (ตัน) 98,360 100,720 2.40 ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก.) 115 117 1.74 ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
4
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 1/ ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพ 2/
เดือน ราคาที่เกษตรกรขายได้ 1/ ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพ 2/ ราคาเอฟโอบี 3/ ผิวมันใหญ่ ผิวมัน ผิวดำ (คละ) (เกรด A) (เกรด B) ชั้น 2 เฉลี่ยปี 2559 27.01 38.00 30.92 25.00 38.96 31.86 25.88 ราคาปี 2558 32.79 39.00 35.87 32.60 40.20 37.48 48.96 ที่มา : 1/ ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/,3/ สมาคมพ่อค้าข้าวโพดและพืชพันธุ์ไทย
5
การส่งออก รายการ ปี 2558 ปี 2558 (ม.ค.-พ.ย.) ปี 2559 (ม.ค.-พ.ย.)
ถั่วเขียวผิวดำ ปริมาณ (ตัน) 4,737.92 4,043.20 2,521.64 มูลค่า (ล้านบาท) 225.60 183.10 153.33 ถั่วเขียวผิวมัน ปริมาณ (ตัน) 16,812.66 11,711.05 12,951.56 623.96 519.78 476.84 ที่มา : กรมศุลกากร
6
การนำเข้า ปี 2559 (มกราคม-พฤศจิกายน) ไทยนำเข้าถั่วเขียวผิวดำปริมาณ 14, ตัน มูลค่า ล้านบาท โดยตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ เมียนมาร์ และสหรัฐอาหรับอิมิเรสต์ สำหรับถั่วเขียวผิวมันนำเข้าปริมาณ 12, ตัน มูลค่า ล้าน โดยตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ออสเตรเลีย เมียนมาร์ และอาร์เจนตินา รายการ ปี 2558 ปี 2558 (ม.ค.-พ.ย.) ปี 2559 (ม.ค.-พ.ย.) ถั่วเขียวผิวดำ ปริมาณ (ตัน) 7,263.46 7,229.45 14,934.09 มูลค่า (ล้านบาท) 294.82 292.88 807.04 ถั่วเขียวผิวมัน ปริมาณ (ตัน) 16,816.26 16,523.06 12,348.06 670.09 657.35 431.82 ที่มา กรมศุลกากร
7
ถั่วลิสง
8
สถานการณ์ในประเทศ
9
การผลิต เนื้อที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ถั่วลิสง ปี 2558/59 – รายการ ปี 2558/59 ปี 2559/60 ผลต่าง (ร้อยละ) เนื้อที่ปลูก (ไร่) 135,902 123,909 -8.82 ผลผลิต (ตัน) 36,337 33,379 -8.14 ผลผลิตต่อไร่ (ก.ก.) 267 269 0.75 ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
10
ราคา 1 ปี ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.)
ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพ (บาท/กก.) ถั่วลิสง ถั่วลิสงกะเทาะเปลือก ทั้งเปลือกสด ทั้งเปลือกแห้ง ชนิดคัดพิเศษ ชนิดคัดธรรมดา เฉลี่ยปี 2559 25.79 45.4 60 51 ราคาปี 2558 21.44 45.12 ที่มา : 1/ ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์
11
การส่งออก รายการ ปี 2558 ปี 2558 (ม.ค.-พ.ย.) ปี 2559 (ม.ค.-พ.ย.) ถั่วลิสงทั้งเปลือก (ตัน) 155.00 225.37 518.04 มูลค่า (ล้านบาท) 0.54 3.94 30.83 ถั่วลิสงกะเทาะเปลือก (ตัน) 45.00 48.43 913.45 1.53 1.77 23.45 ตลาดส่งออกถั่วลิสงทั้งเปลือกที่สำคัญ ได้แก่ กัมพูชา และมาเลเซีย ตลาดส่งออกถั่วลิสงกะเทาะเปลือกที่สำคัญ ได้แก่ เวียดนาม และกัมพูชา
12
การนำเข้า รายการ ปี 2558 ปี 2558 (ม.ค.-พ.ย.) ปี 2559 (ม.ค.-พ.ย.) ถั่วลิสงทั้งเปลือก (ตัน) 6,653.00 7,857.18 11,593.68 มูลค่า (ล้านบาท) 163.17 196.98 415.71 ถั่วลิสงกะเทาะเปลือก (ตัน) 43,879.00 40,326.12 50,390.76 937.16 1,509.04 2,111.23 ไทยนำเข้าถั่วลิสงทั้งเปลือกจากประเทศจีนมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ลาว เมียนมาร์ ไทยนำเข้าถั่วลิสงกะเทาะเปลือกจากประเทศจีนมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ อินเดีย และเมียนมาร์
13
สถานการณ์ต่างประเทศ กระทรวงเกษตรสหรัฐฯรายงานภาวการณ์ผลิตถั่วลิสงโลก ปี 2559/60 ประจำเดือนธันวาคม 2559 ว่ามีผลผลิต ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก ล้านตัน ของปี 2558/59 ร้อยละ 5.64 หรือคิดเป็นร้อยละ 7.66 ของผลผลิตพืชน้ำมันของโลกรองจากถั่วเหลือง เรปซีด และเมล็ดฝ้าย ซึ่งมีปริมาณ ล้านตัน ล้านตันและ ล้านตัน ตามลำดับ
14
ผลผลิตและการกระจายผลผลิตถั่วลิสงโลก
รายการ 2558/59 2559/60 ผลต่างร้อยละ ผลผลิต 40.22 42.49 5.64 นำเข้า 3.20 3.27 2.19 ส่งออก 3.72 3.89 4.57 สกัดน้ำมัน 16.66 17.94 7.68 สต็อกปลายปี 2.24 2.46 9.82 ที่มา : Oilseeds : World Market and Trade, Dec, 2016.
