งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เขตบริการสุขภาพที่ 3 และคณะ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เขตบริการสุขภาพที่ 3 และคณะ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เขตบริการสุขภาพที่ 3 และคณะ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
ยินดีต้อนรับ น.พ.สุขุม กาญจนพิมาย ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข น.พ.บุญชัย ธีระกาญจน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตบริการสุขภาพที่ 3 และคณะ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดกำแพงเพชร รอบที่ 2 ปีงบประมาณ 2558

2 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน
และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ(OP.+IP.)ประชาชนเข้าถึงบริการได้

3 โรงพยาบาลกำแพงเพชร วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม
วิสัยทัศน์ โรงพยาบาลคุณภาพคู่คุณธรรม พันธกิจ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานในทุกระดับ 2. พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลสุขภาพของภาคีเครือข่ายและ ประชาชน ได้เหมาะสม 4. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้คู่คุณธรรม และมีความสุข

4 โรงพยาบาลขนาด 410 เตียง กำลังก่อสร้างอาคารผู้ป่วย ตึก 8 ชั้น ขนาด 156 เตียง

5 ผ่านการประเมินคุณภาพ Re-Accreditation ครั้งที่ 2
21 ก.พ.2557 – 20 ก.พ.2560

6 นพ.พิชัย ศิริพรพาณิชย์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกำแพงเพชร
นพ.พิชัย ศิริพรพาณิชย์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลกำแพงเพชร นพ.สุรชัย แก้วหิรัญ รองผอ.กลุ่มภารกิจด้านพัฒนาระบบและสนับสนุนบริการสุขภาพ นายวิเศษ อุดมศิลป์ รองผู้อำนวยการ กลุ่มภารกิจด้านอำนวยการ นพ.ไพฑูรย์ อ่อนเกตุ รองผู้อำนวยการ กลุ่มภารกิจด้านปฐมภูมิ นพ.รังสันต์ ชัยกิจอำนวยโชค รองผู้อำนวยการ กลุ่มภารกิจด้านทุติยภูมิและตติยภูมิ นส.สาวิตรี อภัยราช รองผู้อำนวยการ กลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีน้ำใจ

7 จำนวนบุคลากร ร.พ.กำแพงเพชร พ.ค.2558
แพทย์(รวมผอ.) ข้าราชการ 50 +ลชค. 3คน ทันตแพทย์ 11 คน 1,179 เภสัชกร คน พกส พ.ราชการ 22 คน เทคนิคการแพทย์ (ขรก.14+พกส.6+ลชค.4) 24 คน พยาบาล(ขรก.359+พกส.69+ลชค.21) 449 คน แพทย์ใช้ทุน 22 คน 7

8 อัตรากำลัง FTE ของ รพ.กำแพงเพชร
วิชาชีพ FTE ควรมี(80%) ปฏิบัติงานจริง ขาดตาม80%FTE % ขาด แพทย์ 99.44 80 52 28 35.00% ทันตแพทย์ 28.42 23 11 12 52.17% เภสัชกร 39.92 32 4 12.50% พยาบาล 588.46 470 449 21 4.47% Intern 22 คน

9 สถิติการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก จำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด
รายการ ต.ค. 56 – พ.ค. 57 ต.ค. 57 – พ.ค. 58 ผู้มารับบริการเฉลี่ยวันละ 1,372 ครั้ง 1,401 ครั้ง ผู้ป่วยอุบัติเหตุ/เดือน 1,121 ครั้ง 1,175 ครั้ง ผู้ป่วยฉุกเฉิน / เดือน 3,410 ครั้ง 3,451 ครั้ง ผู้ป่วยนอก Refer out OPD. 5,840 ครั้ง 6,060 ครั้ง จำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด 261,550 ครั้ง 267,045 ครั้ง

