งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Lecture 19: Renewable Energy พลังงานหมุนเวียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Lecture 19: Renewable Energy พลังงานหมุนเวียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Lecture 19: Renewable Energy - 2553 พลังงานหมุนเวียน
เศรษฐศาสตร์พลังงาน พลังงานหมุนเวียน อาจารย์ณัฐิดา จันหอม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1

2 เอกสารอ้างอิง พรายพล คุ้มทรัพย์, (2551), ‘สถานการณ์พลังงานโลก: วิกฤตการณ์น้ำมันครั้งที่ 3’, สัมมนาทางวิชาการประจำปี 2551 เรื่องสถานการณ์พลังงานโลกและการปรับตัวของไทย ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล, (2551), ‘พลังงานหมุนเวียนและทางเลือกในองค์ประกอบพลังงานของไทย’, สัมมนาทางวิชาการประจำปี 2551 เรื่องสถานการณ์พลังงานโลกและการปรับตัวของไทย

3 เอกสารอ้างอิง แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 2551 โครงการจัดทำยุทธศาสตร์พลังงานของประเทศไทย ระยะที่ 1 โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย 2550 อ่านบทที่ 4 และ 5

4 โลกใช้พลังงานประเภทใดบ้าง
โลกใช้น้ำมันในสัดส่วนมากที่สุด รองลงไปคือถ่านหินและก๊าซธรรมชาติ อื่นๆ คือนิวเคลียร์ พลังน้ำ และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ 4

5 สัดส่วนการใช้พลังงานของโลกในปี ค.ศ. 2000

6 ประเทศยิ่งรวย ยิ่งใช้พลังงานต่อหัวมาก

7 ปัญหาพลังงานของโลก โลกใช้น้ำมันมากและจะมากขึ้น ในขณะที่น้ำมันจะแพง และหาได้ยากขึ้น 7

8 โลกยังมีน้ำมันเหลืออยู่ แต่ยังไม่ได้พัฒนาขึ้นมาใช้

9

10 ปัญหาพลังงานของโลก โลกใช้พลังงานฟอสซิลมาก ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก และปัญหาภาวะโลกร้อน 10

11

12

13

14 ประเทศปล่อยก๊าซไม่เท่ากัน

15 ปัญหาพลังงานของโลก พลังงานที่สะอาดก็มี แต่ยังแพงและมีข้อจำกัด
เป้าประสงค์สูงสุด “ใช้พลังงานอย่างสะอาด โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ” 15

16 ตัวอย่างของพลังงานสะอาด
แสงอาทิตย์ (ผลิตไฟฟ้า และความร้อน) กังหันลม (ผลิตไฟฟ้า) วัสดุเกษตรเพื่อผลิตไฟฟ้า และน้ำมัน พลังน้ำ (ผลิตไฟฟ้า) คลื่น ความร้อนใต้พิภพ 16

17 พลังงานทดแทน (พลังงานฟอสซิล) ของไทย
พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) ก๊าซธรรมชาติในรถยนต์ (NGV หรือ CNG) ไฟฟ้านิวเคลียร์

18 พลังงานหมุนเวียน พลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) คือพลังงานที่ใช้ได้อย่างไม่มีวันหมดสิ้น ประกอบด้วยพลังงานที่ได้จากแหล่งธรรมชาติ เช่น พลังน้ำ แสงอาทิตย์ คลื่น ลม และความร้อนใต้พิภพ รวมทั้งพลังงานชีวมวล (Biomass) ที่ได้จากวัสดุจากพืช/สัตว์ และขยะ/น้ำเสีย

19 พลังงานหมุนเวียน พลังงานขั้นสุดท้ายที่ได้จากพลังงานหมุนเวียนแบ่งได้เป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ ไฟฟ้า น้ำมัน/เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) พลังงานหมุนเวียนส่วนใหญ่สามารถใช้ในการผลิตไฟฟ้า

20 พลังงานหมุนเวียน น้ำมันชีวมวลมักจะผลิตจากพืช
Ethanol ผลิตจากอ้อย ข้าวโพดและมันสำปะหลัง Biodiesel ผลิตจากพืชประเภทน้ำมัน เช่น ปาล์มน้ำมัน มะพร้าว ถั่วเหลือง สบู่ดำ รวมทั้งน้ำมันพืชใช้แล้ว

21 พลังงานหมุนเวียน คาดว่าในอนาคตน้ำมันชีวมวลจะผลิตจากวัตถุดิบที่หลากหลายมาขึ้น เช่น Biodiesel จากสาหร่ายเซลล์เดียว และ Ethanol จากข้าวฟ่าง เศษหญ้า และเศษไม้

