งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Innovation and Information Technology in Education

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Innovation and Information Technology in Education"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Innovation and Information Technology in Education

2 หน่วยการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
ประเด็น : การบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ภายใต้การจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุข KPRU

3 วิทยากร ชื่อ-สกุล : ดร.สุณี บุญพิทักษ์ (อ๋อย) สังกัด : โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ ตำแหน่ง : รองศาสตราจารย์ เบอร์โทร : การศึกษา ปริญญาตรี : ค.บ. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูนครสวรรค์ ปริญญาโท : กศ.ม. สาขสวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปริญญาเอก : ปร.ด. สาขาวิชาหลักสูตรการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

4 วิทยากร ชื่อ-สกุล : ยุทธนา พันธ์มี (ยุทธ) สังกัด : โปรแกรมวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ ตำแหน่ง : พนักงานมหาวิทยาลัย (สายวิชาการ) เบอร์โทร : การศึกษา ปริญญาตรี : ศศ.บ. การจัดการทั่วไป (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) สถาบันราชภัฏกำแพงเพชร บัณฑิตศึกษา : ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปริญญาโท : กศ.ม. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาเอก : ปร.ด. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร (กำลังศึกษา)

5 ความปิติชุ่มชื่นใจ งานของครูนั้นเป็นงานพิเศษ
ที่หวังผลตอบแทนเหมือนงานอื่นได้โดยยาก ผลตอบแทนที่สำคัญย่อมเป็นผลทางใจ ได้แก่ ความปิติชุ่มชื่นใจ พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช

6  การสร้างบรรยากาศการจัดการชั้นเรียน ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
คือ การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนการสอน เพื่อช่วยส่งเสริมให้กระบวนการเรียนการสอนดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยสร้างความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ตลอดจนช่วยสร้างเสริมความมีระเบียบวินัยให้แก่ผู้เรียน

7 ด้านพัฒนาการเรียนรู้
ความสำคัญของการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน ด้านพัฒนาการเรียนรู้ เกิดการเรียนรู้และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน พัฒนาความรู้ความเข้าใจ ทักษะ ค่านิยมของผู้เรียน ด้านตัวผู้เรียน ผู้เรียนได้เรียนรู้จักตนเอง ด้านความสนใจ ความถนัด ความสามารถ เป็นโอกาสให้ได้ฝึกปฏิบัติ การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนจะช่วยส่งเสริมและสร้างเสริมผู้เรียนใน ด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคมได้เป็นอย่างดี ทำให้นักเรียนเรียนด้วยความสุข รักการเรียน และเป็นคนใฝ่เรียนใฝ่รู้ในที่สุด

8  องค์ประกอบที่มีผลต่อบรรยากาศในชั้นเรียน
ผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน ครูผู้สอน ครูผู้สอน : เป็นองค์ประกอบที่สำคัญยิ่งในการจัดการเรียนรู้ เพราะจะเป็นผู้กำหนดบรรยากาศเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้งให้เป็นไปในลักษณะอย่างไร ผู้เรียน : พฤติกรรมของผู้เรียน ความสนใจ ท่าทีของการแสดงพฤติกรรมแรงจูงใจความร่วมมือ การมีวินัย ความเชื่อมั่น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน : ครูมีทักษะในการแสดงออกทางพฤติกรรมและการสื่อสารที่เหมาะสม มีคุณภาพ เสมอต้นเสมอปลาย ย่อมส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้สึกที่ดีต่อครู การเรียนรู้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนจะนำมาซึ่งความร่วมมือ ความเข้าใจและยอมรับซึ่งกันและกัน อันจะเป็นพื้นฐานที่สำคัญต่อการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก บรรยากาศในชั้นเรียนย่อมราบรื่น

9 บรรยากาศทางกายภาพ  บรรยากาศทางจิตวิทยา  ประเภทของบรรยากาศในชั้นเรียน
บคลิกภาพ / พฤติกรรมการสอน การปกครองชั้นเรียน / ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน ความพร้อมด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

10 ครู  ผู้สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยา การยืน, เดิน, นั่ง
การแต่งกาย การยืน, เดิน, นั่ง คำพูด, น้ำเสียง, ท่าทาง ครู บุคลิกภาพ พฤติกรรมการสอน การปกครองชั้นเรียน ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน ครู-นักเรียน นักเรียน-นักเรียน วาจา การเสริมแรง เปิดโอกาส ฝึกงานกลุ่ม หลักยุติธรรม หลักประชาธิปไตย หลักพรหมวิหาร 4 เทคนิคใหม่ๆ หลักความใกล้ชิด