10 5 อันดับโรคป่วยผู้ป่วยนอก ปี 2556 –พ.ค. 2558
ลำดับ 2556 จำนวน 2557 (ต.ค.-พ.ค.) 2558 1 Hypertension 22,477 19,673 12,764 2 Diabetes mellitus 13,120 12,263 9,376 3 Dyspepsia 7,052 6,000 Senile cataract 4,236 4 6,321 4,813 3,702 5 Acute pharyngitis 5,417 4,742 Chronic kidney disease 3,535 รวม 384,354 405,809 267,045

11 สถิติการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด
รายการ จำนวน จำนวนเตียงทั้งหมด 410 เตียง อัตราการครองเตียง % ผู้ป่วยในเข้ารับการรักษาเฉลี่ยวันละ 109 ราย LOS. เฉลี่ยคนละ 4 วัน Refer OUT ผู้ป่วยใน / เดือน 55 ราย จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด 26,440 คน ข้อมูล ปี 2558 (ต.ค. 57 – พ.ค. 58)

12 5 อันดับโรคป่วยผู้ป่วยใน ปี 2556 –พ.ค. 2558
ลำดับ 2556 จำนวน 2557 พ.ค. 2558 1 Senile cataract 2,307 2,310 1,863 2 Ac. Gastroenteritis 1,276 1,357 865 3 Pneumonia 914 Cerebral infarction 748 782 4 768 Concussion 601 592 5 UGIH 548 CHF 361 รวม 40,669 41,144 26,440

13 สถิติการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน : อัตราการครองเตียง
สถิติการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน : อัตราการครองเตียง ข้อมูล ปี 2558 (ต.ค. 57 – พ.ค. 58)

14 ข้อมูลให้บริการ ผป.ใน รพ.กำแพงเพชร

15 สาเหตุการตาย ลำดับ 2556 จำนวน 2557 2558 (ต.ค.-พ.ค.) 1 Pneumonia 192
ปีงบประมาณ 2556 2557 2557 (ต.ค.-พ.ค.) 2558 (ต.ค.-พ.ค.) อัตราตายต่อ 100 ราย 4.05 3.73 4.10 4.17 สาเหตุการตาย ลำดับ 2556 จำนวน 2557 2558 (ต.ค.-พ.ค.) 1 Pneumonia 192 238 170 2 Cerebral infarction 66 61 Non traumatic ICH. 51 3 COPD 47 53 33 4 TB of lung 45 Acute MI. 48 CKD. 32 5 Cirrhosis 40 Sepsis 28 รวม 1,642 1,561 1,100

16 จำนวน Refer in ผู้ป่วยนอกราย รพช.
โรงพยาบาล 2556 (384,354ครั้ง) 2557 (405,80988ครั้ง) พ.ค (267,045) โรงพยาบาลทุ่งโพธิ์ทะเล 2,286 2,402 1,565 โรงพยาบาลไทรงาม 4,456 4,662 3,190 โรงพยาบาลคลองลาน 6,330 6,394 4,747 โรงพยาบาลขาณุวรลักษบุรี 7,223 7,233 4,335 โรงพยาบาลคลองขลุง 6,829 6,877 4,461 โรงพยาบาลพรานกระต่าย 6,530 7,188 4,556 โรงพยาบาลลานกระบือ 2,749 2,940 2,552 โรงพยาบาลทรายทองวัฒนา 2,304 2,469 1,651 โรงพยาบาลปางศิลาทอง 3,072 3,448 2,253 โรงพยาบาลบึงสามัคคี 1,777 1,753 1,160 โรงพยาบาลโกสัมพีนคร 244 206 รวม 43,556 (11.33 %) 45,610 (11.23%) 30,676 (11.49 % )

