ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ความเข้าใจเรื่องกลไกสิทธิมนุษยชน เรื่อง
อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ
2
สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ คณะมนตรีเศรษกิจและสังคม
คณะกรรมธิการสิทธิมนุษยชน สนธิสัญญา กลไกตามอนุสัญญา
3
กลไกสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ
กลไกตามกฎบัตรสหประชาชาติ (ก่อตั้งโดยสมัชชาใหญ่) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน คณะอนุกรรมการด้านการส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชน กลไกพิเศษต่าง ๆ เช่น ผู้รายงานพิเศษ และคณะทำงานในประเด็นต่าง ๆ กลไกตามสนธิสัญญา (ก่อตั้งโดยสนธิสัญญาสิทธิมนุษยชน) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะกรรมการสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม คณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ คณะกรรมการสิทธิเด็ก คณะกรรมการสิทธิสตรี ฯลฯ
4
คณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติ (คณะกรรมการฯ)
ข้อบทที่ 8 จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน …. ก่อตั้งโดยข้อบทที่ 8 ของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติฯ ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ 8 คน เลือกโดยรัฐภาคี โดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญ และที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศภาคี มีวาระ 4 ปี ต่อวาระได้
5
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
ข้อบทที่ 9 รัฐภาคีรับที่จะเสนอรายงานให้เลขาธิการสหประชาชาติเพื่อเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการฯ เกี่ยวกับมาตรการต่าง ๆ ทางด้านกฎหมาย กระบวนการยุติธรรม กระบวนการบริหารและอื่น ๆ ซึ่งรัฐภาคีได้จัดให้มีขึ้น เพื่อบังคับใช้ข้อบทของอนุสัญญานี้ คณะกรรมการจะรายงานเป็นประจำทุกปี ผ่านเลขาธิการสหประชาชาติ ให้สมัชชาสหประชาชาติรับทราบถึงกิจกรรมของคณะกรรมการ และอาจจัดทำข้อเสนอแนะและข้อแนะนำทั่วไป โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของรายงานและข้อมูลที่ได้รับจากรัฐภาคี ข้อเสนอแนะและข้อแนะนำทั่วไปเหล่านั้นจะได้รับการรายงานต่อที่ประชุมสมัชชา..
6
หน้าที่ของรัฐ และ อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
ประเทศไทยมีหน้าที่จะต้องเคารพ ปกป้อง และเติมเต็ม สิทธิของบุคคล โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ รัฐจะต้องละเว้นจากการละเมิดสิทธิ และต้องไม่เลือกปฏิบัติต่อบุคคล เพราะเหตุความแตกต่างทางเชื้อชาติ รัฐมีหน้าที่ต้องป้องกันไม่ให้บุคคลอื่น ปัจเจกบุคคล องค์กรเอกชน หรือเจ้าหน้าที่และหน่วยงานรัฐ เลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติต่อบุคคล รัฐต้องทบทวน แก้ไข เพิกถอน กฎหมาย นโยบายต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดหรือเป็นการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ และมีมาตรการและกฎหมายเพื่อห้ามและขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ รัฐต้องมีมาตรการในการส่งเสริมและประกันให้บุคคลเข้าถึงสิทธิโดยไม่เลือกปฏิบัติ
7
คณะกรรมการประจำอนุสัญญาฯ
รัฐไทย เคารพ ปกป้อง ส่งเสิรม คณะกรรมการประจำอนุสัญญาฯ
8
อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
เฝ้าระวัง ติดตาม การปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ และกระตุ้นการบังคับใช้อนุสัญญาฯ โดยกระบวนการต่าง ๆ ต่อไปนี้ พิจารณารายงานรัฐ และข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ กระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติตามอนุสัญญาของรัฐ กรณีที่รัฐไม่ส่งรายงาน จัดทำข้อสังเกตุ และข้อเสนอแนะ จัดทำข้อเสนอแนะทั่วไป (เพื่อช่วยการตีความอณุสัญญา) รับพิจารณาข้อร้องเรียนรายบุคคลหรือกลุ่ม รายงานข้อเสนอแนะและข้อแนะนำทั่วไปนต่อที่ประชุมสมัชชา มาตรการแจ้งเตือน และกระบวนการเร่งด่วนต่าง ๆ (urgent procedure) กระบวนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ (follow up procedure)
9
