ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ของรายงานการทำโครงงาน
องค์ประกอบ ของรายงานการทำโครงงาน
2
ส่วนประกอบของโครงงาน
ส่วนนำ 1 ส่วนเนื้อความ 2 ส่วนอ้างอิง 3 ภาคผนวก 4 ประวัติผู้วิจัย 5
3
ส่วนนำ คือส่วนต้นของโครงงาน
ส่วนนำ คือส่วนต้นของโครงงาน ส่วนนำ ปกนอก ใช้กระดาษแข็งและเข้าเล่มเมื่อได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการสอบโครงงานแล้ว สีปก ใช้สีกรมท่า ตัวพิมพ์บนปก ตัวอักษรทองแบบธรรมดา ขนาด 16 – 24 สันปก มีชื่อเรื่อง อักษรย่อระดับชั้น และปี พ.ศ. ใบรองปก กระดาษเปล่า ถัดจากปกแข็งด้านหน้าและก่อนปกแข็งด้านหลัง ใบรับรองโครงงาน หัวข้อโครงงาน ชื่อ – สกุล ผู้เขียนโครงงาน ระดับการศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน สาขาวิชา/สาขางาน ครูผู้ควบคุม/คณะกรรมการสอบโครงงาน
4
ส่วนนำ คือส่วนต้นของโครงงาน
ส่วนนำ คือส่วนต้นของโครงงาน ส่วนนำ บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ สมมุติฐาน (ถ้ามี) วิธีการดำเนินการและผลสรุปของโครงงาน โดยเขียนเป็นเรียงความยาวไม่เกิน 1 หน้า กิตติกรรมประกาศ ข้อความแสดงความขอบคุณต่อผู้ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือและให้ความร่วมมือในการจัดทำโครงงานให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี โดยเขียนเป็นเรียงความ ไม่เกิน 1 หน้า สารบัญ เป็นรายการแสดงส่วน ประกอบที่สำคัญทั้งหมดของโครงงาน โดยแบ่งเป็น สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ /สารบัญรูป
5
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 5 ส่วนเนื้อความ บทที่ 3 บทที่ 4
เป็นส่วนที่แสดงสาระสำคัญของโครงงาน ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 5 บทที่ 3 บทที่ 4 Copyright Website :
6
การออกแบบและวิธีทดสอบ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทที่ 2 บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทนำ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การออกแบบและวิธีทดสอบ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล และข้อเสนอแนะ
7
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ บอกแนวคิดและที่มาของการทำโครงงานนี้ โดยการเขียน อธิบายถึงที่มาของการทำโครงงานว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานนี้ มีเหตุจูงใจอะไรที่ทำให้สนใจการทำโครงงานนี้เป็นกรณีพิเศษ โครงงานนี้ มีความสำคัญอย่างไร ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
8
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ บอกถึงความต้องการที่ให้เกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดการทำโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
9
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ เป็นการวางหรือกำหนดขอบเขตของการทำโครงงาน เพื่อให้ทราบว่าโครงงานที่จะทำนั้นยากหรือง่ายเกินไปหรือไม่ ใช้เวลาในการศึกษามากน้อยเพียงใด จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมืออะไรในการจัดทำ ต้องใช้วัสดุที่มีราคาแพงเกินไปหรือไม่ หายากหรือง่ายเพียงใด ขอบเขตของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
10
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ เป็นการตั้งชื่อข้อความหรือคำที่ใช้ในโครงงานเพื่อให้ผู้ที่ใช้โครงงานหรืออ่านได้เข้าใจเกี่ยวกับคำหรือข้อความที่ระบุใช้ในโครงงาน คำจำกัดความที่ใช้ในโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
11
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 1 บทนำ เขียนบอกประโยชน์ที่จะได้กับตนเอง เพื่อน ๆ หรือคนอื่น ๆ โดยบอกให้ชัดเจนว่าเมื่อทำโครงงานเรื่องดังกล่าวแล้ว จะได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ คำจำกัดความที่ใช้ในโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน วัตถุประสงค์ของโครงงาน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
12
ส่วนเนื้อความ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ส่วนเนื้อความ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง เครื่องต่าง ๆ เนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ทำ เนื้อหาเกี่ยวกับวงจรที่ทำ ฯลฯ ชุดสาธิต/จำลอง เนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ทำ เนื้อหาเกี่ยวกับวงจรที่ทำ ฯลฯ ชุดทดลอง หลักสูตรรายวิชาที่สร้าง เนื้อหาเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ทำ เนื้อหาเกี่ยวกับวงจรที่ทำ ฯลฯ
