ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามสาขาวิชา
รายวิชาแหล่งสารสนเทศ หน่วยที่ 5 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามสาขาวิชา 5.1 แหล่งสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.2 แหล่งสารสนเทศทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดย อ.ดร.นฤมล รักษาสุข IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
2
5.1 แหล่งสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
5.1.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.1.2 ขอบเขตของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.1.3 วรรณกรรมสำคัญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.1.4 แหล่งสารสนเทศที่นักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใช้ 5.1.5 ความต้องการสารสนเทศเพื่อการทำวิจัยด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
3
5.1.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1) วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้ที่ได้โดยการสังเกต และค้นคว้าจากการประจักษ์ทางธรรมชาติ แล้วจัดเข้าเป็น ระเบียบ, วิชาที่ค้นคว้าได้หลักฐานและเหตุผลแล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554: 1120) 2) เทคโนโลยี หมายถึง วิทยาการที่นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ อุตสาหกรรม เป็นต้น(พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554: 580) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
4
5.1.2 ขอบเขตของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1) กำหนดโดยราชบัณฑิตยสถาน 1. วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Sciences) ว่าด้วยเรื่องราวของสิ่งไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็น สาขาวิชา คือ คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา คอมพิวเตอร์ศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา สมุทรศาสตร์ IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
5
1) กำหนดโดยราชบัณฑิตยสถาน (ต่อ)
2. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Sciences) ว่าด้วย เรื่องราวของสิ่งมีชีวิต แบ่งออกเป็น 3 สาขาวิชา ได้แก่ ชีววิทยา พฤกษศาสตร์ และสัตววิทยา 3. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Sciences) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ที่มุ่งประโยชน์ ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทฤษฎี แบ่งออกเป็น 8 สาขาวิชา ได้แก่ แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ เภสัชศาสตร์ ทันตแพทย- ศาสตร์ สัตวแพทยศาสตร์ และวนศาสตร์การประมง IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
6
3) กำหนดโดย UNESCO 1. วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ : วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
คณิตศาสตร์/สถิติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2. แพทยศาสตร์ : แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เทคนิคการแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ กายภาพบำบัด วิทยาศาสตร์สุขภาพ IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
7
3) กำหนดโดย UNESCO (ต่อ)
3. วิศวกรรมศาสตร์ : วิศวกรรมศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ 4. เกษตรศาสตร์ วนศาสตร์และการประมง : สัตวแพทยศาสตร์/สัตวบาล ประมง/ เกษตรศาสตร์ วนศาสตร์/ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการเกษตร ธุรกิจการเกษตร/ส่งเสริม การเกษตรและสหกรณ์ IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
8
4) กำหนดโดย L.C. Q วิทยาศาสตร์ QA คณิตศาสตร์ QK พฤษศาสตร์
QB ดาราศาสตร์ QL สัตวศาสตร์ QC ฟิสิกส์ QM กายวิภาคศาสตร์ QD เคมี QP สรีรวิทยา QE ธรณีวิทยา QR จุลชีววิทยา QH วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
9
5) กำหนดโดย D.D.C. 500 วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและคณิตศาสตร์
500 วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและคณิตศาสตร์ (Natural Science & Mathematics) 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) 520 ดาราศาสตร์และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง (Astronomy & Allied Sciences) 530 ฟิสิกส์ (Physics) 540 เคมี (Chemistry & Allied Sciences) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
10
5) กำหนดโดย D.D.C. (ต่อ) 550 โลกวิทยา (Earth Sciences)
560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology Paleozoology) 570 วิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต ชีววิทยา (Life Science Biology) 580 พืช (Plants) 590 สัตว์ (Animals) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
11
5.1.3 วรรณกรรมสำคัญทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
5.1.3 วรรณกรรมสำคัญทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - วรรณกรรมคลาสสิค (Classic) : วรรณกรรมที่ เสนอทฤษฎี แนวคิด ปรัชญาของศาสตร์ สาขาวิชาต่างๆ เขียนโดยปราชญ์ในสาขาวิชา - วรรณกรรมพื้นฐาน (Basic) : วรรณกรรม พื้นฐานที่เสนอความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ เขียน โดยนักวิชาการในสาขาวิชา IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
12
ตัวอย่างวรรณกรรมคลาสสิคด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- Elements of Geometry โดย Euclid - Principle of Archimedes โดย Archimedes - Natural History โดย Pliny - The Revolutions of the Celestial Spheres โดย Nicolaus Copernicus IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
13
ตัวอย่างวรรณกรรมคลาสสิคด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ต่อ)
- Two New Sciences โดย Galileo Galilei - On the Origin of Species โดย Charles Darwin - The Theory of Relativity โดย Albert Einstein - De Architectura โดย Marcus Vitruvius Pollio IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
14
5.1.4 แหล่งสารสนเทศที่นักวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีใช้
5.1.4 แหล่งสารสนเทศที่นักวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีใช้ 1) แหล่งสารสนเทศทางการ - สารสนเทศปฐมภูมิ - สารสนเทศทุติยภูมิ: เพื่อการติดตาม เรื่องราวใหม่ๆ มากกว่าค้นหาสารสนเทศ ย้อนหลัง - วรรณกรรมภาษาต่างประเทศ 2) แหล่งสารสนเทศไม่เป็นทางการ - Invisible College IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
15
5.1.5 ความต้องการสารสนเทศเพื่อการทำวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1) เพื่อรวบรวมปัญหา 2) เพื่อศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3) เพื่อเปรียบเทียบแนวคิดของตนเองกับ ความรู้ที่ผู้อื่นเสนอไว้ 4) เพื่อกำหนดปัญหาและตั้งสมมุติฐาน IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
16
5.1.5 ความต้องการสารสนเทศเพื่อการทำวิจัย
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ต่อ) เพื่อพิสูจน์สมมุติฐาน เพื่อเขียนบทสรุปและข้อเสนอแนะ เพื่อเขียนบรรณานุกรม IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
17
5.2 แหล่งสารสนเทศทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ความหมายของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ขอบเขตของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ วรรณกรรมคลาสสิคด้านสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ แหล่งสารสนเทศที่นักสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ใช้ IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
18
5.2.1 ความหมายของสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์
ความหมายของสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ 1) ความหมายของสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์ที่มุ่งศึกษา พฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์ทั้งด้านจิตใจและ วัฒนธรรม IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
19
5.2.1 ความหมายของสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ (ต่อ)
ความหมายของสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ (ต่อ) 2) ความหมายของมนุษยศาสตร์ มนุษยศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเรื่องที่ เกี่ยวกับสุนทรียภาพของมนุษย์ในแง่ของความ รู้สึก นึกคิด จิตใจ การใช้สติปัญญาไตร่ตรอง หาเหตุผล การสร้างสรรค์และการแสดงออก IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
20
5.2.2 ขอบเขตของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ขอบเขตของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 1) ขอบเขตของสังคมศาสตร์ ครอบคลุมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐศาสตร์ (Political Science) เศรษฐศาสตร์ (Economics) ประวัติศาสตร์ (History) นิติศาสตร์ (Law) มานุษยวิทยา (Anthropology) สังคมวิทยา (Sociology) สังคมสงเคราะห์ (Social Work) การศึกษา (Education) จิตวิทยา (Psychology) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
21
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย UNESCO
สังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ (Social and Behavioral Science) การบริหารพาณิชยการและธุรกิจ (Commercial and Business Administration) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
22
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย UNESCO (ต่อ)
การสื่อสารมวลชนและการเอกสาร (Mass Communication and Documention) คหกรรมศาสตร์ (Home Economics) ธุรกิจบริการ (Service Trade) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
23
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย L.C.