17 จำนวน Refer in ผู้ป่วยใน
โรงพยาบาล 2556 2557 2558 (ต.ค.-พ.ค.) โรงพยาบาลทุ่งโพธิ์ทะเล 662 629 425 โรงพยาบาลไทรงาม 1,607 1,570 1,058 โรงพยาบาลคลองลาน 1,893 1,877 1,308 โรงพยาบาลขาณุวรลักษบุรี 2,371 2,287 1,253 โรงพยาบาลคลองขลุง 2,541 2,462 1,605 โรงพยาบาลพรานกระต่าย 1,927 2,098 1,247 โรงพยาบาลลานกระบือ 845 1,020 829 โรงพยาบาลทรายทองวัฒนา 781 836 637 โรงพยาบาลปางศิลาทอง 1,156 1,214 804 โรงพยาบาลบึงสามัคคี 588 633 485 โรงพยาบาลโกสัมพีนคร 601 385 รวม 14,371 (35.33 %) 15,227 (37.03 %) 10,051 ( % )

18 Refer in จำแนกตาม Adj. Rw. ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาล <0.5 > 1.00 ใน CUP โรงพยาบาลกำแพงเพชร 8 2 4 โรงพยาบาลทุ่งโพธิ์ทะเล 61 85 281 โรงพยาบาลไทรงาม 184 232 636 โรงพยาบาลคลองลาน 208 246 826 โรงพยาบาลขาณุวรลักษบุรี 210 262 774 โรงพยาบาลคลองขลุง 273 342 979 โรงพยาบาลพรานกระต่าย 217 174 852 โรงพยาบาลลานกระบือ 159 196 483 โรงพยาบาลทรายทองวัฒนา 114 130 382 โรงพยาบาลปางศิลาทอง 170 182 439 โรงพยาบาลบึงสามัคคี 76 109 298 โรงพยาบาลโกสัมพีนคร 134 133 รวม 1,814 ( 18.08% ) 2,074(20.63%) 6,087(60.47%)

19 การส่งต่อผู้ป่วยออก ( Refer out )
รายการ 2556 2557 ต.ค.56-พ.ค.57 ต.ค.57-พ.ค.58 เพิ่ม/ลด ในเขตบริการ 2,168 1,902 1,261 1,163 -98(- 7.77%) นอกเขตบริการ 7,193 7,801 4,315 5,359 1,044( %) รวมRefer Out 9,361 9,703 5,576 6,522 946(+16.97%)

20 สถานพยาบาล Refer out นอกเขตบริการ 2556- 2558 (ต.ค.-พ.ค.)
ลำดับ 2556 จำนวน 2557 2558 (.-พ.ค.) 1 รพ.ม.นเรศวร 1,927 2,503 1,961 2 รพ.พุทธชินราช 1,333 1,414 1,045 3 รพ.ราชวิถี 738 710 499 4 รพ.มะเร็งลพบุรี 459 392 316 5 รพ.รามาธิบดี 352 374 257

21 โรคที่ส่งต่อนอกเขตบริการสุขภาพ

22 Refer out นอกเขตบริการสุขภาพ โรคหัวใจ

23 Refer out นอกเขตบริการสุขภาพ โรคมะเร็ง

24 Refer out นอกเขตบริการสุขภาพ โรคอุบัติเหตุ

25 Refer out นอกเขตบริการสุขภาพ ทารกแรกเกิด 2558

26 แนวทางการลดการส่งต่อนอกเขต
Accessibility and Seamless network ในโรคที่สำคัญ STEMI, Stroke ลดการเจ็บป่วย โดยพัฒนาการควบคุมโรค NCD.ที่มีคุณภาพมากขึ้น โรงพยาบาลแม่ข่าย (A) พัฒนาศักยภาพด้าน Cardio intervention , CVT , Radiotherapy, Onco.med พัฒนาศักยภาพ Cardio Med, Neuro Surgery , Plastic surgery , Hepatobilliary Surgery

27 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด

28 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด
ระบบการรักษา 2558 1.เป็นศูนย์โรคหัวใจระดับ 3จังหวัดละ 1 แห่ง 1.รพท.กพ.เป็นศูนย์โรคหัวใจระดับ 3มีการ ให้บริการตรวจรักษาโรคหัวใจ ECHO. + EST. 2.รพช.ระดับ F2 ขึ้นไป สามารถให้ยา SK. ได้ 2. มีศักยภาพให้ได้ 100 % 3.มีการจัดตั้ง Heart failure clinicในร.พ.ระดับ M2 ขึ้นไป 3.1 มีเฉพาะ รพท. S 3.2 รพช.M2 อยู่ในระหว่างการดำเนินการ 4.รพ.ระดับ F2 ขึ้นไปจัดตั้งคลินิกWarfarin 4. ได้ 5 แห่ง / 10 แห่ง = 50 %