11  การจัดการเรียนรู้ห้องเรียนอย่างมีความสุข
ผลการวิจัยข้ามชาตินำโดย Professor John J Cogan กับนักวิจัย 26 คน จาก 9 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา อังกฤษ กรีซ ฮังการี เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ญี่ปุ่น และประเทศไทย ใช้การวิจัยเชิงอนาคต (Ethnographic Delphi Futures Research :EDFR)

12 ผลการวิจัยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของพลเมืองโลก ใน 25 ปีข้างหน้ามีดังนี้
มองและเผชิญปัญหาในฐานะสมาชิกของสังคมโลก เข้าใจ ยอมรับ ชื่นชม และอดทนต่อความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม มีความตั้งใจแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างสันติวิธี ทำงานแบบร่มมือกับผู้อื่นได้

13  คิดอย่างเป็นระบบและอย่างมีวิจารณญาณ
 เต็มใจที่จะเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตและนิสัยการบริโภคเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม  มีความรู้สึกไวและปกป้องสิทธิมนุษยชน  เต็มใจที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ ผลการอภิปรายของนักวิจัย ความสามารถที่ต้องสร้าง ได้แก่ ความสามารถด้านการคิด การแก้ปัญหา ความตระหนักและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

14

15  สนับสนุนการทำงานและช่วยเหลือสังคม  พัฒนาความสามารถพิเศษ
ผลการวิจัยสอดคล้องกับ คำกล่าวของ Bernie Trilling and Charles Fade 2009 กล่าวว่า เป้าหมายการจัดการศึกษาคือ  สนับสนุนการทำงานและช่วยเหลือสังคม  พัฒนาความสามารถพิเศษ  รับผิดชอบหน้าที่พลเมือง  สืบทอดจารีตประเพณีและค่านิยมดีงาม อ้างอิง สุคนธ์ สิธพานนท์ ,การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21

16 การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ตามปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO
 Learning to Know….การแสวงหาความรู้ ต่อยอดความรู้และสร้างความรู้ใหม่  Learning to do …เรียนเพื่อปฏิบัติหรือลงมือทำ..นำไปสู่การประกอบอาชีพจากความรู้ รวมถึงการปฏิบัติเพื่อสร้างประโยชน์ให้สังคม  Leaning to live together…เรียนรู้เพื่ออยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข  Learning to be …เรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเอง ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด ของตนเอง

17 Learning to communicate
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ตามปฏิญญาว่าด้วย การจัดการศึกษาของ UNESCO Learning to Search Learning to Construct Learning to communicate Learning to serve Learning to Question HOW TO อ้างอิง สุคนธ์ สิธพานนท์ ,การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21,2558

18 นวัตกรรมการศึกษา

19 นวัตกรรมการศึกษา (Innovation) คือ การนำสิ่งใหม่ๆ ซึ่งอาจจะเป็นความคิด หรือการกระทำ หรือสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้น โดยอาศัยหลักการทฤษฎีที่ได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้นำมาใช้ด้านการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพของ การเรียนการสอน

20 เทคโนโลยี (Technology) คือ การนำแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ หรือกระบวนการตลอดจนผลผลิตทางกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เพื่อส่งเสริม พัฒนา ปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และถูกนำมาเผยแพร่จนกลายเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป

21 ลักษณะเด่นของนวัตกรรมการศึกษา
ต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมด หรือบางส่วนอาจใช้เป็นของเก่าที่ใช้ในอดีตแล้วนำมาปรับปรุงใหม่ให้ดียิ่งขึ้น มีการ ศึกษา ทดลอง โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี มาใช้อย่างเป็นระบบ มีการพิสูจน์ด้วยการทดลองหรือวิจัย ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน หากว่าสิ่งใหม่นั้นได้มีการเผยแพร่จนกลายเป็นสิ่งที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แล้วจะกลายเป็นเทคโนโลยี

22 ยุคพัฒนา ยุคเริ่มต้น ยุคกลาง
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนาน โดยเริ่มจากสมัยกรีก คำว่า Technologia หมายถึง การกระทำอย่างเป็นระบบ หรืองานฝีมือ (Craft) ชาวกรีกได้เป็นผู้ที่เริ่มใช้วัสดุในการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง โดยการแสดงละคร ใช้ดนตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาของชาวกรีกและโรมันโบราณ ยุคพัฒนา มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นด้านต่างๆ และในด้านเทคโนโลยีการศึกษาในส่วนประกอบหลักที่สำคัญ ได้แก่ ด้านการออก แบบการสอน ด้านสื่อการสอน ด้านจิตวิทยา และด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ยุคเริ่มต้น กลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) เป็นกลุ่มครูผู้สอนชาวกรีกได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ที่มีความฉลาด ปราดเปรื่อง ในการอภิปราย โต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการ ขนานนามว่า นักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก ยุคกลาง โจฮัน อะมอส คอมินิอุส (Johannes Amos Comenius ) เป็นผู้ที่ใช้วัสดุสิ่งของที่เป็นของจริงและรูปภาพเข้ามาช่วยในการสอนอย่างจริงจัง จากประสบการณ์ที่ทำการสอนมา 40 ปี คอมินิอุส ได้แต่งหนังสือขึ้น จนได้รับการขนานนาม บิดาแห่งโสตทัศนศึกษา