การพิจารณารายงานรัฐ และข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ
วาระพิจารณาประจำปี ปีละ 2 ครั้ง ที่สำนักเลขาธิการคณะกรรมการฯ ณ นครเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ครั้งละ 3 สัปดาห์ ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม และ ในเดือนสิงหาคม เผยแพร่ตารางการพิจารณารายงานหนึ่งวาะะล่วงหน้า แต่งตั้งกรรมการ 1 ท่านเพื่อทำหน้าที่ศึกษารายงานและสรุปสาระสำคัญจากรายการประเทศนั้นนั้น เรียกว่า Country Rapporteur หรือ ผู้รายงานพิเศษประจำประเทศ จัดทำประเด็นคำถามต่อรัฐบาล (LIST OF ISSUE) โดยอาศัยจากข้อมูลในรายงานรัฐและข้อมูลจากภาคส่วนอื่น ๆ เช่น รายงานเงา ส่งประเด็นคำถามไปยังรัฐบาลล่วงหน้าก่อนจะถึงวาระการประชุม เพื่อให้รัฐบาลเตรียมคำตอบมาอธิบายในที่ประชุมเมื่อถึงวาระ
10
กระบวนการพิจารณารายงานรัฐ
การเจราหารือกับผู้แทนรัฐภาคี ระยะเวลาการประชุม ครึ่งวันบ่าย และครึ่งวันเช้ารุ่งขึ้น รวมเวลา 6 ชั่วโมง ครึ่งวันบ่ายวันแรก ผู้แทนรัฐนำเสนอรายงาน และคำอธิบายต่อประเด็นคำถาม(list of issue) การนำเสนอข้อมูลเบื้องต้น โดยคณะกรรมการผู้รายงานประจำประเทศ หรือ Country Reppeoteur คำถาม และข้อสังเกตจากคณะกรรมการท่านอื่น ๆ 2) ครึ่งวันเช้าวันที่สอง ผู้แทนประเทศตอบคำถาม ผู้แทนประเทศหารือกับคณะกรรมการต่อ สรุปข้อสังเกตของผู้รายงานประจำประเทศ Public Meeting ประชุมโดยให้สาธารณะชนเข้าร่วมได้
11
การพิจารณารายงานรัฐ และข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ
ประเด็นคำถาม คณะกรรมการสิทธิฯแห่งชาติ รายงานรัฐ รายงานเงา ข้อมูลที่ได้รับจากองค์กรระหว่างประเทศอื่น ๆ ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศนั้น ๆ รวบรวมโดยสำนักเลขาฯ รัฐบาล
12
การติดตามผล คณะกรรมการทำรายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะส่งไปยังรัฐภาคี และภาคประชาสังคม แปลเป็นภาษาประจำรัฐภาคี และ/หรือ ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ ตีพิมพ์เผยแพร่รายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะ ติดตามการปฏิบัติตามรายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะ โดยกระบวนการต่าง ๆ ภายในประเทศ โดยภาคประชาสังคม และโดยผคณะกรรมการฯ กรรมการฯ สามารถขอข้อมูลความคืบหน้าได้ และรัฐต้องรายงานความคืบหน้าและมาตรการต่าง ๆ ทีได้ดำเนินการไปแล้ว ภายใน 1 ปี ภาคประชาสังคมสามารถอาศัยรายงานการพิจารณาและข้อเสนอแนะของกรรมการฯ มาเป็นเครืองมือในการรณรงค์ การLobby การหารือกับรัฐบาล เพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง และเพื่อสร้างความตระหนักในปัญหา
13
การมีส่วนของภาคประชาสังคมในกระบวนการการพิจารณารายงาน
กรรมการสิทธิฯ สามารถข้อมูลไปยังสำนักเลขาธิการ กรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ ควรส่งล่วงหน้าก่อนวาระพิจารณารายงานรัฐบาลประมาณ 2 – 3 เดือน โดยส่งทั้งทางอีเมล์ และส่งเป็นเอกสาร 20 ชุด ภาคประชาสังคม NGOs สามารถเข้าพบคณะกรรมการได้ในช่วงเที่ยงของวันที่พิจารณารายงานรัฐ เพื่อ นำเสนอรายงาน ประเด็น และเป็นการ Lobby อย่างไม่เป็นทางการ และเพื่อเสนอข้อสังเกตต่อ List of issue ที่คณะกรรมการมีไปยังรัฐ NGOs สามารถเข้าไปสังเกตการณ์การประชุมพิจารณารายงานรัฐได้
14
การมีส่วนของกรรมการสิทธิฯ ในกระบวนการการพิจารณารายงาน
กรรมการสิทธิฯสามารถข้อมูลล่วงหน้าไปยังสำนักเลขาธิการ กรรมการว่าด้วยการขจัดการเลือกประติบัติทางเชื้อชาติได้ตลอดเวลา กรรมการสิทธิสามารถเข้าไปสังเกตการณ์การประชุมพิจารณารายงานรัฐได้ Since 2005, are offered the possibility to address CERD during the public meeting
15
คณะกรรมการทำประเด็นคำถามสำคัญ
รัฐส่งรายงาน คณะกรรมการทำประเด็นคำถามสำคัญ List of Issue รัฐส่งคำตอบ/คำอธิบายต่อคำถาม การประชุมพิจารณารายงานและหารือกับผู้แทนรัฐ การทำรายงานการพิจารณา ข้อสังเกตุ และข้อเสนอแนะ การติดตามผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ รายงานเงา รายงานเงา รณรงค์ ผลักดัน หารือกับรัฐ NGOs ตอบ List of Issue NGOs เข้าพบคณะรรมการก่อนการประชุม และร่วมสังเกตการประชุม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.