15
ผลผลิตถั่วลิสงของประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ
2558/59 2559/60 ผลต่างร้อยละ สาธารณรัฐประชาชนจีน 16.44 17.00 3.41 อินเดีย 4.47 6.30 40.94 อื่น ๆ 19.31 19.19 -0.62 รวม 40.22 42.49 5.64 ที่มา : Oilseeds : World Market and Trade, Dec, 2016.
16
ถั่วเหลือง
17
การผลิตถั่วเหลืองโลก
ผลผลิตและความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองโลก หน่วย : ล้านตัน รายการ 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 2559/60 อัตราการเจริญเติบโต % การเปลี่ยนแปลง59/60 และ58/59 ผลผลิต 268.53 282.46 319.78 313.31 338.00 5.88 7.88 2. นำเข้า 97.19 113.07 124.36 132.99 136.96 8.85 2.99 3. ส่งออก 100.80 112.69 126.22 131.95 139.25 8.37 5.53 4. สกัดน้ำมัน 230.58 242.30 263.49 276.41 289.44 6.04 4.71 5. สต็อกสิ้นปี 55.19 61.90 78.61 77.22 82.85 10.89 7.29 ที่มา : Oilseeds : World Markets and Trade, December 2016
18
ราคาเมล็ดถั่วเหลืองโลก
หน่วย : เหรียญสหรัฐฯ ต่อตัน รายการ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/592/ อัตราการเจริญเติบโต % การเปลี่ยนแปลง58/59 และ57/58 เมล็ดถั่วเหลือง 1. สหรัฐอเมริกา1/ 505 537 487 356 346 -11.02 -2.81 2. บราซิล (FOB) 549 538 514 388 382 -9.99 -1.55 3. อาร์เจนตินา (FOB) 533 543 517 401 375 -9.57 -6.48 4. รอตเตอร์ดัม (CIF) 562 592 542 407 396 -10.19 -2.70 ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ หมายเหตุ : ข้อมูลเฉลี่ยเดือนตุลาคมปีนี้ – กันยายนปีถัดไป 1/ราคาถั่วเหลือง No.1 รัฐอิลินอยส์ 2/ ปี 2558/59 คือข้อมูลเฉลี่ยเดือนตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
19
การผลิตและการตลาดเมล็ดถั่วเหลืองของประเทศไทย
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราการเจริญเติบโต % การเปลี่ยนแปลง 59 และ 58 1. เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่)1/ 0.247 0.196 0.237 0.217 0.212 -2.02 -2.30 2. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 1/ 257 270 243 262 264 0.24 0.76 3. ผลผลิตทั้งหมด (ล้านตัน) 1/ 0.064 0.053 0.058 0.057 0.056 -1.92 -1.75 4. นำเข้า (ล้านตัน) 2/ 2.120 1.679 1.898 2.557 2.600 8.64 1.68 5. ส่งออก (ล้านตัน) 2/ 0.002 0.012 0.009 0.010 60.37 11.11 6. ความต้องการใช้ใน ประเทศ (ล้านตัน) 3/ 2.210 1.741 1.944 2.605 2.657 8.36 2.00 หมายเหตุ : * ข้อมูลประมาณการเบื้องต้น ที่มา: 1/ ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร 3/ จากการคำนวณ
20
การผลิตถั่วเหลืองของไทย
เนื้อที่ปลูก ผลผลิต หมายเหตุ : ข้อมูลประมาณการเบื้องต้น
21
ราคาที่เกษตรกรขายได้และราคานำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง
2555 2556 2557 2558 2559 อัตราการ เจริญเติบโต % การเปลี่ยนแปลง ปี 59 และ ปี58 1. ราคาเมล็ดถั่วเหลือง - เกษตรกรขายได้คละเกรด1/ 15.75 18.24 18.08 15.46 14.47 -3.36 -5.73 ราคาขั้นต่ำที่กำหนด2/ 12.75 14.00 15.50 5.05 - ราคาที่รับซื้อจริง3/ เกรดสกัดน้ำมัน 17.27 18.59 20.96 16.53 16.47 -2.10 -0.36 เกรดอาหารสัตว์ 18.91 19.88 19.30 16.90 16.54 -4.21 -2.13 เกรดแปรรูปอาหาร 22.01 24.46 24.82 25.21 23.89 1.96 -5.24 2. ราคานำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง - ท่าเรือ (เกาะสีชัง) 4/ 18.86 18.60 18.44 15.00 14.44 -7.22 -3.73 - ตลาดชิคาโก5/ 16.78 15.93 14.91 11.92 12.90 -7.84 8.22 ที่มา 1/ ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ ราคา ณ ไร่นา ของเกรดสกัดน้ำมัน (เกรดอาหารสัตว์บวก 0.25 บาท และเกรดแปรรูปอาหารบวก 2.00 บาท) 3/ รายงานการรับซื้อถั่วเหลืองในประเทศของผู้มีสิทธินำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง (ปี 2559 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค. – พ.ย. 2559) 4/ กรมศุลกากร (ปี 2559 เป็นข้อมูลเดือน ม.ค. – พ.ย. 2559) 5/
22
ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองของไทย
ล้านตัน ล้านตัน หมายเหตุ : ข้อมูลประมาณการเบื้องต้น
23
ปริมาณและมูลค่านำเข้าผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง
24
ปริมาณและมูลค่าส่งออกผลิตภัณฑ์ถั่วเหลือง
25
โรงงานแปรรูปอาหารและอาหารสัตว์
เมล็ดถั่วเหลือง 100% ผลผลิตในประเทศ 5% นำเข้าเมล็ด 95% ทำพันธุ์ 0.15% โรงงานแปรรูปอาหารและอาหารสัตว์ 17.85% โรงงานสกัดน้ำมัน 82% กากถั่วเหลือง ในประเทศ 78% กากถั่วเหลือง นำเข้า โรงงานอาหารสัตว์ พ่อค้ากากถั่วเหลือง น้ำมันถั่วเหลือง 18% สูญเสีย 4% ผู้เลี้ยงสัตว์ น้ำมันปรุงอาหาร อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรม หมึกพิมพ์ ผู้บริโภค
26
นโยบาย/มาตรการ โครงการเพิ่มเนื้อที่ปลูกถั่วเหลืองหลังนาประชารัฐ
คณะทำงานการพัฒนาเกษตรสมัยใหม่ ดำเนิน โครงการปลูกถั่วเหลืองหลังนาประชารัฐ เพื่อ เพิ่มผลผลิตถั่วเหลืองในประเทศ และเพิ่มรายได้ให้ เกษตรกรหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าว โดยมีกรมวิชาการ เกษตรเป็นหน่วยงานหลัก และภาคเอกชนเข้าร่วม โครงการ การดำเนินการ พื้นที่ดำเนินการปลูกถั่วเหลือง จำนวน 1,870 ไร่ ในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ศรีษะเกษ และอุดรธานี ซึ่งกรมวิชาการเกษตร ภาคเอกชน และเกษตรกรที่ เข้าร่วมโครงการได้ดำเนินการปลูก ถั่วเหลืองในแปลงต้นแบบ
27
นโยบาย/มาตรการ การบริหารการนำเข้าเมล็ดถั่วเหลือง
1. ผู้มีสิทธินำเข้าเฉพาะผู้นำมาใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมน้ำมันพืช อาหารสัตว์ และอุตสาหกรรมอาหาร 2. ผู้มีสิทธินำเข้าต้องรับซื้อเมล็ดถั่วเหลืองทั้งหมดในประเทศ ในราคาขั้นต่ำไม่ต่ำกว่าราคาที่ คณะกรรมการพืชน้ำมันและน้ำมันพืช กำหนด
28
จบการนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.