23 ? “สื่อการสอน” จากอดีต….. ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นที่มาของคำว่า
ในยุคปัจจุบันเกิดเทคโนโลยี…. และอนาคต ? Technology Education

24 การพัฒนา(Development) การจัดการ(Management) การประเมิน(Evaluation)
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาและเทคโนโลยีการสอน 4. การจัดการ (Management) เป็นด้านที่เป็นหลักสำคัญของสาขานี้เพราะจะต้องเกี่ยวข้องกับแหล่งการเรียนรู้ ที่จะต้องสนับสนุนในทุกๆองค์ประกอบ 5. การประเมิน (Evaluation) ด้านนี้จะเกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุง 3. การใช้ (Utilization) เป็นการเล็งเห็นถึงความสำคัญของการใช้สื่อการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในของสื่อแต่ละประเภท เช่น เทคนิค วิธีการสอน อุปกรณ์ประกอบการสอน 1. การออกแบบ (Design) แสดงให้เห็นถึงการสร้างหรือก่อให้เกิดทฤษฏีที่กว้างขวางที่สุดของ เทคโนโลยีการสอนในศาสตร์ทางการศึกษา 2. การพัฒนา (Development) ได้มีการเจริญก้าวหน้าและแสดงให้เห็นแนวทางในการปฏิบัติ การออกแบบ(Design) การพัฒนา(Development) การใช้(Utilization) การจัดการ(Management) การประเมิน(Evaluation) ทฤษฎี การปฏิบัติ

25 นวัตกรรมทางการศึกษาแบ่งออกเป็น 5 ด้าน
1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร 2. นวัตกรรมการเรียนการสอน 3. นวัตกรรมการประเมินผล 4. นวัตกรรมการบริหารจัดการ 5. นวัตกรรมสื่อการสอน

26  นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร
หลักสูตรแบบบูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ หลักสูตรท้องถิ่น  นวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอน การสอนแบบพี่สอนน้อง การสอนเป็นรายบุคคล การเรียนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบบูรณาการ การสอนแบบสืบสวนสอบสวน

27  นวัตกรรมทางด้านนวัตกรรมการประเมินผล
การพัฒนาคลังข้อสอบ การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต การใช้บัตรสมาร์ทการ์ด เพื่อการใช้บริการของสถาบันศึกษา การใช้คอมพิวเตอร์ในการตัดเกรด  นวัตกรรมทางด้านการบริหารจัดการ • การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • การจัดการศึกษาแบบเปิด • การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น • การจัดการศึกษานอกโรงเรียน • การจัดโรงเรียนหมู่บ้านเด็ก • การจัดโรงเรียนแบบไม่แบ่งชั้น

28 นวัตกรรมสื่อการสอน  บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 หนังสืออิเล็คทรอนิคส์  บทเรียนออนไลน์  บทเรียน CD/VCD

29 ACTIVE LEARNING

30 การจัดการเรียนรู้แบบเล่นปนเรียน (Play and Learn) หมายถึง วิธีการจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยโดยยึดหลักจิตวิทยาและธรรมชาติของเด็กที่ชอบเล่นอยู่แล้ว ด้วยการใช้เทคนิควิธีการบูรณาการสาระความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ที่ต้องการให้เกิดกับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาภายใต้การอำนวยความสะดวก สนับสนุน ชี้แนะ ช่วยเหลือของครูในด้านต่างๆ

31 จุดเด่นการสอนแบบ Active Learning
Students Learn best when they are engaged Promotes Student Focus Students will get excited about the topic Students will learn about a subject and how to think about the subject Higher- level thinking A subject

32 วิธีการสอนแบบ Active learning
Group discussions Problem based learning Case studies Role play And Structured learning groups

33 I HEAR AND I FORGET I SEE AND I REMEMBER I DO AND I UNDERSTAND

34 บทสรุป ...การจัดการเรียนรู้ แบบ Active Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ และลงมือทำ เน้นกิจกรรมเพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง มีเทคนิคการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบ ตามแต่ละรายวิชาจะนำไปใช้

35 Thank You Elementary Program Design by yutthana.edu@gmail.com


ดาวน์โหลด ppt Innovation and Information Technology in Education

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google