29 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด
ผู้ป่วย STEMI ได้รับการรักษาโดยการเปิดหลอดเลือด (PPCI+SK) มากกว่าร้อยละ 70

30 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด

31 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด
DTN. Time : ระยะเวลาเฉลี่ยตั้งแต่แน่นหน้าอกจนได้รับ ยาละลายลิ่มเลือด SK (ชั่วโมง)

32 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด
อัตราการตายSTEMI

33 Service Plan หัวใจและหลอดเลือด
รพ.ระดับ F2 ขึ้นไปจัดตั้งคลินิกWarfarin ชื่อรพ. ระดับ มี Lab PT/INR ให้ยา WFR ได้/ไม่ได้ 1. รพ. กำแพงเพชร S มี ได้ 2. รพ. ขาณุวรลักษบุรี M2 3. รพ. คลองขลุง F1 4. รพ. พรานกระต่าย F2 5. รพ. คลองลาน ไม่มี ไม่ได้ 6. รพ. ทรายทองวัฒนา 7. รพ. ไทรงาม 8. รพ. ลานกระบือ 9. รพ. บึงสามัคคี 10 รพ. ปางศิลาทอง 11. รพ. ทุ่งโพธิ์ทะเล F3 12. รพ. โกสัมพีนคร Warfarin Clinic 5/10=50%

34 SP.สาขาหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจและระบบบริการอื่นๆตาม Service Plan 2556 2557 พ.ค.2558 STEMI (I ) 110 112 66 NSTEMI (I214) 333 318 170 Unstable Angina (-20) 304 277 118 CHF. (I500) 1,193 1,217 665 การตรวจ Non Invasive 2556 2557 2558 (ต.ค.57-พ.ค.58) 1.Echocardiography 1,089 1,391 833 2.EST 18 54 21

35 SP. สาขาหัวใจและหลอดเลือด
พัฒนาศูนย์โรคหัวใจ Cardio. Med. พัฒนาเครือข่าย อบรมแพทย์จบใหม่และพยาบาล นิเทศแนวทางการดูแลผป.ใน รพช.

36 SP.หัวใจและหลอดเลือด : Stroke Fast Track
ตัวชี้วัด (KPI)  2555 2556 2557 ต.ค.-มี.ค.58 ต.ค.-พ.ค.58 1. จำนวนผู้ป่วย Ischemic Stroke ( I-63 ) 886 1,010 972 479 638 2. จน.ผป.เข้าระบบ FAST TRACK 17 73 69 46 64 3. จน.ผป.ที่ได้ยา rt-PA.ในระบบ FAST TRACK 3 19 11 12 4. อัตรา ผป.ที่ได้ยา rt-PA.ต่อAc. Ischemic Stroke ทั้งหมด 0.34% 1.68% 1.96% 1.88 % 5. อัตรา ผป.ที่ได้ rt-PA.ต่อผู้ป่วยI-63ที่เข้าเกณฑ์ SFT. 17.6% 22.9% 27.5% 23.9% 18.75% 6. อัตราตายผู้ป่วย Ischemic Stroke ( I-63 )ที่ได้รับrtPA. 11.11% 7. อัตราตายผู้ป่วย Ischemic Stroke ( I-63 ) ทั้งหมด 8.2% 10.2% 6.4% 7.93% 7.05%