13
ส่วนเนื้อความ บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 3 ขั้นตอนการดำเนินการ ขั้นตอนการดำเนินการ ศึกษาข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง ออกแบบวงจรและทดสอบ ประกอบวงจรและติดตั้ง ปรับปรุงและแก้ไข จัดทำรูปเล่ม สอบโครงการ (ควรมีไดอะแกรมแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน)
14
ส่วนเนื้อความ บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 4 ผลการดำเนินการ ผลการทดสอบวงจรต่าง ๆ ผลการดำเนินการ ผลการทดลองตามเงื่อนไข/ ตามขอบเขตของโครงงาน ผลการประเมินจากครูผู้สอน /ผู้ประเมิน (ควรมีรูปภาพประกอบและสรุปออกมาในรูปตาราง พร้อมคำอธิบายเพื่อให้เกิดความเข้าใจ)
15
ส่วนเนื้อความ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล
ส่วนเนื้อความ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปเป็นตอน สรุปเฉพาะประเด็น ที่สำคัญ ๆ ตั้งแต่ วัตถุประสงค์ของโครงงาน ขั้นตอนการดำเนินการ ผลของการดำเนินการ ได้ตรงตามขอบเขตของโครงงาน มากน้อยเพียงใด สรุปผล
16
ส่วนเนื้อความ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล
ส่วนเนื้อความ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การอภิปรายผลหรือการวิจารณ์ผล เป็นการอภิปรายผลที่เกิดขึ้น ของโครงงานที่ได้นั้นเหมือน หรือแตกต่างจากขอบเขตที่กำหนด พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ อภิปรายผล
17
ส่วนเนื้อความ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล เป็นข้อเสนอแนะโดยย่อ
ส่วนเนื้อความ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ เป็นข้อเสนอแนะโดยย่อ เกี่ยวกับโครงงานต่อไป ตลอด จนประโยชน์ที่อาจจะได้รับจาก การประยุกต์โครงงานที่ได้จัดทำ ข้อเสนอแนะ
18
ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง
ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง ปีที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ฯลฯ ชื่อผู้แต่ง ชื่อผู้เขียน นภัทร วัจนเทพินทร์. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และวงจร. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์ , 2542. กรมอาชีวศึกษา. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546). ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. กระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ : 2546. Robert Boylestad, Louis Nashelsky, Electronic devices and circuit theory, Prentice-hall International inc., New Jersey, 1972. เรียงตาม ตัวอักษรและตามพยัญชนะ
19
ภาคผนวก ภาคผนวก ก , ข , ค , … เป็นส่วนที่ประกอบเพิ่มเติมขึ้น เพื่อเสริมให้เข้าใจในเนื้อหาสาระของโครงงานได้ดีขึ้น แต่ไม่เหมาะที่จะรวบรวมไว้ในส่วนของเนื้อหาของโครงงาน เพราะจะทำให้ยืดเยื้อ เช่น ตารางผลการทดลองโดยละเอียด การพิสูจน์ การแก้สมการที่มีความยาวหลายหน้า แบบของเครื่องมือที่สร้างขึ้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ส่วนประกอบดังกล่าวอาจหาได้ยาก จึงเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านต้องการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงต่อไป ภาคผนวก ก แบบวงจรพิมพ์และวงจรเครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บน้ำ ภาคผนวก ข รายการวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในเครื่องวัดระดับน้ำในถังเก็บน้ำ ภาคผนวก จ แบบประเมินความเหมาะสมของโครงงานและตัวอย่าง
20
ประวัติผู้จัดทำโครงงาน
ประวัติผู้จัดทำโครงงาน ประวัติจะต้องมีความยาวไม่เกินหนึ่งหน้ากระดาษ โดยประวัติจะต้องเขียนให้ครอบคลุมข้อมูลดังต่อไปนี้ ชื่อ นามสกุล (ถ้ามียศ หรือคำนำหน้าให้เขียนด้วย) วัน เดือน ปี เกิด ประวัติการศึกษา ให้ระบุวุฒิการศึกษา สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ปีที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาเป็นต้นไป ทุนการศึกษา ให้ระบุทุนที่ได้รับระหว่างการศึกษา (ถ้ามี) ประวัติการทำงาน ให้ระบุตำแหน่งและหน่วยงาน/บริษัทที่สังกัด (ถ้ามี) ผลงาน ให้ระบุผลงานที่ได้รับรางวัลในการแข่งขันทางวิชาการต่าง ๆ (ถ้ามี) สถานที่ติดต่อ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.