H SOCIAL SCIENCES (GENERAL) HA STATISTICS HB ECONOMIC THEORY. DEMOGRAPHY HC ECONOMIC HISTORY AND CONDITIONS IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
24
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย L.C. (ต่อ)
HD ECONOMIC HISTORY AND CONDITIONS HE TRANSPORTATION AND COMMUNICATIONS HF COMMERCE HG FINANCE IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
25
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย L.C. (ต่อ)
HJ PUBLIC FINANCE HM SOCIOLOGY HN SOCIAL HISTORY AND CONDITIONS. SOCIAL PROBLEMS. SOCIAL REFORM IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
26
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย L.C. (ต่อ)
HQ THE FAMILY. MARRIAGE. WOMAN HS SOCIETIES HT COMMUNITIES. CLASSES. RACES HV SOCIAL PATHOLOGY. SOCIAL AND PUBLIC WELFARE. CRIMINOLOGY HX SOCIALISM. COMMUNISM. ANARCHISM IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
27
ขอบเขตของสังคมศาสตร์กำหนดโดย L.C. (ต่อ)
C, D History E, F History (America) G Geography, Anthropology J Political Science K Law L Education Z Bibliography and Library Science IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
28
2) ขอบเขตของมนุษยศาสตร์
2) ขอบเขตของมนุษยศาสตร์ ครอบคลุมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับปรัชญา ศาสนา ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ วรรณคดีและภาษา IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
29
1) วรรณกรรมคลาสสิคด้านสังคมศาสตร์
1) วรรณกรรมคลาสสิคด้านสังคมศาสตร์ - The Republic โดย Plato - The Constitution of Athens, Politics โดย Aristotle - City of God, Confession โดย Saint Augustine - The Prince โดย Niccolò Machiavelli - Leviathan โดย Thomas Hobbes IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
30
1) วรรณกรรมคลาสสิคด้านสังคมศาสตร์ (ต่อ)
1) วรรณกรรมคลาสสิคด้านสังคมศาสตร์ (ต่อ) - Essay Concerning Human Understanding, the Two Treatises of Civil Government , A Letter Concerning Toleration โดย John Locke - The Social Contract and Discourses โดย Jean - Jacques Rousseau - Das Kapital (The Capital) โดย Karl Marx IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
31
2) วรรณกรรมสำคัญทางนิติศาสตร์
2) วรรณกรรมสำคัญทางนิติศาสตร์ - Hammurabi Code (กฎหมายฉบับแรกของโลก) - กฎหมาย 12 โต๊ะ (โรมัน) - กฎหมายพระเจ้ามังราย - กฎหมายตราสามดวง (ตราพระราชสีห์ พระคชสีห์ และบัวแก้ว) - ราชกิจจานุเบกษา - คำพิพากษาศาลฎีกา IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
32
2) วรรณกรรมคลาสสิคด้านมนุษยศาสตร์
2) วรรณกรรมคลาสสิคด้านมนุษยศาสตร์ - The Republic โดย Plato - Buhemain Ethics โดย Aristotle - มหากาพย์อีเลียด และ โอดิสซีย์ - Uptopia โดย Sir Thomas Moore - รามายณะ โดย ฤาษีวาลมิกิ - วรรณคดีผลงานของ William Shakespeare (Hamlet, King Lear, Othello, Macbeth) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
33
ตัวอย่าง Artifact สำคัญด้านศิลปะ
- รูปสลักหินอ่อน “เทพธิดาวีนัส” (200 ปีก่อน ค.ศ.) - รูปแกะสลักหินอ่อน “เดวิด” โดย Michelangelo - ภาพวาด “โมนาลิซา” โดย Leonardo da Vinci - ภาพวาด “The Last Supper” โดย Leonardo da Vinci - ภาพวาดบนเพดานวิหารซัสติน ในนครวาติกัน โดย Michelangelo IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
34
5.2.4 แหล่งสารสนเทศที่นักสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ใช้
แหล่งสารสนเทศที่นักสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ใช้ 1) แหล่งสารสนเทศทางการ - วารสาร - หนังสือ - Manuscripts - Archives - ของจริง ภาพ สูจิบัตรนิทรรศการ สื่อโสตทัศน์ ตำราศิลปะ IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
35
5.2.4 แหล่งสารสนเทศที่นักสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ใช้ (ต่อ)
แหล่งสารสนเทศที่นักสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ใช้ (ต่อ) 2) แหล่งสารสนเทศไม่เป็นทางการ - สื่อบุคคล (ไม่รวมกลุ่มในลักษณะ Invisible College) IS แหล่งสารสนเทศ C อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.