37 Stroke Fast Track เริ่มวางระบบ

38 แผนการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
เป้าหมาย : ลดอัตราป่วย อัตราตาย เพิ่มการเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด มีระบบการส่งต่อและติดตามที่มีคุณภาพและต่อเนื่อง มาตรการหลักกลุ่มดีและชุมชน : *ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง *จัดทำโครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การเข้าถึงยาละลายลิ่มเลือด(rt-PA)ของ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน และช่องทางด่วนในการรับบริการ 1669กกลุ่มป่วย มาตรการหลักกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย : *ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง *คัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง *ให้ความรู้โรคหลอดเลือดสมองเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าระบบ Fast track เพิ่มมากขึ้น *พัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาลโรคหลอดเลือดสมอง *พัฒนาระบบการส่งต่อติดตามผู้ป่วยให้ครอบคลุมทุกเครือข่ายลุ่มป่วย

39 - ความรู้เรื่องโรคหัวใจและหลอดเลือด : AMI + Stroke
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) โดยใช้ Color Chart ในกลุ่ม ผู้ป่วย HT DM ระดับความเสี่ยง จำนวน (คน) ร้อยละ < 10% (เสี่ยงต่ำ) 42,319 89.12 10 - <20 % (เสี่ยงปานกลาง) 3,593 7.57 20 - <30 % (เสี่ยงสูง) 961 2.02 30 - <40 % (เสี่ยงสูงมาก) 344 0.72 >= 40 % (เสี่ยงสูงอันตราย) 268 0.56 - ความรู้เรื่องโรคหัวใจและหลอดเลือด : AMI + Stroke การติดต่อประสานงานกับ FCT. / EMS. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แบบเข้มข้น ที่มา : ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

40 ทารกแรกเกิด และกุมารเวชกรรม
Service Plan ทารกแรกเกิด และกุมารเวชกรรม

41 อัตราการตายทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ภายใน 28 วัน
ตัวชี้วัด เกณฑ์ 2555 2556 2557 2558 BW < 2500 < 5% 3.55 4.12 2.45 3.2 ที่มา : ปี งานกุมารเวชกรรม 2 รพ.กำแพงเพชร ปี MIS วันที่ 4 มิถุนายน 2558

42 Birth Asphyxia 2551- 2558 เป้าหมาย : ไม่เกิน 25 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ
ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) MIS

43 อัตราตายปริกำเนิด (Perinatal Mortality Rate)
ปีงบประมาณ 2555 2556 2557 2558 อัตราต่อ1,000 การเกิด 6.9 7.0 5.9 21.83 ไม่เกิน 9 ต่อ 1,000 การเกิด

44 แผน กิจกรรม service Plan ทารกแรกเกิด
การประชุมเชิงปฏิบัติการในเครือข่ายจังหวัดกำแพงเพชร “การดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะวิกฤต และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง ” การป้องกันภาวะ Hypothermia ระบบการส่งต่อ

45 Service Plan สูติกรรม ในปี 2557 มารดาตาย 1รายมจากสาเหตุ Amniotic fluid embolism

46 ภาวะตกเลือดหลังคลอด 2552- 2558
ภาวะตกเลือดหลังคลอด เป้าหมาย : ไม่เกินร้อยละ 5 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) MIS

47 อัตรามารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ
ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 2557 2558 จำนวน 1 3 2 อัตราต่อแสนการเกิด 16.6 15.9 44.4 66.6 สาเหตุการตาย ในปี 2557 มารดาตาย 1รายมจากสาเหตุ Amniotic fluid embolism

48 สูติกรรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาระบบดูแลครรภ์คุณภาพ ห้องคลอดคุณภาพ และดูแลมารดาทารกหลังคลอด” กลุ่มเป้าหมาย : รพ.สต. รพช.ทุกแห่ง การแปลผลการตรวจคัดกรองธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์ การทบทวน Clinical practice guideline และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ pathograph และการดูแลภาวะตกเลือด หลังคลอด ภาวะโภชนาการและภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์และการเยี่ยมบ้านหลังคลอดเพื่อดูแลสุขภาพมารดาและทารก

49

50 อัตราป่วย ต่อ แสนประชากรของโรคมะเร็งที่สำคัญปี 2554 – พ. ค
อัตราป่วย ต่อ แสนประชากรของโรคมะเร็งที่สำคัญปี 2554 – พ.ค จังหวัดกำแพงเพชร