22 พลังงานหมุนเวียน พลังงานชีวมวล
พลังงานหมุนเวียนที่ใช้กันมากที่สุดในประเทศ ได้จากวัสดุเกษตร เช่น กาก/ชานอ้อย แกลบ เศษ/เปลือกไม้ ซังข้าวโพด เหง้ามันสำปะหลัง (+ขยะ) ใช้เป็นเชื้อเพลิงทั้งในการผลิตไฟฟ้าและให้ความร้อน (ไอน้ำ อบแห้ง)

23 พลังงานหมุนเวียน ข้อดีคือ เป็นพลังงานที่สะอาด เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ใช้วัตถุดิบในประเทศ ทำให้ลดการพึ่งพาการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ

24 พลังงานหมุนเวียน ข้อดีคือ ส่งเสริมการเกษตร สร้างงานและรายได้ในชนบท
สามารถใช้ได้ในชนบทที่อยู่ห่างไกล ศักยภาพสูง เพราะ “ไม่มีวันหมดสิ้น”

25 พลังงานหมุนเวียน ข้อจำกัด ต้นทุนในการผลิตยังสูงอยู่
เทคโนโลยีการผลิตยังต้องพัฒนาอีก เช่น solar cell กังหันลม และโรงไฟฟ้าใช้วัสดุเกษตร

26 พลังงานหมุนเวียน ข้อจำกัด
วัตถุดิบมีปริมาณจำกัด อยู่กระจัดกระจาย และมีปริมาณไม่สม่ำเสมอตลอดปี/วัน อาจทำให้ลดการผลิตอาหาร (ในกรณีที่ใช้พืชอาหารเป็นวัตถุดิบ) อาหารอาจแพงขึ้น

27 พลังงานหมุนเวียน อย่างไรก็ตาม
มีแนวโน้มว่าต้นทุนจะลดลงและสามารถแข่งได้กับพลังงานฟอสซิล (ซึ่งแพงขึ้นมาก) การประหยัดจากขนาด ผลจากการเรียนรู้ รวมทั้งการพัฒนาและวิจัย

28 ตารางแสดงข้อมูลต้นทุนและสถานะของเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน ณ สิ้นปี 2001
World Energy Assessment Overview: 2004 update

29 พลังงานหมุนเวียนในประเทศไทย
พิจารณาประเด็นของพลังงานหมุนเวียน: ประเภท/ชนิด ศักยภาพและกำลังการผลิต แผนและมาตรการของรัฐในการส่งเสริม ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ

30 สัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนของไทยในปี 2550
ศ.478 ภูรี สิรสุนทร

31 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี
พ.ศ

32 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี
พ.ศ

33

34

35

36

37

38

39 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565
มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ กำหนดราคาส่วนเพิ่มรับซื้อไฟฟ้า (adder) ที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน โดย SPP และ VSPP เพื่อจ่ายเป็นรางวัลที่มีผลดีต่อสิ่งแวดล้อม และยังมีต้นทุนสูงกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล

40 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565
มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ กำหนดราคาส่วนเพิ่มรับซื้อไฟฟ้า (adder) ที่ผลิตจากพลังงานหมุนเวียน โดย SPP และ VSPP เพิ่มขึ้นจากราคารับซื้อปกติ (คือปกติหน่วยละ 2.50 บาท)

41

42 ปรับ adder เพิ่มขึ้นอีก เมื่อมีนาคม 2552

43 แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปี พ.ศ. 2551 - 2565
มาตรการส่งเสริมพลังงานทดแทนของรัฐ ลดภาษีกำไร (สิทธิประโยชน์ด้านภาษีจาก BOI) และให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ถ่ายทอดความรู้ เช่น โครงการสาธิต สร้างมาตรฐานเทคโนโลยี

44 ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของพลังงานทดแทน
เทียบกับการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เงินลงทุนมักจะสูงกว่า (เช่น บาทต่อเมกะวัตต์) เชื้อเพลิงราคาถูกกว่ามาก บางชนิดไม่ใช้เชื้อเพลิงเลย ค่าดำเนินการอื่นๆ (เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าบำรุงรักษา) ใกล้เคียงกัน

45 ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจของพลังงานทดแทน
เทียบกับการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล อัตราการใช้งานต่ำกว่า เช่น แผงโซลาร์ใช้ได้เฉพาะกลางวันที่มีแดด อายุใช้งานอาจสั้นกว่า ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า

46

47

48

49 ความคุ้มค่าทางการเงินต่ำ เมื่อไม่มี adder และ
ไม่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม

50 ความคุ้มค่าทางการเงินสูงขึ้น เมื่อมี adder

51 ความคุ้มค่าทางการเงินสูงขึ้นมาก เมื่อมี adder และ
คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม แสดงว่าคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ


ดาวน์โหลด ppt Lecture 19: Renewable Energy พลังงานหมุนเวียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google