51 อัตราตายต่อ 100,000 ประชากรของโรคมะเร็งที่สำคัญปี 2554-2558(พ. ค
อัตราตายต่อ 100,000 ประชากรของโรคมะเร็งที่สำคัญปี (พ.ค.) จังหวัดกำแพงเพชร

52 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และ มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักระยะที่ 1 และ 2

53 อัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี 2558 (2มิ. ย
อัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี 2558 (2มิ.ย.) จังหวัดกำแพงเพชรจำแนก รายอำเภอ

54 สตรี 30-70 ปี ผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปี 2558 (เม.ย.)

55 SP. มะเร็งด้านการรักษา
ให้เคมีบำบัด ในมะเร็งเต้านม ลำไส้ใหญ่ทวารหนัก กระเพาะอาหาร ทางเดินน้ำดี ตับอ่อน พัฒนาการผ่าตัดและ intervention มะเร็งตับ พัฒนาการให้เคมีบำบัดในมะเร็ง นรีเวช และ ENT KPI : ได้รับยาเคมีบำบัดใน 4สัปดาห์หลังผ่าตัด ( เฉลี่ย= 26 วัน) KPI : ได้รับการรังสีรักษาต่อ ใน 4 สัปดาห์ (15.3 วัน) ขยายศักยภาพเครือข่าย : ส่งผู้ป่วย ไปรับยา Tamoxifen และติดตามที่ รพช

56 การรักษา การดูแล palliative care ที่บ้าน (142ราย)
ดูแลผู้ป่วยหลังการรักษา ที่บ้าน ด้วยระบบส่งต่อ

57 โครงการ SP มะเร็ง โครงการคัดกรอง มะเร็งเต้านมด้วย Mammogram
โครงการฝึกคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี VIA with cryotherapy 2รุ่น โครงการคัดกรองมะเร็งตับด้วย Ultrasound โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักโดย FIT test พัฒนาการวินิจฉัย ด้วย Ultrasound พัฒนาศูนย์ส่งต่อโรคมะเร็ง พัฒนาการรักษา มะเร็งตับ PTBD RFA , Hepatectomy

58

59 EMS คุณภาพ : ผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ(สีเหลือง สีแดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินใน 10 นาที (response time)

60 อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน(V01-V89) KPI : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน
ตายที่เกิดเหตุ46.9% ตายที่เกิดเหตุ50.4%

61 อัตราตายด้วยอุบัติเหตุ
2555 2556 2557 2558 อัตราการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน 1,975.95 1,384.55 1,093.69 1,175.1 อัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนต่อแสน ประชากร(20 ต่อแสนปชก.) 33.28 33.99 19.76 18.23 อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมอง (Fatality Rate) 3.4 3.1 4.8 2.65 อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ NA 5.6 2.5 0.64

62 โครงการ SP อุบัติเหตุ โครงการซ้อมแผนอุบัติเหตุหมู่ พัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วย โครงการสอน ATLS แพทย์จบใหม่เขต 3

63 SP. ศัลยกรรม : การทำ Re Opening OR. ( Appendectomy )

64 Service Plan ทันตกรรม เป้าหมาย(ราย) ทำได้(ราย) ร้อยละ (%) ฟันเทียมพระราชทาน 100 133 ฝังรากฟันเทียมพระราชทาน 40 29 72.5 -แผนการเพิ่มบริการทันตกรรม ในหน่วยบริการปฐมภูมิ โดยจัดให้มีบริการทันตกรรม ในศสม. และ รพ.สต. ที่มีอยู่ :จัดได้ 15แห่งจาก 31 แห่ง คิดเป็น % (เป้าหมาย 50%)

65 รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีน้ำใจ
Thank you รับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มีน้ำใจ


ดาวน์โหลด ppt เขตบริการสุขภาพที่ 3 และคณะ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google